SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
สารสนเทศเป็นคาที่เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตปัจจุบันมากขึ้น โดยคาว่าสารสนเทศยังมี
คาอื่นๆที่ใช้ประกอบและใช้ร่วมกัน โดยมีคาและความหมาย ดังนี้
ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล ในเชิงสารสนเทศ หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือเป็นข่าวสารที่ยังไม่ผ่าน
การประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข อักษร สัญลักษณ์
รูปภาพ เสียงหรือภาพเคลื่อนไหว
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล หรือวิเคราะห์ จัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมาย
และคุณค่าสาหรับผู้ใช้
ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน
ความหมายระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการประมวลผลข้อมูล ข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่
เป็นประโยชน์สูงสุด เพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร
กระบวนการ
ขั้นตอนการทาข้อมูลให้เป็นระบบสารสนเทศ
การทาข้อมูลให้เป็นระบบสารสนเทศนั้น มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ประกอบด้วย
1.1การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นประจาวันมีจานวนมาก การจัดเก็บข้อมูลที่มี
จานวนมากนั้น ต้องจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วนและทันเวลา เช่น ข้อมูลประวัติส่วนตัว
1.2 การตรวจสอบข้อมูลเนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บนี้มีจานวนมาก เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้า
มาแล้วต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้ามาในระบบต้องเชื่อถือได้
2.การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ มีขั้นตอนต่อไปนี้
2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งานเช่น การ
เก็บข้อมูลประวัตินักเรียน
2.2 การจัดเรียงข้อมูล ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับโดยใช้หลักเกณฑ์ใดหลักเกณฑ์หนึ่งเพื่อ
ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์ได้เช่น การเรียงข้อมูลนักเรียนตามลาดับเลข
ประจาตัว
2.3 การสรุปผล เนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก ในการตัดสินใจในภาพรวมไม่สามารถนา
หน่วยข้อมูลมาตัดสินใจได้จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานต่อไปเพื่อนาไปใช้ประกอบการ
ตัดสินใจ
2.4 การคานวณ ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้
ดังนั้น การสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้โดยใช้วิธีการคานวณให้สัมพันธ์กับ
ประเภทของข้อมูลและระดับของข้อมูล
3.การดูแลสารสนเทศเพื่อการใช้งาน
3.1 การเก็บรักษาข้อมูล เป็นกานาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เพื่อให้เพียงพอ
ต่อการประมวลผลและตัดสินใจ
3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่เก็บไว้มีจุดประสงค์ให้เรียกใช้งานได้การค้นหาข้อมูลจึงต้อง
ค้นหาให้ถูกต้องแม่นยา
3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลมาเก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัยหรือ
นาไปแจกจ่ายและใช้งานในภายหลัง ควรทาในรูปแบบที่ง่าย
3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสาร
ข้อมูลจึงเป็นปัจจัยสาคัญจะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
การประมวลผลข้อมูลเป็ นสารสนเทศ เป็นสิ่งที่มีค่าต่อผู้ใช้ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับ
กลุ่มจนถึงการตัดสินใจในระดับองค์กร ซึ่งการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและแม่นยา ทาให้ธุรกิจ
ดาเนินกิจการประสบผลสาเร็จ เป็นผามาจากการประมวลผลเป็นสนเทศ โดยสารสนเทศที่ดี
ควรมีลักษณะ ดังนี้
1. ความเที่ยงตรง สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความเยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่มีความคลาดเคลื่อน
หรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด เพราะมีผลต่อการตัดสินใจที่ถูกต้องหรือผิดพลาด
2. ทันต่อความต้องการใช้ นอกเหนือจากสารสนเทศจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้อง
แล้ว จะต้องมีคุณสมบัติที่สามารถนาสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือ
เพื่อการตัดสินใจ
3. ความสมบูรณ์ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีข้อมูลที่สมบูรณ์ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความ
ถูกต้อง และการมีสารสนเทศปริมาณมาก อาจทาให้เกิดการสับสนในการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีการตอบสนองต่อความต้องการ
ของผู้ใช้ที่จะนาไปใช้ในการตัดสินใจได้ โดยวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ว่าต้องการนาไปใช้
ในด้านใด
5. ตรวจสอบได้ สารสนเทศที่ดีควรตรวจสอบได้ โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้สามารถประเมินได้ว่าสารสนเทศหรือข้อมูลมีความน่าเชื่อถือเพียงพอสาหรับประกอบการ
ตัดสินใจขององค์กรหรือไม่
เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยระบบที่ทางานร่วมกัน โดยมีองค์ประกอบสาคัญ 3
ประการ ดังนี้
1. ระบบประมวลผล ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลาย จึง
จาเป็นต้องใช้จานวนคนในการตรวจสอบเพื่อให้เป็นสารสนเทศหลายขั้นตอน จึงจะสามารถ
นามาใช้งานได้ ปัจจุบันจึงมีการจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการข้อมูล เพื่อให้การทางานถูกต้องรวดเร็ว และ
ปลอดภัยยิ่งขึ้น
2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายโทรศัพท์
หรือช่องทางการสื่อสารต่างๆ ที่ครอบคลุมทาให้การใช้งานของผู้ใช้สารสนเทศที่อยู่ห่างกัน
สามารถสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การจัดการข้อมูล เป็นการนาความรู้และทักษะการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการ
ข้อมูลให้สามารถสื่อสารได้ตรงกัน รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการ และมีความน่าสนใจ
สารสนเทศสามารถนาไปใช้งานได้แตกต่างกัน ตามลักษณะกิจกรรมและระดับของการ
ใช้งานในองค์กร โดนแบ่งได้เป็น 4 ระดับ
1 ระดับการวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
2 ระดับวางแผ่นบริการ
3 ระดับวางแผนการปฎิบัติการ
4 ระดับผู้ปฎิบัติการ
ระบบฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนามา
จัดเก็บในที่เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล แต่
ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูลในการจัดเก็บข้อมูล
ในระบบฐานข้อมูลมีข้อดีกว่าการจัดเก็บข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้
-สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เนื่องจากในระบบฐานข้อมูลจะเป็นที่เก็บรวบรวม
ข้อมูลทุกอย่างไว้ผู้ใช้แต่ละคนจึงสามารถที่จะใช้ข้อมูลในระบบได้ทุกข้อมูลซึ่งถ้าข้อมูล
ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นระบบฐานข้อมูลแล้วผู้ใช้ก็จะใช้ได้เพียงข้อมูลของตนเอง ข้อมูลของ
ระบบเงินเดือน ข้อมูลของระบบงานบุคคลถูกจัดไว้ในระบบแฟ้มข้อมูลผู้ใช้ที่ใช้ข้อมูล
ระบบเงินเดือน จะใช้ข้อมูลได้ระบบเดียว แต่ถ้าข้อมูลทั้ง 2 ถูกเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลซึ่งถูก
เก็บไว้ในที่ที่เดียวกัน ผู้ใช้ทั้ง 2 ระบบก็จะสามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ไม่เพียงแต่
ข้อมูลเท่านั้นสาหรับโปรแกรมต่าง ๆ ถ้าเก็บไว้ในฐานข้อมูลก็จะสามารถใช้ร่วมกันได้
-ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏอยู่
หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้ความ
ซ้าซ้อนของข้อมูลลดน้อยลง เช่น ข้อมูลอยู่ในแฟ้มข้อมูลของผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้แต่ละคน
จะมีแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง ระบบฐานข้อมูลจะลดการซ้าซ้อนของข้อมูลเหล่านี้ให้มาก
ที่สุด โดยจัดเก็บในฐานข้อมูลไว้ที่เดียวกันผู้ใช้ทุกคนที่ต้องการใช้ข้อมูลชุดนี้จะใช้โดย
ผ่านระบบฐานข้อมูลทาให้ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บข้อมูลและลดความซ้าซ้อนลงได้
- รักษาความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ในกรณี
ที่มีข้อมูลชุดเดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูลข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกันถ้ามี
การแก้ไขข้อมูลนี้ทุกๆ แห่งที่ข้อมูลปรากฏอยู่จะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดย
อัตโนมัติด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล
- การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้อย่างสะดวกการป้ องกัน
และรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นจึงจะมี
สิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูลได้เรียกว่ามีสิทธิส่วนบุคคล (privacy) ซึ่งก่อให้เกิดความปลอดภัย
(security) ของข้อมูลด้วย ฉะนั้นผู้ใดจะมีสิทธิ์ที่จะเข้าถึงข้อมูลได้จะต้องมีการกาหนดสิทธิ์
กันไว้ก่อนและเมื่อเข้าไปใช้ข้อมูลนั้นๆ ผู้ใช้จะเห็นข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลใน
รูปแบบที่ผู้ใช้ออกแบบไว้
ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การรวบรวมตารางที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่ง
สามารถแบ่งชนิดของความสัมพันธ์ได้ดังนี้
-ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง เป็นความสัมพันธ์ที่ทาความเข้าใจง่ายที่สุด เนื่องจากเรคอร์ด
1 เรคอร์ดในตารางหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับเรคอร์ด 1 เรคอร์ด ในอีกตารางหนึ่งเท่านั้น
-ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ด
ในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจานวนเรคอร์ด 2 เรคอร์ด หรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง
-ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย โดย
สร้างตารางใหม่ที่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง สองตาราง แทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ
กลุ่มต่อกลุ่มได้
ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆ เพื่อเป็นฟิลด์
พิเศษที่ทาหน้าที่บางอย่าง
-คีย์หลัก เป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ากันในแต่ละเรคอร์ดในตารางนั้น สามารถใช้ฟิลด์ที่เป็นคีย์หลัก
เป็นตัวแทนของตารางนั้นได้ทันที
-คีย์คู่แข่ง เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่นามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็นคีย์หลัก ไม่ซ้า และ
ไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก
-คีย์ผสม บางตารางหาฟิลด์ที่ไม่ซ้าไม่ได้จึงต้องใช้หลายๆฟิลด์มารวมกันเป็นคีย์หลัก ฟิลด์ที่
ใช้รวมกันเรียกว่า คีย์ผสม
1.นางสาวณิสิตรา สนิทไทย เลขที่ 16
2.นางสาวสุนิสา มหาสุด เลขที่ 17
3.นางสาวอรพรรณ ใหมละเอียด เลขที่ 18
4.นางสาวนฤกร สุรินทร์ชมพู เลขที่ 20
5.นางสาวเมธาวี วรรณกุล เลขที่ 27
6.นางสาวนาขวัญ สอนใจ เลขที่ 28
7.นางสาวพรรณชนก ชิตรรงค์ เลขที่ 29
8.นางสาวสุขุมาล สัภยาหงส์สกุล เลขที่ 32

More Related Content

What's hot

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศWirot Chantharoek
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศonthicha1993
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKat Nattawan
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slidejune006
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptLatae Chutipas
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slidejune006
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 

What's hot (14)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
It
ItIt
It
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slide
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slide
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

Marck suzhik-valves
Marck suzhik-valvesMarck suzhik-valves
Marck suzhik-valves
 
lnv15 Job-st
lnv15 Job-st lnv15 Job-st
lnv15 Job-st
 
Future of IDT Presentation
Future of IDT PresentationFuture of IDT Presentation
Future of IDT Presentation
 
OUR UVP
OUR UVPOUR UVP
OUR UVP
 
Reac impossible i 032714 webinar final
Reac impossible i 032714 webinar finalReac impossible i 032714 webinar final
Reac impossible i 032714 webinar final
 
The most amazing variety of life on earth
The most amazing variety of life on earthThe most amazing variety of life on earth
The most amazing variety of life on earth
 
Line follower robot
Line follower robotLine follower robot
Line follower robot
 

Similar to กลุ่ม 4

เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นTitima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศTitima
 
คอม
คอมคอม
คอม0win0
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39Thamonwan Phasopbuchatham
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศsarawoot7
 

Similar to กลุ่ม 4 (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
 

กลุ่ม 4

  • 1.
  • 2. ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ สารสนเทศเป็นคาที่เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตปัจจุบันมากขึ้น โดยคาว่าสารสนเทศยังมี คาอื่นๆที่ใช้ประกอบและใช้ร่วมกัน โดยมีคาและความหมาย ดังนี้ ความหมายของข้อมูล ข้อมูล ในเชิงสารสนเทศ หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือเป็นข่าวสารที่ยังไม่ผ่าน การประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข อักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียงหรือภาพเคลื่อนไหว ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล หรือวิเคราะห์ จัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมาย และคุณค่าสาหรับผู้ใช้ ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน
  • 3. ความหมายระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการประมวลผลข้อมูล ข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูงสุด เพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร กระบวนการ ขั้นตอนการทาข้อมูลให้เป็นระบบสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นระบบสารสนเทศนั้น มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ประกอบด้วย 1.1การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นประจาวันมีจานวนมาก การจัดเก็บข้อมูลที่มี จานวนมากนั้น ต้องจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วนและทันเวลา เช่น ข้อมูลประวัติส่วนตัว 1.2 การตรวจสอบข้อมูลเนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บนี้มีจานวนมาก เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้า มาแล้วต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้ามาในระบบต้องเชื่อถือได้
  • 4. 2.การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ มีขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งานเช่น การ เก็บข้อมูลประวัตินักเรียน 2.2 การจัดเรียงข้อมูล ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับโดยใช้หลักเกณฑ์ใดหลักเกณฑ์หนึ่งเพื่อ ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์ได้เช่น การเรียงข้อมูลนักเรียนตามลาดับเลข ประจาตัว 2.3 การสรุปผล เนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก ในการตัดสินใจในภาพรวมไม่สามารถนา หน่วยข้อมูลมาตัดสินใจได้จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานต่อไปเพื่อนาไปใช้ประกอบการ ตัดสินใจ 2.4 การคานวณ ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้น การสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้โดยใช้วิธีการคานวณให้สัมพันธ์กับ ประเภทของข้อมูลและระดับของข้อมูล
  • 5. 3.การดูแลสารสนเทศเพื่อการใช้งาน 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล เป็นกานาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เพื่อให้เพียงพอ ต่อการประมวลผลและตัดสินใจ 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่เก็บไว้มีจุดประสงค์ให้เรียกใช้งานได้การค้นหาข้อมูลจึงต้อง ค้นหาให้ถูกต้องแม่นยา 3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลมาเก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัยหรือ นาไปแจกจ่ายและใช้งานในภายหลัง ควรทาในรูปแบบที่ง่าย 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสาร ข้อมูลจึงเป็นปัจจัยสาคัญจะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
  • 6. การประมวลผลข้อมูลเป็ นสารสนเทศ เป็นสิ่งที่มีค่าต่อผู้ใช้ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับ กลุ่มจนถึงการตัดสินใจในระดับองค์กร ซึ่งการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและแม่นยา ทาให้ธุรกิจ ดาเนินกิจการประสบผลสาเร็จ เป็นผามาจากการประมวลผลเป็นสนเทศ โดยสารสนเทศที่ดี ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. ความเที่ยงตรง สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความเยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่มีความคลาดเคลื่อน หรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด เพราะมีผลต่อการตัดสินใจที่ถูกต้องหรือผิดพลาด 2. ทันต่อความต้องการใช้ นอกเหนือจากสารสนเทศจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้อง แล้ว จะต้องมีคุณสมบัติที่สามารถนาสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือ เพื่อการตัดสินใจ
  • 7. 3. ความสมบูรณ์ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีข้อมูลที่สมบูรณ์ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความ ถูกต้อง และการมีสารสนเทศปริมาณมาก อาจทาให้เกิดการสับสนในการตัดสินใจ 4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีการตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ใช้ที่จะนาไปใช้ในการตัดสินใจได้ โดยวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ว่าต้องการนาไปใช้ ในด้านใด 5. ตรวจสอบได้ สารสนเทศที่ดีควรตรวจสอบได้ โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถประเมินได้ว่าสารสนเทศหรือข้อมูลมีความน่าเชื่อถือเพียงพอสาหรับประกอบการ ตัดสินใจขององค์กรหรือไม่
  • 8. เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยระบบที่ทางานร่วมกัน โดยมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1. ระบบประมวลผล ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลาย จึง จาเป็นต้องใช้จานวนคนในการตรวจสอบเพื่อให้เป็นสารสนเทศหลายขั้นตอน จึงจะสามารถ นามาใช้งานได้ ปัจจุบันจึงมีการจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ด้วยระบบ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการข้อมูล เพื่อให้การทางานถูกต้องรวดเร็ว และ ปลอดภัยยิ่งขึ้น 2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายโทรศัพท์ หรือช่องทางการสื่อสารต่างๆ ที่ครอบคลุมทาให้การใช้งานของผู้ใช้สารสนเทศที่อยู่ห่างกัน สามารถสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การจัดการข้อมูล เป็นการนาความรู้และทักษะการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการ ข้อมูลให้สามารถสื่อสารได้ตรงกัน รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการ และมีความน่าสนใจ
  • 9. สารสนเทศสามารถนาไปใช้งานได้แตกต่างกัน ตามลักษณะกิจกรรมและระดับของการ ใช้งานในองค์กร โดนแบ่งได้เป็น 4 ระดับ 1 ระดับการวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว 2 ระดับวางแผ่นบริการ 3 ระดับวางแผนการปฎิบัติการ 4 ระดับผู้ปฎิบัติการ ระบบฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนามา จัดเก็บในที่เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล แต่ ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูลในการจัดเก็บข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลมีข้อดีกว่าการจัดเก็บข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้
  • 10. -สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เนื่องจากในระบบฐานข้อมูลจะเป็นที่เก็บรวบรวม ข้อมูลทุกอย่างไว้ผู้ใช้แต่ละคนจึงสามารถที่จะใช้ข้อมูลในระบบได้ทุกข้อมูลซึ่งถ้าข้อมูล ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นระบบฐานข้อมูลแล้วผู้ใช้ก็จะใช้ได้เพียงข้อมูลของตนเอง ข้อมูลของ ระบบเงินเดือน ข้อมูลของระบบงานบุคคลถูกจัดไว้ในระบบแฟ้มข้อมูลผู้ใช้ที่ใช้ข้อมูล ระบบเงินเดือน จะใช้ข้อมูลได้ระบบเดียว แต่ถ้าข้อมูลทั้ง 2 ถูกเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลซึ่งถูก เก็บไว้ในที่ที่เดียวกัน ผู้ใช้ทั้ง 2 ระบบก็จะสามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ไม่เพียงแต่ ข้อมูลเท่านั้นสาหรับโปรแกรมต่าง ๆ ถ้าเก็บไว้ในฐานข้อมูลก็จะสามารถใช้ร่วมกันได้ -ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏอยู่ หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้ความ ซ้าซ้อนของข้อมูลลดน้อยลง เช่น ข้อมูลอยู่ในแฟ้มข้อมูลของผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้แต่ละคน จะมีแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง ระบบฐานข้อมูลจะลดการซ้าซ้อนของข้อมูลเหล่านี้ให้มาก ที่สุด โดยจัดเก็บในฐานข้อมูลไว้ที่เดียวกันผู้ใช้ทุกคนที่ต้องการใช้ข้อมูลชุดนี้จะใช้โดย ผ่านระบบฐานข้อมูลทาให้ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บข้อมูลและลดความซ้าซ้อนลงได้
  • 11. - รักษาความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ในกรณี ที่มีข้อมูลชุดเดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูลข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกันถ้ามี การแก้ไขข้อมูลนี้ทุกๆ แห่งที่ข้อมูลปรากฏอยู่จะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดย อัตโนมัติด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล - การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลทาได้อย่างสะดวกการป้ องกัน และรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นจึงจะมี สิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูลได้เรียกว่ามีสิทธิส่วนบุคคล (privacy) ซึ่งก่อให้เกิดความปลอดภัย (security) ของข้อมูลด้วย ฉะนั้นผู้ใดจะมีสิทธิ์ที่จะเข้าถึงข้อมูลได้จะต้องมีการกาหนดสิทธิ์ กันไว้ก่อนและเมื่อเข้าไปใช้ข้อมูลนั้นๆ ผู้ใช้จะเห็นข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลใน รูปแบบที่ผู้ใช้ออกแบบไว้
  • 12. ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การรวบรวมตารางที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่ง สามารถแบ่งชนิดของความสัมพันธ์ได้ดังนี้ -ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง เป็นความสัมพันธ์ที่ทาความเข้าใจง่ายที่สุด เนื่องจากเรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับเรคอร์ด 1 เรคอร์ด ในอีกตารางหนึ่งเท่านั้น -ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ด ในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจานวนเรคอร์ด 2 เรคอร์ด หรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง -ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย โดย สร้างตารางใหม่ที่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง สองตาราง แทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ กลุ่มต่อกลุ่มได้
  • 13. ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆ เพื่อเป็นฟิลด์ พิเศษที่ทาหน้าที่บางอย่าง -คีย์หลัก เป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ากันในแต่ละเรคอร์ดในตารางนั้น สามารถใช้ฟิลด์ที่เป็นคีย์หลัก เป็นตัวแทนของตารางนั้นได้ทันที -คีย์คู่แข่ง เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่นามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็นคีย์หลัก ไม่ซ้า และ ไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก -คีย์ผสม บางตารางหาฟิลด์ที่ไม่ซ้าไม่ได้จึงต้องใช้หลายๆฟิลด์มารวมกันเป็นคีย์หลัก ฟิลด์ที่ ใช้รวมกันเรียกว่า คีย์ผสม
  • 14.
  • 15. 1.นางสาวณิสิตรา สนิทไทย เลขที่ 16 2.นางสาวสุนิสา มหาสุด เลขที่ 17 3.นางสาวอรพรรณ ใหมละเอียด เลขที่ 18 4.นางสาวนฤกร สุรินทร์ชมพู เลขที่ 20 5.นางสาวเมธาวี วรรณกุล เลขที่ 27 6.นางสาวนาขวัญ สอนใจ เลขที่ 28 7.นางสาวพรรณชนก ชิตรรงค์ เลขที่ 29 8.นางสาวสุขุมาล สัภยาหงส์สกุล เลขที่ 32