SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
เนื้อหา
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
 ความสาคัญของระบบสารสนเทศ
 ความรู้พื้นฐาน และภาพรวมเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจสมัยใหม่
 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจสมัยใหม
 ความสาเร็จ และความล้มเหลวในการนาระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
2
What is an Information System?
 IS can be organized combination of People,
Hardware, Software, Communication
Networks and Data Resources that stores and
retrieves, transforms and disseminates
information in an organization.
ระบบสารสนเทศ คือการรวบรวม ผสมผสาน ระหว่าง คน
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่ายการสื่อสาร และทรัพยากร
ข้อมูลซึ่งมีการจัดเก็บ และการเรียกออกมาใช้งาน
การถ่ายโอน และการเผยแพร่สารสนเทศในองค์กร
3
4
ข้อมูล = ข้อเท็จจริงที่สังเกตได้จากรายการทางธุรกิจ (Business Transactions)
การวัดคุณลักษณะของบุคคล,สถานที่,สิ่งของ,เหตุการณ์
สารสนเทศ = ข้อมูลที่ถูกประมวลผลให้มีความหมาย,มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้
เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้ระบบ โดย
1.รูปแบบข้อมูลถูกรวบรวม,ปรับเปลี่ยน+จัดให้เป็นระบบ
2.เนื้อหาของข้อมูลถูกวิเคราะห์+ประเมินผล
3.ข้อมูลถูกจัดให้เป็นข้อความที่เหมาะสมเพื่อการใช้งาน
Data VS. Information (ข้อมูลกับสารสนเทศ)
5
ข้อมูล
ความหมายของข้อมูล
 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับวัตถุสิ่งของ คน สัตว์ การกระทา/
พฤติกรรม เหตุการณ์ กิจกรรม และธุรกรรม
 เป็นสิ่งที่มีความหมายไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถตีความได้และยังไม่สามารถนาไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ได้ทันที
 ข้อมูลอาจอยู่ในรูปแบบตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือเสียง ซึ่งข้อมูลอาจถูกเก็บไว้ใน
ฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล กระดาษ เทป ซีดี หรือความจาของมนุษย์
ตัวอย่างของข้อมูล
 จานวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1
 คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา
 ที่อยู่ปัจจุบันของนักศึกษา
 ระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
6
7
Framework of IS Knowledge
8
สารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ
 สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูล/ข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้
ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ และประสบการณ์ ที่ผ่านกระบวนการ
ประมวลผล หรือกระบวนการรวบรวม กลั่นกรอง วิเคราะห์ ตีความ
เรียบเรียง และบันทึก
 สารสนเทศจะอยู่ในรูปแบบที่มีความหมายและมีมูลค่าต่อผู้รับ
สามารถนาไปใช้ประโยชน์สาหรับการตัดสินใจได้
9
สารสนเทศ
 การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้กลายเป็นสารสนเทศนั้นมีหลายวิธี คือ
 การจัดกลุ่มข้อมูล (Grouping)
 การจัดเรียงข้อมูล (Sorting)
 การสรุปผลข้อมูล (Summarizing)
 การออกรายงาน (Reporting)
10
สารสนเทศ
 ตัวอย่างของสารสนเทศ
 ผลการเรียนเฉลี่ยของนิสิต (GPA)
 รายงานสรุปเวลาทางานของพนักงานในหนึ่งเดือน
 รายงานสรุปยอดขายรายไตรมาส
 รายงานจัดอันดับสินค้าขายดี
11
สารสนเทศ
กระบวนการประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศ
INPUT PROCESS OUTPUT
STORAGE
ข้อมูลดิบ สารสนเทศ
12
สารสนเทศ
ความหมายของความรู้
 ความรู้ (Knowledge) ประกอบด้วย ข้อมูลหรือสารสนเทศ ที่ถูกจัด
โครงสร้างหรือผ่านการประมวลผล เพื่อถ่ายโอนความเข้าใจ
ประสบการณ์และการเรียนรู้ รวมถึงความเชี่ยวชาญ
 ตัวอย่างของความรู้
 วิธีการ/ขั้นตอนในการคานวณหาเกรดเฉลี่ยของนิสิต (GPA)
 วิธีการหรือขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การ
รักษาคนไข้ที่ป่วยด้วยโรคไข้หวัด
13
คุณลักษณะสารสนเทศ
คุณลักษณะของสารสนเทศ
◦ ตรงกับความต้องการ (relevant)
◦ ทันต่อเวลา (timely)
◦ ความถูกต้อง (accurate)
◦ ความสมบูรณ์ (complete)
◦ ตรวจสอบได้(verifiable)
◦ เชื่อถือได้(reliable)
◦ เข้าถึงได้ง่าย (accessible)
◦ คุ้มค่าหรือคุ้มราคา (economical)
◦ มีความยืดหยุ่น (flexible)
◦ เข้าใจง่าย (Simple)
◦ ปลอดภัย (Secure)
14
- สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant)
สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องมีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์และ
สนองความต้องการของผู้ใช้เพื่อการตัดสินใจ
- ทันต่อเวลา (Timely)
สารสนเทศที่ดีนอกจากจะมีความถูกต้องแล้ว ข้อมูลต้องทันสมัย
และรวดเร็วทันต่อเวลาและความต้องการของผู้ใช้ในการ
ตัดสินใจ
คุณลักษณะสารสนเทศ
15
- ถูกต้องแม่นยา (Accurate)
สารสนเทศที่มีความถูกต้อง จะต้องปราศจากข้อผิดพลาดใดๆ
- สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete)
สารสนเทศที่มีความสมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่สาคัญ
อย่างครบถ้วน
คุณลักษณะสารสนเทศ
16
-ตรวจสอบได้(Verifiable)
สารสนเทศจะต้องตรวจสอบความถูกต้องได้
-เชื่อถือได้(Reliable)
สารสนเทศที่เชื่อได้ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของวิธีการรวบรวมข้อมูล
ที่นาเข้าสู่ระบบ
คุณลักษณะสารสนเทศ
17
-สะดวกในการเข้าถึง (Accessible)
สารสนเทศจะต้องง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลตามระดับสิทธิของผู้ใช้
-คุ้มราคา (Economical)
สารสนเทศที่ผลิตควรจะต้องมีความประหยัด เหมาะสมคุ้มค่ากับราคา
คุณลักษณะสารสนเทศ
18
-มีความยืดหยุ่น (Flexible)
สารสนเทศที่มีคุณภาพนั้นควรจะสามารถนาไปใช้ได้ใน
วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันหลายๆ ด้าน
-เข้าใจง่าย (Simple) สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องเข้าใจ
ง่าย ไม่ซ้าซ้อนต่อการทาความเข้าใจ
คุณลักษณะสารสนเทศ
19
-ปลอดภัย (Secure)
สารสนเทศจะต้องถูกออกแบบและจัดการให้มีความปลอดภัยจากผู้
ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลหรือสารสนเทศนั้น
คุณลักษณะสารสนเทศ
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
เนื้อหา (Content)
ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness)
ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
ความถูกต้อง (accuracy)
ความเชื่อถือได้(reliability)
การตรวจสอบได้(verifiability)
20
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
รูปแบบ (Format)
ชัดเจน (clarity)
ระดับรายละเอียด (level of detail)
รูปแบบการนาเสนอ (presentation)
สื่อการนาเสนอ (media)
ความยืดหยุ่น (flexibility)
ประหยัด (economy)
21
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
เวลา (Time)
ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
มีระยะเวลา (time period)
22
ลักษณะสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
กระบวนการ (Process)
ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility)
การมีส่วนร่วม (participation)
การเชื่อมโยง (connectivity)
23
24
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อบุคคล
 มนุษย์ใช้สมอง + สารสนเทศ ต่อสู้กับธรรมชาติ  ชีวิต
สะดวกสบายขึ้น เช่น ...
 ช่วยพัฒนาอาชีพ แก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ...
 ได้เรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ สร้างความสุขและความเจริญทางจิตใจ
เช่น ...
25
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อสังคม
 เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ทางเทคนิค และวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาช่วยในการ
พัฒนาระบบงานต่างๆ เช่น งานด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
การบริหาร และบริการต่างๆ
 ช่วยพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น OTOP สหกรณ์
 เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญต่อระบบการศึกษาและการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ
เช่น e-learning
 สร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างกัน และ ความสงบสุขในสังคม
 ช่วยดารงรักษาและถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี
26
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
 ต่อองค์กรธุรกิจ
 เป็นแหล่งความรู้ทางเทคนิคและวิธีการใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ในการ
พัฒนาระบบงานต่างๆ ในองค์กร
 เป็นแหล่งข้อมูลที่จะนามาใช้ในการแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ ในธุรกิจ
 เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับใน
องค์กร
 เพื่อความอยู่รอดขององค์กร
27
ระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศ
 คือ องค์ประกอบต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องและทางานประสานกันใน
การเก็บรวบรวม บันทึกประมวลผล จัดเก็บและแจกจ่ายสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและหน้าที่ทางการบริหาร ซึ่งได้แก่ การ
วางแผน การจัดองค์กรการประสานงาน การควบคุมและการสื่อสาร
ภายในองค์กร
 ระบบสารสนเทศไม่จาเป็นต้องมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
เสมอไปก็ถือเป็นระบบสารสนเทศได้
28
ระบบสารสนเทศ
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ
1. ส่วนนาเข้า (Input)
2. ส่วนดาเนินการ (Process)
3. ส่วนผลลัพธ์ (Output)
4. ส่วนป้อนกลับ (Feedback)
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ
ข้อมูลนาเข้า ประมวลผล ผลลัพธ์
ส่วนป้อนกลับ (Feedback)
29
30
ระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1. ส่วนอุปกรณ์ (Hardware)
2. ส่วนชุดคาสั่ง (Software)
3. ส่วนข้อมูลและแฟ้มข้อมูล (Data and Files)
4. บุคลากร (People)
5. หน้าที่ปฏิบัติงาน (Procedures)
1) หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ เป็นบุคลากรระดับสูงขององค์การที่ทา
หน้าที่และมีความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลเกี่ยวกับการ
บริหารงานระบบสารสนเทศของธุรกิจ หรือบุคคลที่เป็นหัวหน้าของ
ทั้งหน่วยงานวิเคราะห์และออกแบบระบบ เขียนชุดคาสั่ง ปฏิบัติการ
และให้บริการสารสนเทศแก่องค์การ
2) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ มีหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบ
ระบบงานในลักษณะต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์การ
และตรงตามความต้องการของผู้ใช้
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ
31
3) ผู้เขียนชุดคาสั่ง เป็นบุคคลที่ทาหน้าที่เขียนชุดคาสั่งเพื่อควบคุมและ
สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ มี 2 กลุ่ม
- ผู้เขียนชุดคาสั่งสาหรับระบบ (System Programmer) ทาหน้าที
ดูแล ปรับปรุงและแก้ไขชุดคาสั่งสาหรับควบคุมและใช้งานระบบ
- ผู้เขียนชุดคาสั่งสาหรับใช้งาน (Application Programmer) ทา
หน้าที่ควบคุม ดูแล และเก็บเอกสาร ตลอดจนบารุงรักษาและพัฒนา
ชุดคาสั่งให้ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ (ต่อ)
32
4) ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ดูแลและควบคุมการทางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ควรมีความรู้
เกี่ยวกับการทางานของอุปกรณ์ในส่วนต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
และระบบเครือข่าย
5) ผู้จัดตารางเวลา ทาหน้าที่จัดตารางเวลาการใช้คอมพิวเตอร์ให้กับงาน
แต่ละชนิดภายในห้องคอมพิวเตอร์ เช่น ช่วงเวลาใดจะใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานอะไร เพื่อให้งานทั้งหมดดาเนินไปอย่างสะดวก
รวดเร็ว และไม่เกิดปัญหาระหว่างผู้ใช้
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ (ต่อ)
33
6) พนักงานจัดเก็บและรักษา เป็นบุคคลที่ทาหน้าที่เก็บรักษาและจัดทา
รายการของอุปกรณ์ และจัดทาเอกสารที่เกี่ยวข้องชุดคาสั่งที่ใช้งาน
ตลอดจนทาดัชนีสาหรับข้อมูล เพื่อสะดวกในการค้นหา ตลอดจน
ช่วยให้ระบบข้อมูลมีความปลอดภัย
7) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล ทาหน้าที่ในการนาข้อมูลจากเอกสาร
เบื้องต้นมาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทาความ
เข้าใจได้
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ (ต่อ)
34
Roles of IS in Business
35
ความแตกต่างระหว่าง EIS กับ DSS และ MIS
 ความแตกต่างระหว่าง EIS กับ DSS และ MIS
MIS = เน้นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (แนวทาง – ตรรก ที่แน่นอน) และใช้ข้อมูลภายในจากระบบ TPS เป็นหลัก
จุดมุ่งหมายเพื่อบริหารจัดการ (Supervise) งานของหน่วยปฏิบัติการ ให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผนงานที่กาหนดมาโดย
ผู้บริหารระดับกลาง ภายใต้งบประมาณ เวลาและข้อจากัดอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น Production Control,
Sales forecasts, financial analysis, และ human resource management เป็นต้น
DSS = เน้นการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structured decision making) มีการใช้ข้อมูล
ข่าวสารจากระบบ MIS และข้อมูลจากภายนอกบางส่วนมาช่วยในการปรับปรุง หรือ กาหนดแผนงานที่จะต้องสนอง
เป้าหมายหลักขององค์กรให้มากที่สุด เช่น ระบบ Data miming เป็นต้น
EIS = เน้นการตัดสินใจแบบไร้โครงสร้าง (Unstructured decision making) จุดมุ่งหมายของระบบ
EIS คือ ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นแนวทาง ความเป็นไปที่เป็นมา และกาลังจะมีแนวโน้มไปทางใด เพื่อให้สามารถกาหนด
นโยบาย เป้าหมาย หลักๆ ขององค์กรให้สามารถธารงองค์กรไว้ได้ แข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างดี ตัวอย่างเช่นระบบ วางแผน
กลยุทธ์ Strategic planning เป็นต้น จะเป็นมาตรการสิ่งที่ได้จากการตัดสินใจของผู้บริหารชั้นสูงที่ใช้สั่งการไปสู่
ผู้บริหารระดับกลาง เพื่อปรับแผนงานและกระทบถึงผู้บริหารระดับต้น เพื่อปฏิบัติตามแผนงาน ใหม่ต่อไป
36
ความแตกต่างระหว่าง EIS กับ DSS และ MIS
 DSS = เน้นการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structured
decision making) มีการใช้ข้อมูลข่าวสารจากระบบ MIS และข้อมูลจาก
ภายนอกบางส่วนมาช่วยในการปรับปรุง หรือ กาหนดแผนงานที่จะต้องสนองเป้าหมาย
หลักขององค์กรให้มากที่สุด เช่น ระบบ Data miming เป็นต้น
37
ความแตกต่างระหว่าง EIS กับ DSS และ MIS
 EIS = เน้นการตัดสินใจแบบไร้โครงสร้าง (Unstructured decision
making) จุดมุ่งหมายของระบบ EIS คือ ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นแนวทาง ความ
เป็นไปที่เป็นมา และกาลังจะมีแนวโน้มไปทางใด เพื่อให้สามารถกาหนดนโยบาย
เป้าหมาย หลักๆ ขององค์กรให้สามารถธารงองค์กรไว้ได้ แข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างดี
ตัวอย่างเช่นระบบ วางแผนกลยุทธ์ Strategic planning เป็นต้น จะเป็น
มาตรการสิ่งที่ได้จากการตัดสินใจของผู้บริหารชั้นสูงที่ใช้สั่งการไปสู่ผู้บริหารระดับกลาง
เพื่อปรับแผนงานและกระทบถึงผู้บริหารระดับต้น เพื่อปฏิบัติตามแผนงาน ใหม่ต่อไป
38
END
39

More Related Content

Similar to Ch2-M1-Introduction to Information Technology

เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารwchai1334
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkrukea
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 

Similar to Ch2-M1-Introduction to Information Technology (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
It
ItIt
It
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 
Chapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 aChapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 a
 

Ch2-M1-Introduction to Information Technology