SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
Electronic Data Interchange
(EDI)
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
#TanapatLim
1
EDI
• EDI ( Electronic Data Interchange ) คืออะไร
• EDI คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริษัทคู่ค้าในรูปแบบ
มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
อีกเครื่องหนึ่ง EDI คือ การใช้ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาแทน เอกสารที่เป็น
กระดาษเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ต้องอยู่ในรูปแบบมาตรฐานสากลซึ่ง
ทุกธุรกิจสามารถแลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ทั่วโลก
2
EDI
• EDI (Electronic Data Interchange) คือการใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในการรับส่งเอกสารธุรกิจ
• ระหว่างหน่วยงานตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไปที่มีมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับ
ร่วมกัน โดยผ่านเครือข่ายสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณดาวเทียม เป็น
ต้น หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การใช้สื่อ หรือรูปแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลหรือเอกสารธุรกิจ เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า บัญชีราคาสินค้า ใบ
ส่งของ รายงาน ฯลฯ ภายใต้มาตรฐานที่กาหนดไว้
• ระบบที่น่าเชื่อถือคือ ANSI X 12 จะใช้ในอเมริกาและ
UN/EDIFACT และ ISO
3
ประโยชน์ของ EDI
• ประโยชน์หลัก ๆ ของ EDI ต่อธุรกิจ มีดังต่อไปนี้
เพิ่มความถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยา ในการรับ-ส่งเอกสาร
ลดงานซ้าซ้อน และลดขั้นตอนการจัดการรับ-ส่งเอกสาร
• สามารถนาเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์มากที่สุด
• ลดค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสาร เช่น ค่าแสตมป์ ค่าพัสดุไปรษณีย์
และพนักงาน
• เพิ่มความรวดเร็วในการทาธุรกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะที่มีการ
แข่งขันสูงขึ้น
• เพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า
4
เอกสารประเภทใดบ้างที่ใช้ EDI
• เอกสารประเภทใดบ้างที่ใช้ EDI มาทดแทนได้
• เอกสารทางธุรกิจที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้สามารถทดแทนด้วยเอกสาร EDI ได้ทั้งหมด เช่น
• เอกสารทางด้านการจัดซื้อ ได้แก่ ใบสั่งซื้อ (Purchase Order) ใบแจ้งหนี้
(Invoice) ใบเสนอราคา (Quotation) ใบแจ้งราคาสินค้า (Price/Sales
Catalogue) เป็นต้น
• เอกสารทางด้านการเงินได้แก่ ใบสั่งให้ธนาคารจ่ายเงิน (Payment Order) ใบแจ้ง
การสั่งจ่าย (Remittance Advice) เป็นต้น
• เอกสารทางด้านการขนส่ง ได้แก่ ใบตราส่ง (Bill of Lading) ใบจองตู้สินค้า
(Booking)แผนผังการบรรทุกสินค้าภายในเรือ (Bayplan) ใบสั่งปล่อยสินค้า
(Delivery Order) เป็นต้น
• เอกสารทางด้านการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ใบขนสินค้า (Customs
Declaration) บัญชีตู้สินค้า (Manifest) เป็นต้น
5
หน้าที่ของผู้ให้บริการ EDI
• หน้าที่ของผู้ให้บริการ EDI หรือที่เรียกกันว่า VAN คืออะไร
• ผู้ให้บริการ EDI ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางไปรษณีย์ ในการรับ-ส่งข้อมูล
ระหว่างคู่ค้า ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยปกติผู้
ให้บริการ EDI สามารถให้บริการในการรับ-ส่งข้อมูลทั้ง EDI, File
Transfer (non-EDI) และ E-mail ความรับผิดชอบหลักของผู้
ให้บริการ EDIนอกจากการรับ-ส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์แล้วยัง
ต้องสามารถรักษาความปลอดภัย ของตู้ไปรษณีย์( Mailbox) ของ
ลูกค้าแต่ละราย มิให้ผู้อื่นเข้าไปดูข้อมูลได้อีกด้วย
6
ขอบเขต EDI
• ขอบเขตการให้บริการ EDI กว้างขวางเพียงใด
• ท่านสามารถรับ-ส่งเอกสาร EDI ได้ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เราแบ่งผู้ให้บริการEDI หรือที่
เรียกว่า VAN (Value Added Network) เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ
• ผู้ให้บริการ EDI ภายในประเทศ (Domestic VAN) เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทย, บริษัทชิน
วัตร, บริษัทไทยเทรดเน็ท, และบริษัทเอ็กซิมเน็ท บริษัทเหล่านี้มีศูนย์บริการ (Host) อยู่ในประเทศและ
จะให้บริการเครือข่ายภายในประเทศเป็นหลัก
• ผู้ให้บริการ EDI ระหว่างประเทศ (International VAN) เช่น IBM , BT , AT&T บริษัท
เหล่านี้มีศูนย์บริการ (Host) อยู่ต่างประเทศ และให้บริการเครือข่ายระหว่างประเทศเป็นหลัก
ท่านสามารถเลือกใช้บริการของผู้ให้บริการ EDI ตามความเหมาะสมกับการใช้งานในธุรกิจ ตัวอย่างเช่น
บริษัทที่มีเอกสารรับส่งระหว่างประเทศเป็นหลักควรเลือกใช้ผู้ให้บริการ EDI ระหว่างประเทศ ส่วน
บริษัทที่มีเอกสารรับส่งภายในประเทศเป็นหลัก ควรใช้บริการของผู้ให้บริการ EDI ภายในประเทศเพราะ
ค่าใช้จ่ายจะต่ากว่า
•
7
VAN (Value Added Network)
• เหตุใดจึงต้องใช้บริการของ VAN (Value Added Network)
• หลาย ๆ บริษัทอาจคิดว่าควรติดต่อกับคู่ค้าด้วยตนเองมากกว่าการใช้บริการ
ของ VANเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นโดยไม่จาเป็นหากแต่ปัญหาที่ต้องประสบ
รวมถึงปริมาณงานที่เกิดเพิ่มขึ้นมีดังต่อไปนี้
• การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบ ระหว่างท่านและคู่ค้าซึ่งจะมีความยุ่งยากเพิ่มขึ้น
หากท่านมีคู่ค้าเป็นจานวนมาก ต้องบริหารเครือข่ายการสื่อสารด้วยตนเอง โดยท่าน
ต้องรับภาระในการดูแลทั้งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ Modems การส่งและรับข้อมูล
สายโทรศัพท์ และอื่นๆ
• ขาดผู้ชานาญงานในการฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจถึง EDI
• ต้องลงทุนสูงทางด้านอุปกรณ์เครือข่าย และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
8
EDI กับ E-mail
• EDI กับ E-mail แตกต่างกันอย่างไร
• E-mail เป็นการส่งข้อความซึ่งไม่มีรูปแบบบังคับเป็นการสื่อสาร
ระหว่างบุคคลที่ไม่มีมาตรฐานกาหนดตายตัว ต่างจาก EDI ซึ่งข้อมูล
ต้องมีรูปแบบที่แน่นอนภายใต้รูปแบบมาตรฐานสากลเนื่องจากEDI
เป็นการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถ นาข้อมูลเข้าสู่
ระบบงานคอมพิวเตอร์ของบริษัทคู่ค้าได้ทันที โดยไม่ต้องมีคนบันทึก
ข้อมูล
9
ประโยชน์และข้อแตกต่างระหว่างการใช้ EDI
• ประโยชน์และข้อแตกต่างระหว่างการใช้ EDI กับ Fax ในการรับ-ส่งเอกสาร
• สาหรับผู้รับเอกสารท่านสามารถนาข้อมูล EDI ที่ได้รับมาจากบริษัทคู่ค้าขึ้นสู่
ระบบงานคอมพิวเตอร์ของท่านได้ทันที โดยไม่ต้องทาการบันทึกข้อมูลซ้า ซึ่งเป็นการ
ลดระยะเวลาและข้อผิดพลาด แตกต่างจากการรับเอกสารทาง Fax ซึ่งส่วนใหญ่จะ
ประสบกับปัญหากระดาษหมด ข้อความไม่ชัดเจน อ่านไม่ได้ อีกทั้งยังไม่มีการ
รายงานสถานภาพความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารที่ได้รับสาหรับผู้ส่งเอกสาร ท่าน
สามารถนาข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์ของท่าน ผลิตเอกสาร EDI และส่งไปยังคู่
ค้าโดยไม่ต้องมีการใส่ข้อมูลหรือพิมพ์ออกมาในแต่ละครั้งของการส่งหากท่านส่ง
เอกสารผ่านเครื่อง Fax โดยทั่วไปเอกสารต้องถูกจัดพิมพ์ออกมาก่อนจะส่งไปยังคู่
ค้าเป็นการเพิ่มทั้งปริมาณงานและปริมาณเอกสารกระดาษที่ใช้
10
อุปกรณ์ที่ต้องจัดเตรียมในการนา EDI
• อุปกรณ์ที่ต้องจัดเตรียมในการนา EDI มาใช้ในบริษัท
• ระบบ EDI ที่ใช้กันอยู่ทั่วโลกมีอยู่มากมายหลายระบบในที่นี้จะขอ
กล่าวถึงอุปกรณ์ที่จาเป็นอย่างน้อยในระบบ EDI ที่ใช้ Personal
Computer เป็นตัวกลางในการรับ-ส่งข้อมูล
• เครื่อง PC รุ่น 486 ขึ้นไป ที่มีหน่วยความจาอย่างน้อย 4 MB
• Translation Software
• Modem
11
ค่าใช้จ่ายในการนาระบบ EDI
• ค่าใช้จ่ายในการนาระบบ EDI มาใช้มีส่วนใดบ้าง
• ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบ EDI ไม่รวมถึงค่าอุปกรณ์
(Hardware) โดยทั่วไปจะประกอบด้วย
• ค่า Set up Mailbox
• ค่า Translation Software
• ค่าบารุงรักษา Mailbox รายเดือน
• ค่าใช้บริการ (Transaction) โดยปกติคิดจากปริมาณข้อมูลที่รับส่ง
(เป็นจานวน บาท ต่อ1024 ตัวอักษร)
12
Interconnection
• Interconnection หมายถึงอะไร และมีประโยชน์อย่างไร
• Interconnection หมายถึงการเชื่อมต่อระบบกันระหว่างผู้
ให้บริการ EDI เพื่ออานวยความสะดวกแก่ลูกค้าให้สามารถติดต่อ รับ-
ส่งข้อมูล EDI กับคู่ค้าได้ทั้งหมด โดยเป็นสมาชิกของผู้ให้บริการรายใด
รายหนึ่งเท่านั้น ซึ่งนอกจากจะเป็นการอานวยความ สะดวกแล้วยัง
ประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วยการ Interconnect อาจทาได้ระหว่างผู้
ให้บริการภายในประเทศ หรือกับผู้ให้บริการ EDI ในต่างประเทศ
13
EDI/EDI Web คืออะไร
• ในระบบ EDI/EDIWebผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลโดยคียข้อมูลผ่าน
โปรแกรม EDI หรือ Web Browser เข้าสู่ระบบเครือข่าย EDI และ
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย EDI ส่งข้อมูลผ่านไปยังผู้รับ ซึ่งผู้รับสามารถอ่าน
ข้อมูลได้บนจอคอมพิวเตอร์ผ่านโปรแกรม EDI หรือ Web Browser
• รูปแบบการใช้งานของระบบEDI/EDIWeb สาหรับผู้ส่งและผู้รับสามารถ
ใช้ Web Browserและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการส่งข้อมูลเข้า
เครือข่าย EDI จะเหมาะสมกับบริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางที่ไม่ต้องการเชื่อมโยง
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่นระบบบัญชี ระบบคงคลัง ระบบ
วางแผนการผลิต เป็นต้น หากผู้รับหรือผู้ส่งใช้โปรแกรม EDI ในการรับส่งข้อมูลจะ
สามารถเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบงานอื่น ๆ ได้ประโยชน์ในการใช้
ระบบ EDI
14
ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร
• ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร
• การแลกเปลี่ยนเอกสารธุรกิจในระบบอีดีไอ มีขั้นตอนการทางาน
ระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ส่งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับ ดังนี้
15
ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร
• 1. ผู้ส่งเอกสารอีดีไอ (Sending System)
• - เริ่มต้นผู้ส่งต้องมีโปรแกรม (In House Application) สาหรับบันทึกข้อมูลของเอกสารต่าง ๆ
เช่น invoice ใบขนสินค้า เป็นต้น โปรแกรมนี้ผู้ส่งอาจจะพัฒนาเองหรือซื้อที่เขาพัฒนาเสร็จแล้วก็ได้
• - ผู้ส่งบันทึกรายละเอียดของเอกสารต่าง ๆ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
• - ผู้ส่งตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ของข้อมูลที่บันทึกเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ อีกครั้งก่อนที่จะส่งไปให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับ
• - ผู้ส่งสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนส่งข้อมูลไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้รับเมื่อได้รับคาสั่ง เครื่อง
คอมพิวเตอร์ของผู้ส่งก็จะทาการคัดแยกข้อมูล ที่ต้องการส่ง (Extracted Data) จากฐานข้อมูล
(DB file) ให้อยู่ในรูปที่พร้อมจะถูกแปลงเป็นเอกสารอีดีไอ
• - ซอฟแวร์อีดีไอ (Translation Software) จะทาการแปลงข้อมูลที่ต้องการส่งให้อยู่ในรูปของ
เอกสารอีดีไอหรือที่เรียกว่าเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น EDIFACT Format
• - จากนั้นก็เป็นหน้าที่ของชุดคาสั่งสาหรับการติดต่อสื่อสารข้อมูล (Communication
Protocol เช่น VAN Protocol หรืออื่น ๆ) ที่จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
อีดีไอ
16
ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร
• 2. ผู้ให้บริการอีดีไอ (VANS: Value added Network System)
• เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการอีดีไอจะดาเนินการดังต่อไปนี้
• - ตรวจสอบสิทธิการใช้บริการอีดีไอของผู้ส่ง เช่น ตรวจสอบรหัสผ่าน เป็นต้น
• - เมื่อได้รับข้อมูลจากผู้ส่งแล้วทาการแปลงข้อมูลจากมาตรฐาตหนึ่ง ไปเป็นอีก
มาตรฐานหนึ่งในกรณีที่ผู้ส่ง และผู้รับใช้มาตรฐานอีดีไอ
แตกต่าง (Optional)
• - ตรวจสอบข้อมูลว่าตรงตามมาตรฐานหรือไม่ (Optional)
• - นาเอกสารอีดีไอที่ได้รับจากผู้ส่ง ไปเก็บไว้ใน Mailbox (ตู้ไปรษณีย์) ของ
ผู้รับ
17
ระบบอีดีไอ ทำงำนอย่ำงไร
• 3. ผู้รับเอกสารอีดีไอ (Receiving System)
• เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับจะดาเนินการดังต่อไปนี้
• - ผู้รับติดต่อมายังเครื่องของผู้ให้บริการอีดีไอผ่านเครือข่ายสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ เพื่อ
รับเอกสารที่อยู่ใน Mailbox ของตน
• - อ่านเอกสารอีดีไอ (ในรูป ของ EDIFACT Format) จาก Mailbox ของตน
และส่งข้อความตอบรับแจ้งให้ผู้ส่งทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
• - ซอฟแวร์อีดีไอ (Translation Software) จะทาการแปลงเอกสารอีดีไอให้
อยู่ในรูปแบบที่ผู้รับเอาไปใช้งานภายในองค์กรได้
• - เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับจะนาข้อมูลที่ผ่านการแปลงเรียบร้อย
แล้ว (Deformated data)มาทาการประมวลผล และจัดเก็บลงในฐานข้อมูล
(DB file)
18
การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์
• การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์
• คณะทางานระบบอีดีไอของกรมศุลกากรได้ออกแบบและพัฒนาเอกสาร
ฉบับอิเล้กทรอนิกส์หรือเอกสารอีดีไอ โดยการคัดเลือกเอกสารอีดีไอภายใต้
มาตรฐาน UN/EDIFACT (95B Directory และ 96B
Directory) การคัดเลือกประเภทของเอกสารอีดีไอทุกฉบับ กรมศุลกากร
ได้พิจารณาถึงความเหมาะสมและปฏิบัติตามข้อแนะนาจากองค์การ
ศุลกากรโลกซึ่งในปัจจุบันนี้องค์การศุลกากรโลกมีประเทศสมาชิกมากกว่า
140ประเทศและประเทศสมาชิกทั้งหลายก็ได้ให้ความร่วมมือตามที่
องค์การศุลกากรโลกร้องขอเพื่อให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออีดีไอสาหรับ
ด้านการค้าระหว่างประเทศมีมาตรฐานเดียวกัน
19
• ดังนั้นเพื่อให้ได้เอกสารอีดีไอมีมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับ
กติกาของสากล สภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย
(สลท.) จึงได้จัดตั้งคณะทางานด้านศุลกากรประกอบด้วยผู้แทนจาก
หน่วยงานหลักต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
คือ กรมศุลกากร การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์
NECTEC บริษัทการบินไทยTAGS, TAFA และ FIFFA เพื่อทา
หน้าที่หลักในการกากับดูแล พิจารณารับรองเอกสารอีดีไอที่ผ่านการ
รับรองแล้วเพื่อใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันสาหรับธุรกิจด้านการค้า
ระหว่างประเทศ
การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์
20
• เพื่อให้ได้เอกสารอีดีไอมีมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับกติกาของ
สากล สภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (สลท.) จึง
ได้จัดตั้งคณะทางานด้านศุลกากรประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงาน
หลักต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ คือ กรม
ศุลกากร การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ NECTEC
บริษัทการบินไทยTAGS, TAFA และ FIFFA เพื่อทาหน้าที่หลักใน
การกากับดูแล พิจารณารับรองเอกสารอีดีไอที่ผ่านการรับรองแล้วเพื่อ
ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันสาหรับธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ
การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์
21
อีดีไอกับการบริหารงานศุลกากร
• เอกสารธุรกิจสาหรับการใช้ระบบอีดีไอกับการบริหารงานศุลกากร
• กรมศุลกากรได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการใช้ระบบอีดีไอสาหรับการบริหารงาน
ศุลกากรแบบครบวงจรทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ เอกสารธุรกิจประเภทต่าง
ๆ ที่ใช้ในการรับและส่งกันระหว่างกรมศุลกากรและผู้ประกอบการค้าตลอดจนหน่วยงานอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง จะถูกพัฒนาเข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด โดยรวมถึงเอกสารดังต่อไปนี้
• - การรับส่งเอกสารใบขนสินค้าและบัญชีราคาสินค้าระหว่างกรมศุลกากร ผู้นาเข้า ผู้ส่งออก
และตัวแทนออกของ
• - การรับส่งเอกสารบัญชีสินค้าระหว่างกรมศุลกากร บริษัทตัวแทนเรือและบริษัทตัวแทนสาย
การบินต่าง ๆ
• - การรับส่งเอกสารการชาระเงินค่าภาษีอากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ด้วยระบบ
Electronic Funds Transfer(EFT)
22
มาตรฐานอีดีไอ
• 2. มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออีดีไอ
• มาตรฐานอีดีไอ
• กรมศุลกากรเลือกใช้มาตรฐาน "UN/EDIFACT" เป็นมาตรฐาน
สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างกรมศุลกากรและ
ผู้ประกอบการค้า ตลอดจนหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน
UN/EDIFACT เป็นมาตรฐาน
สากลอันเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันและเป็นมาตรฐานอีดี
ไอที่ได้รับการสนับสนุนจากสภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศ
ไทย (สลท.) และสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) โดย
องค์กรดังกล่าวได้ให้การรับรองมาตรฐาน UN/EDIACT เป็นมาตรฐานอี
ดีไอสาหรับใช้ในประเทศไทย
23
มาตรฐานอีดีไอ
• สาหรับผู้ประกอบการค้าใช้มาตรฐานอีดีไอแตกต่างจากกรมศุลกากร
เช่น มาตรฐาน ANSI X.12, TDCC และ Cargo Imp เป็นต้น
ผู้ประกอบการค้าจะต้องทาการแปลงมาตรฐานเอกสารอีดีไอให้เป็น
มาตรฐาน UN/EDIFACTก่อนการส่งให้แก่กรมศุลกากร ในกรณีที่
ผู้ประกอบการค้าไม่พร้อมที่จะทาการแปลงมาตรฐานเอกสารอีดีไอได้
เอง ผู้ประกอบการค้าก็สามารถขอใช้บริการการแปลงมาตรฐานเอกสาร
อีดีดไอได้จากบริษัทผู้ให้บริการอีดีไอที่องค์กรของตนเลือกใช้บริการได้
รายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและความพร้อมของการให้บริการดังกล่าว
ข้างต้น ให้ผู้ประกอบการค้าสอบถามได้จากบริษัทผู้ให้บริการอีดีไอ
โดยตรง
24
เอกสารอีดีไอ
คณะทางานด้านศุลกากรได้รับรองเอกสารอีดีไอจานวน 6 ฉบับเรียบร้อยแล้ว โดย
มีรายละเอียดของเอกสารอีดีไอดังกล่าว
ประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้
1. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งใบขนสินค้าขาออก (General Customs
Declaration Message on Export) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ตัวแทน
ออกของ/ผู้ส่งออกส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกให้แก่กรมศุลกากร
2. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งบัญชีราคาสินค้า (Commercial Invoice
Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ตัวแทนออกของ/ผู้ส่งออกส่งข้อมูลบัญชี
ราคาสินค้าให้แก่กรมศุลกากร
3. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งบัญชีสินค้า (Air Cargo Manifest
Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้บริการตัวแทนสายการบินส่งข้อมูลบัญชี
สินค้าให้แก่กรมศุลกากร
25
เอกสารอีดีไอที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร
• กรมศุลกากรได้คัดเลือกเอกสารอีดีไอฉบับหลักๆเกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร
และจะใช้เอกสารเหล่านี้เป็นฐานในการ ออกแบบและพัฒนาเอกสารอีดีไอสาหรับใช้
ในธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศสาหรับใช้ในประเทศไทยเอกสารอีดีไอ
ที่ได้ผ่านการพิจารณาความเหมาะสมแล้วประกอบด้วย
• - CUSCAR หรือ Customs Cargo Report Message คือเอกสารอี
ดีไอสาหรับการส่งบัญชีสินค้า
• - CUSDEC หรือ Customs Declaration Message คือเอกสารอีดีไอ
สาหรับใบขนสินค้า
• - CUSRES หรือ Customs Response Message คือเอกสารอีดีไอ
สาหรับใช้ในการตอบรับการส่งเอกสารอีดีไอประเภทต่าง ๆ
• - CUSREP หรือ Customs Conveyance Report Message คือ
เอกสารอีดีไอสาหรับใช้ในการรายงานยวดยานเข้าออกจากเขตศุลกากร
26
เอกสารอีดีไอที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร
• - PAXLST หรือ Passenger List Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้ในการส่ง
บัญชีผู้โดยสาร
• - CUSEXP หรือ Customs Express Consignment Declaration
Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้กับสินค้าเร่งด่วน
• - REMADV หรือ Remittance Advice Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้
กับการชาระและจ่ายเงินค่าภาษีอากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
• - GOVREG หรือ Government Regulatory Message คือเอกสารอีดีไอ
สาหรับใช้กับกฎระเบียบต่าง ๆ ของทางราชการ
• - INVOICE หรือ Invoice Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้กับการส่งบัญชี
ราคาสินค้า อย่างไรก็ตามเอกสารอีดีไอดังกล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงเอกสารอีดีไอฉบับหลัก
ๆ เท่านั้นที่กรมศุลกากรจะต้องนามาพิจารณาคัดเลือกรายละเอียดในเนื้อหาของเอกสารอีดี
ไอแต่ละฉบับใหม่ เพื่อความเหมาะสมสาหรับการใช้งานในประเทศไทยและอาจจะมีการ
เลือกใช้และหรือพัฒนาเอกสารอีดีไอเพิ่มเติมขึ้นจากที่กล่าวมาข้างต้นได้ในอนาคต
27
เอกสำรอีดีไอ
4. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่ง Air Waybill (Air Waybill Message)
เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ Freight Forwarder ส่งข้อมูลเกี่ยวกับ Air
Waybill ให้แก่กรมศุลกากร
5. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่ง Vessel/Flight Schedules (Vessel
and flight Schedule Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้บริษัท
ตัวแทนเรือ/บริษัทตัวแทนสายการบินส่งข้อมูลเกี่ยวกับแผนการเดินทางเข้าออกของ
เรือ/อากาศยาน
6. เอกสารอีดีไอสาหรับการตอบรับการส่งข้อมูล (Customs Response
Message) เป็นเอกสารอีดีไอที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะแจ้งกลับไป
ให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ประกอบการค้าที่ใช้ระบบ อีดีไอทราบผลของการส่ง
ข้อมูลและสิ่งที่ผู้ประกอบการค้าจะต้องดาเนินการต่อไปอย่างไรบ้าง เอกสารอีดีไอ
ฉบับนี้จะใช้สาหรับการตอบรับการส่งเอกสารอีดีไอทุกฉบับ
28
END
29

More Related Content

What's hot

หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
ตุ๊กตาล้มลุก
ตุ๊กตาล้มลุกตุ๊กตาล้มลุก
ตุ๊กตาล้มลุกnansupas
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศKanokorn Thodsaphon
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 

What's hot (20)

หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ตุ๊กตาล้มลุก
ตุ๊กตาล้มลุกตุ๊กตาล้มลุก
ตุ๊กตาล้มลุก
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Similar to Electronic Data Interchange

การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์captsupphanuth
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Maneerat Noitumyae
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Min Jidapa
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10katuckkt
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Maprangmp
 
Electronic data interchange
Electronic data interchangeElectronic data interchange
Electronic data interchangevaratamsing
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFมติพร อัมพรรัตน์
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 

Similar to Electronic Data Interchange (20)

การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
Electronic data interchange
Electronic data interchangeElectronic data interchange
Electronic data interchange
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
work3 35
work3 35work3 35
work3 35
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

More from ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

Electronic Data Interchange

  • 1. Electronic Data Interchange (EDI) Tanapat Limsaiprom ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม #TanapatLim 1
  • 2. EDI • EDI ( Electronic Data Interchange ) คืออะไร • EDI คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริษัทคู่ค้าในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ อีกเครื่องหนึ่ง EDI คือ การใช้ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาแทน เอกสารที่เป็น กระดาษเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ต้องอยู่ในรูปแบบมาตรฐานสากลซึ่ง ทุกธุรกิจสามารถแลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ทั่วโลก 2
  • 3. EDI • EDI (Electronic Data Interchange) คือการใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ในการรับส่งเอกสารธุรกิจ • ระหว่างหน่วยงานตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไปที่มีมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับ ร่วมกัน โดยผ่านเครือข่ายสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณดาวเทียม เป็น ต้น หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การใช้สื่อ หรือรูปแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลหรือเอกสารธุรกิจ เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า บัญชีราคาสินค้า ใบ ส่งของ รายงาน ฯลฯ ภายใต้มาตรฐานที่กาหนดไว้ • ระบบที่น่าเชื่อถือคือ ANSI X 12 จะใช้ในอเมริกาและ UN/EDIFACT และ ISO 3
  • 4. ประโยชน์ของ EDI • ประโยชน์หลัก ๆ ของ EDI ต่อธุรกิจ มีดังต่อไปนี้ เพิ่มความถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยา ในการรับ-ส่งเอกสาร ลดงานซ้าซ้อน และลดขั้นตอนการจัดการรับ-ส่งเอกสาร • สามารถนาเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์มากที่สุด • ลดค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสาร เช่น ค่าแสตมป์ ค่าพัสดุไปรษณีย์ และพนักงาน • เพิ่มความรวดเร็วในการทาธุรกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะที่มีการ แข่งขันสูงขึ้น • เพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า 4
  • 5. เอกสารประเภทใดบ้างที่ใช้ EDI • เอกสารประเภทใดบ้างที่ใช้ EDI มาทดแทนได้ • เอกสารทางธุรกิจที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้สามารถทดแทนด้วยเอกสาร EDI ได้ทั้งหมด เช่น • เอกสารทางด้านการจัดซื้อ ได้แก่ ใบสั่งซื้อ (Purchase Order) ใบแจ้งหนี้ (Invoice) ใบเสนอราคา (Quotation) ใบแจ้งราคาสินค้า (Price/Sales Catalogue) เป็นต้น • เอกสารทางด้านการเงินได้แก่ ใบสั่งให้ธนาคารจ่ายเงิน (Payment Order) ใบแจ้ง การสั่งจ่าย (Remittance Advice) เป็นต้น • เอกสารทางด้านการขนส่ง ได้แก่ ใบตราส่ง (Bill of Lading) ใบจองตู้สินค้า (Booking)แผนผังการบรรทุกสินค้าภายในเรือ (Bayplan) ใบสั่งปล่อยสินค้า (Delivery Order) เป็นต้น • เอกสารทางด้านการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ใบขนสินค้า (Customs Declaration) บัญชีตู้สินค้า (Manifest) เป็นต้น 5
  • 6. หน้าที่ของผู้ให้บริการ EDI • หน้าที่ของผู้ให้บริการ EDI หรือที่เรียกกันว่า VAN คืออะไร • ผู้ให้บริการ EDI ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางไปรษณีย์ ในการรับ-ส่งข้อมูล ระหว่างคู่ค้า ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยปกติผู้ ให้บริการ EDI สามารถให้บริการในการรับ-ส่งข้อมูลทั้ง EDI, File Transfer (non-EDI) และ E-mail ความรับผิดชอบหลักของผู้ ให้บริการ EDIนอกจากการรับ-ส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์แล้วยัง ต้องสามารถรักษาความปลอดภัย ของตู้ไปรษณีย์( Mailbox) ของ ลูกค้าแต่ละราย มิให้ผู้อื่นเข้าไปดูข้อมูลได้อีกด้วย 6
  • 7. ขอบเขต EDI • ขอบเขตการให้บริการ EDI กว้างขวางเพียงใด • ท่านสามารถรับ-ส่งเอกสาร EDI ได้ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เราแบ่งผู้ให้บริการEDI หรือที่ เรียกว่า VAN (Value Added Network) เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ • ผู้ให้บริการ EDI ภายในประเทศ (Domestic VAN) เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทย, บริษัทชิน วัตร, บริษัทไทยเทรดเน็ท, และบริษัทเอ็กซิมเน็ท บริษัทเหล่านี้มีศูนย์บริการ (Host) อยู่ในประเทศและ จะให้บริการเครือข่ายภายในประเทศเป็นหลัก • ผู้ให้บริการ EDI ระหว่างประเทศ (International VAN) เช่น IBM , BT , AT&T บริษัท เหล่านี้มีศูนย์บริการ (Host) อยู่ต่างประเทศ และให้บริการเครือข่ายระหว่างประเทศเป็นหลัก ท่านสามารถเลือกใช้บริการของผู้ให้บริการ EDI ตามความเหมาะสมกับการใช้งานในธุรกิจ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่มีเอกสารรับส่งระหว่างประเทศเป็นหลักควรเลือกใช้ผู้ให้บริการ EDI ระหว่างประเทศ ส่วน บริษัทที่มีเอกสารรับส่งภายในประเทศเป็นหลัก ควรใช้บริการของผู้ให้บริการ EDI ภายในประเทศเพราะ ค่าใช้จ่ายจะต่ากว่า • 7
  • 8. VAN (Value Added Network) • เหตุใดจึงต้องใช้บริการของ VAN (Value Added Network) • หลาย ๆ บริษัทอาจคิดว่าควรติดต่อกับคู่ค้าด้วยตนเองมากกว่าการใช้บริการ ของ VANเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นโดยไม่จาเป็นหากแต่ปัญหาที่ต้องประสบ รวมถึงปริมาณงานที่เกิดเพิ่มขึ้นมีดังต่อไปนี้ • การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบ ระหว่างท่านและคู่ค้าซึ่งจะมีความยุ่งยากเพิ่มขึ้น หากท่านมีคู่ค้าเป็นจานวนมาก ต้องบริหารเครือข่ายการสื่อสารด้วยตนเอง โดยท่าน ต้องรับภาระในการดูแลทั้งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ Modems การส่งและรับข้อมูล สายโทรศัพท์ และอื่นๆ • ขาดผู้ชานาญงานในการฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจถึง EDI • ต้องลงทุนสูงทางด้านอุปกรณ์เครือข่าย และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 8
  • 9. EDI กับ E-mail • EDI กับ E-mail แตกต่างกันอย่างไร • E-mail เป็นการส่งข้อความซึ่งไม่มีรูปแบบบังคับเป็นการสื่อสาร ระหว่างบุคคลที่ไม่มีมาตรฐานกาหนดตายตัว ต่างจาก EDI ซึ่งข้อมูล ต้องมีรูปแบบที่แน่นอนภายใต้รูปแบบมาตรฐานสากลเนื่องจากEDI เป็นการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถ นาข้อมูลเข้าสู่ ระบบงานคอมพิวเตอร์ของบริษัทคู่ค้าได้ทันที โดยไม่ต้องมีคนบันทึก ข้อมูล 9
  • 10. ประโยชน์และข้อแตกต่างระหว่างการใช้ EDI • ประโยชน์และข้อแตกต่างระหว่างการใช้ EDI กับ Fax ในการรับ-ส่งเอกสาร • สาหรับผู้รับเอกสารท่านสามารถนาข้อมูล EDI ที่ได้รับมาจากบริษัทคู่ค้าขึ้นสู่ ระบบงานคอมพิวเตอร์ของท่านได้ทันที โดยไม่ต้องทาการบันทึกข้อมูลซ้า ซึ่งเป็นการ ลดระยะเวลาและข้อผิดพลาด แตกต่างจากการรับเอกสารทาง Fax ซึ่งส่วนใหญ่จะ ประสบกับปัญหากระดาษหมด ข้อความไม่ชัดเจน อ่านไม่ได้ อีกทั้งยังไม่มีการ รายงานสถานภาพความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารที่ได้รับสาหรับผู้ส่งเอกสาร ท่าน สามารถนาข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์ของท่าน ผลิตเอกสาร EDI และส่งไปยังคู่ ค้าโดยไม่ต้องมีการใส่ข้อมูลหรือพิมพ์ออกมาในแต่ละครั้งของการส่งหากท่านส่ง เอกสารผ่านเครื่อง Fax โดยทั่วไปเอกสารต้องถูกจัดพิมพ์ออกมาก่อนจะส่งไปยังคู่ ค้าเป็นการเพิ่มทั้งปริมาณงานและปริมาณเอกสารกระดาษที่ใช้ 10
  • 11. อุปกรณ์ที่ต้องจัดเตรียมในการนา EDI • อุปกรณ์ที่ต้องจัดเตรียมในการนา EDI มาใช้ในบริษัท • ระบบ EDI ที่ใช้กันอยู่ทั่วโลกมีอยู่มากมายหลายระบบในที่นี้จะขอ กล่าวถึงอุปกรณ์ที่จาเป็นอย่างน้อยในระบบ EDI ที่ใช้ Personal Computer เป็นตัวกลางในการรับ-ส่งข้อมูล • เครื่อง PC รุ่น 486 ขึ้นไป ที่มีหน่วยความจาอย่างน้อย 4 MB • Translation Software • Modem 11
  • 12. ค่าใช้จ่ายในการนาระบบ EDI • ค่าใช้จ่ายในการนาระบบ EDI มาใช้มีส่วนใดบ้าง • ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบ EDI ไม่รวมถึงค่าอุปกรณ์ (Hardware) โดยทั่วไปจะประกอบด้วย • ค่า Set up Mailbox • ค่า Translation Software • ค่าบารุงรักษา Mailbox รายเดือน • ค่าใช้บริการ (Transaction) โดยปกติคิดจากปริมาณข้อมูลที่รับส่ง (เป็นจานวน บาท ต่อ1024 ตัวอักษร) 12
  • 13. Interconnection • Interconnection หมายถึงอะไร และมีประโยชน์อย่างไร • Interconnection หมายถึงการเชื่อมต่อระบบกันระหว่างผู้ ให้บริการ EDI เพื่ออานวยความสะดวกแก่ลูกค้าให้สามารถติดต่อ รับ- ส่งข้อมูล EDI กับคู่ค้าได้ทั้งหมด โดยเป็นสมาชิกของผู้ให้บริการรายใด รายหนึ่งเท่านั้น ซึ่งนอกจากจะเป็นการอานวยความ สะดวกแล้วยัง ประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วยการ Interconnect อาจทาได้ระหว่างผู้ ให้บริการภายในประเทศ หรือกับผู้ให้บริการ EDI ในต่างประเทศ 13
  • 14. EDI/EDI Web คืออะไร • ในระบบ EDI/EDIWebผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลโดยคียข้อมูลผ่าน โปรแกรม EDI หรือ Web Browser เข้าสู่ระบบเครือข่าย EDI และ คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย EDI ส่งข้อมูลผ่านไปยังผู้รับ ซึ่งผู้รับสามารถอ่าน ข้อมูลได้บนจอคอมพิวเตอร์ผ่านโปรแกรม EDI หรือ Web Browser • รูปแบบการใช้งานของระบบEDI/EDIWeb สาหรับผู้ส่งและผู้รับสามารถ ใช้ Web Browserและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการส่งข้อมูลเข้า เครือข่าย EDI จะเหมาะสมกับบริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางที่ไม่ต้องการเชื่อมโยง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่นระบบบัญชี ระบบคงคลัง ระบบ วางแผนการผลิต เป็นต้น หากผู้รับหรือผู้ส่งใช้โปรแกรม EDI ในการรับส่งข้อมูลจะ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบงานอื่น ๆ ได้ประโยชน์ในการใช้ ระบบ EDI 14
  • 15. ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร • ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร • การแลกเปลี่ยนเอกสารธุรกิจในระบบอีดีไอ มีขั้นตอนการทางาน ระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ส่งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับ ดังนี้ 15
  • 16. ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร • 1. ผู้ส่งเอกสารอีดีไอ (Sending System) • - เริ่มต้นผู้ส่งต้องมีโปรแกรม (In House Application) สาหรับบันทึกข้อมูลของเอกสารต่าง ๆ เช่น invoice ใบขนสินค้า เป็นต้น โปรแกรมนี้ผู้ส่งอาจจะพัฒนาเองหรือซื้อที่เขาพัฒนาเสร็จแล้วก็ได้ • - ผู้ส่งบันทึกรายละเอียดของเอกสารต่าง ๆ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ • - ผู้ส่งตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ของข้อมูลที่บันทึกเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ อีกครั้งก่อนที่จะส่งไปให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับ • - ผู้ส่งสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนส่งข้อมูลไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้รับเมื่อได้รับคาสั่ง เครื่อง คอมพิวเตอร์ของผู้ส่งก็จะทาการคัดแยกข้อมูล ที่ต้องการส่ง (Extracted Data) จากฐานข้อมูล (DB file) ให้อยู่ในรูปที่พร้อมจะถูกแปลงเป็นเอกสารอีดีไอ • - ซอฟแวร์อีดีไอ (Translation Software) จะทาการแปลงข้อมูลที่ต้องการส่งให้อยู่ในรูปของ เอกสารอีดีไอหรือที่เรียกว่าเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น EDIFACT Format • - จากนั้นก็เป็นหน้าที่ของชุดคาสั่งสาหรับการติดต่อสื่อสารข้อมูล (Communication Protocol เช่น VAN Protocol หรืออื่น ๆ) ที่จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ อีดีไอ 16
  • 17. ระบบอีดีไอ ทางานอย่างไร • 2. ผู้ให้บริการอีดีไอ (VANS: Value added Network System) • เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการอีดีไอจะดาเนินการดังต่อไปนี้ • - ตรวจสอบสิทธิการใช้บริการอีดีไอของผู้ส่ง เช่น ตรวจสอบรหัสผ่าน เป็นต้น • - เมื่อได้รับข้อมูลจากผู้ส่งแล้วทาการแปลงข้อมูลจากมาตรฐาตหนึ่ง ไปเป็นอีก มาตรฐานหนึ่งในกรณีที่ผู้ส่ง และผู้รับใช้มาตรฐานอีดีไอ แตกต่าง (Optional) • - ตรวจสอบข้อมูลว่าตรงตามมาตรฐานหรือไม่ (Optional) • - นาเอกสารอีดีไอที่ได้รับจากผู้ส่ง ไปเก็บไว้ใน Mailbox (ตู้ไปรษณีย์) ของ ผู้รับ 17
  • 18. ระบบอีดีไอ ทำงำนอย่ำงไร • 3. ผู้รับเอกสารอีดีไอ (Receiving System) • เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับจะดาเนินการดังต่อไปนี้ • - ผู้รับติดต่อมายังเครื่องของผู้ให้บริการอีดีไอผ่านเครือข่ายสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ เพื่อ รับเอกสารที่อยู่ใน Mailbox ของตน • - อ่านเอกสารอีดีไอ (ในรูป ของ EDIFACT Format) จาก Mailbox ของตน และส่งข้อความตอบรับแจ้งให้ผู้ส่งทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว • - ซอฟแวร์อีดีไอ (Translation Software) จะทาการแปลงเอกสารอีดีไอให้ อยู่ในรูปแบบที่ผู้รับเอาไปใช้งานภายในองค์กรได้ • - เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้รับจะนาข้อมูลที่ผ่านการแปลงเรียบร้อย แล้ว (Deformated data)มาทาการประมวลผล และจัดเก็บลงในฐานข้อมูล (DB file) 18
  • 19. การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์ • การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์ • คณะทางานระบบอีดีไอของกรมศุลกากรได้ออกแบบและพัฒนาเอกสาร ฉบับอิเล้กทรอนิกส์หรือเอกสารอีดีไอ โดยการคัดเลือกเอกสารอีดีไอภายใต้ มาตรฐาน UN/EDIFACT (95B Directory และ 96B Directory) การคัดเลือกประเภทของเอกสารอีดีไอทุกฉบับ กรมศุลกากร ได้พิจารณาถึงความเหมาะสมและปฏิบัติตามข้อแนะนาจากองค์การ ศุลกากรโลกซึ่งในปัจจุบันนี้องค์การศุลกากรโลกมีประเทศสมาชิกมากกว่า 140ประเทศและประเทศสมาชิกทั้งหลายก็ได้ให้ความร่วมมือตามที่ องค์การศุลกากรโลกร้องขอเพื่อให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออีดีไอสาหรับ ด้านการค้าระหว่างประเทศมีมาตรฐานเดียวกัน 19
  • 20. • ดังนั้นเพื่อให้ได้เอกสารอีดีไอมีมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับ กติกาของสากล สภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (สลท.) จึงได้จัดตั้งคณะทางานด้านศุลกากรประกอบด้วยผู้แทนจาก หน่วยงานหลักต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ คือ กรมศุลกากร การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ NECTEC บริษัทการบินไทยTAGS, TAFA และ FIFFA เพื่อทา หน้าที่หลักในการกากับดูแล พิจารณารับรองเอกสารอีดีไอที่ผ่านการ รับรองแล้วเพื่อใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันสาหรับธุรกิจด้านการค้า ระหว่างประเทศ การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 20
  • 21. • เพื่อให้ได้เอกสารอีดีไอมีมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้องกับกติกาของ สากล สภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (สลท.) จึง ได้จัดตั้งคณะทางานด้านศุลกากรประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงาน หลักต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ คือ กรม ศุลกากร การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ NECTEC บริษัทการบินไทยTAGS, TAFA และ FIFFA เพื่อทาหน้าที่หลักใน การกากับดูแล พิจารณารับรองเอกสารอีดีไอที่ผ่านการรับรองแล้วเพื่อ ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันสาหรับธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเอกสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 21
  • 22. อีดีไอกับการบริหารงานศุลกากร • เอกสารธุรกิจสาหรับการใช้ระบบอีดีไอกับการบริหารงานศุลกากร • กรมศุลกากรได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการใช้ระบบอีดีไอสาหรับการบริหารงาน ศุลกากรแบบครบวงจรทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ เอกสารธุรกิจประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในการรับและส่งกันระหว่างกรมศุลกากรและผู้ประกอบการค้าตลอดจนหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จะถูกพัฒนาเข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด โดยรวมถึงเอกสารดังต่อไปนี้ • - การรับส่งเอกสารใบขนสินค้าและบัญชีราคาสินค้าระหว่างกรมศุลกากร ผู้นาเข้า ผู้ส่งออก และตัวแทนออกของ • - การรับส่งเอกสารบัญชีสินค้าระหว่างกรมศุลกากร บริษัทตัวแทนเรือและบริษัทตัวแทนสาย การบินต่าง ๆ • - การรับส่งเอกสารการชาระเงินค่าภาษีอากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ด้วยระบบ Electronic Funds Transfer(EFT) 22
  • 23. มาตรฐานอีดีไอ • 2. มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออีดีไอ • มาตรฐานอีดีไอ • กรมศุลกากรเลือกใช้มาตรฐาน "UN/EDIFACT" เป็นมาตรฐาน สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างกรมศุลกากรและ ผู้ประกอบการค้า ตลอดจนหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน UN/EDIFACT เป็นมาตรฐาน สากลอันเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันและเป็นมาตรฐานอีดี ไอที่ได้รับการสนับสนุนจากสภาแลกเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศ ไทย (สลท.) และสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) โดย องค์กรดังกล่าวได้ให้การรับรองมาตรฐาน UN/EDIACT เป็นมาตรฐานอี ดีไอสาหรับใช้ในประเทศไทย 23
  • 24. มาตรฐานอีดีไอ • สาหรับผู้ประกอบการค้าใช้มาตรฐานอีดีไอแตกต่างจากกรมศุลกากร เช่น มาตรฐาน ANSI X.12, TDCC และ Cargo Imp เป็นต้น ผู้ประกอบการค้าจะต้องทาการแปลงมาตรฐานเอกสารอีดีไอให้เป็น มาตรฐาน UN/EDIFACTก่อนการส่งให้แก่กรมศุลกากร ในกรณีที่ ผู้ประกอบการค้าไม่พร้อมที่จะทาการแปลงมาตรฐานเอกสารอีดีไอได้ เอง ผู้ประกอบการค้าก็สามารถขอใช้บริการการแปลงมาตรฐานเอกสาร อีดีดไอได้จากบริษัทผู้ให้บริการอีดีไอที่องค์กรของตนเลือกใช้บริการได้ รายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขและความพร้อมของการให้บริการดังกล่าว ข้างต้น ให้ผู้ประกอบการค้าสอบถามได้จากบริษัทผู้ให้บริการอีดีไอ โดยตรง 24
  • 25. เอกสารอีดีไอ คณะทางานด้านศุลกากรได้รับรองเอกสารอีดีไอจานวน 6 ฉบับเรียบร้อยแล้ว โดย มีรายละเอียดของเอกสารอีดีไอดังกล่าว ประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้ 1. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งใบขนสินค้าขาออก (General Customs Declaration Message on Export) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ตัวแทน ออกของ/ผู้ส่งออกส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกให้แก่กรมศุลกากร 2. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งบัญชีราคาสินค้า (Commercial Invoice Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ตัวแทนออกของ/ผู้ส่งออกส่งข้อมูลบัญชี ราคาสินค้าให้แก่กรมศุลกากร 3. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่งบัญชีสินค้า (Air Cargo Manifest Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้บริการตัวแทนสายการบินส่งข้อมูลบัญชี สินค้าให้แก่กรมศุลกากร 25
  • 26. เอกสารอีดีไอที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร • กรมศุลกากรได้คัดเลือกเอกสารอีดีไอฉบับหลักๆเกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร และจะใช้เอกสารเหล่านี้เป็นฐานในการ ออกแบบและพัฒนาเอกสารอีดีไอสาหรับใช้ ในธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศสาหรับใช้ในประเทศไทยเอกสารอีดีไอ ที่ได้ผ่านการพิจารณาความเหมาะสมแล้วประกอบด้วย • - CUSCAR หรือ Customs Cargo Report Message คือเอกสารอี ดีไอสาหรับการส่งบัญชีสินค้า • - CUSDEC หรือ Customs Declaration Message คือเอกสารอีดีไอ สาหรับใบขนสินค้า • - CUSRES หรือ Customs Response Message คือเอกสารอีดีไอ สาหรับใช้ในการตอบรับการส่งเอกสารอีดีไอประเภทต่าง ๆ • - CUSREP หรือ Customs Conveyance Report Message คือ เอกสารอีดีไอสาหรับใช้ในการรายงานยวดยานเข้าออกจากเขตศุลกากร 26
  • 27. เอกสารอีดีไอที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานศุลกากร • - PAXLST หรือ Passenger List Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้ในการส่ง บัญชีผู้โดยสาร • - CUSEXP หรือ Customs Express Consignment Declaration Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้กับสินค้าเร่งด่วน • - REMADV หรือ Remittance Advice Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้ กับการชาระและจ่ายเงินค่าภาษีอากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ • - GOVREG หรือ Government Regulatory Message คือเอกสารอีดีไอ สาหรับใช้กับกฎระเบียบต่าง ๆ ของทางราชการ • - INVOICE หรือ Invoice Message คือเอกสารอีดีไอสาหรับใช้กับการส่งบัญชี ราคาสินค้า อย่างไรก็ตามเอกสารอีดีไอดังกล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงเอกสารอีดีไอฉบับหลัก ๆ เท่านั้นที่กรมศุลกากรจะต้องนามาพิจารณาคัดเลือกรายละเอียดในเนื้อหาของเอกสารอีดี ไอแต่ละฉบับใหม่ เพื่อความเหมาะสมสาหรับการใช้งานในประเทศไทยและอาจจะมีการ เลือกใช้และหรือพัฒนาเอกสารอีดีไอเพิ่มเติมขึ้นจากที่กล่าวมาข้างต้นได้ในอนาคต 27
  • 28. เอกสำรอีดีไอ 4. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่ง Air Waybill (Air Waybill Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้ Freight Forwarder ส่งข้อมูลเกี่ยวกับ Air Waybill ให้แก่กรมศุลกากร 5. เอกสารอีดีไอสาหรับการส่ง Vessel/Flight Schedules (Vessel and flight Schedule Message) เป็นเอกสารอีดีไอสาหรับให้บริษัท ตัวแทนเรือ/บริษัทตัวแทนสายการบินส่งข้อมูลเกี่ยวกับแผนการเดินทางเข้าออกของ เรือ/อากาศยาน 6. เอกสารอีดีไอสาหรับการตอบรับการส่งข้อมูล (Customs Response Message) เป็นเอกสารอีดีไอที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะแจ้งกลับไป ให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ประกอบการค้าที่ใช้ระบบ อีดีไอทราบผลของการส่ง ข้อมูลและสิ่งที่ผู้ประกอบการค้าจะต้องดาเนินการต่อไปอย่างไรบ้าง เอกสารอีดีไอ ฉบับนี้จะใช้สาหรับการตอบรับการส่งเอกสารอีดีไอทุกฉบับ 28