SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต
และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทาผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่
การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต แม้กระทั่งซื้อขาย
ออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาท
ของความสาคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า
ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้น
จึงลดข้อจากัดของระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ให้ความหมาย ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่าเป็น ธุรกรรมที่กระทาขึ้น
โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้า
โอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทาให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และ
ติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบ
โทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทาให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และ
สามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทาให้สามารถเสนอ
ธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินค้า
การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาคุ้มครองเรื่องความปลอดภัย และยังมีกฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่
เข้ามาให้ความคุ้มครองด้วยในเรื่องของการเงิน
วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ระบบโอน
เงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะนั้นมี
เพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI =
Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที่เป็นข้อมูลทาง
การเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงิน
กับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น
หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ใน
การซื้อขายหุ้นจนไปถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของ
การสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้
อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น เหตุผลที่ทาให้ระบบ
การค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ
การพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537 –
2542 ก็ถือได้ว่าระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยม
อย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ความสาคัญและเข้า
ร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
.
ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI)
เป็นยุคที่เทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดย
ส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่งเอกสารโดยพนักงานส่งสาร
หรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือ
องค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูก
กาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกที่นาระบบนี้มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT
(Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของ
เอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า
ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้นบริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Data Interchange : EDI) เป็นองค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ
ทั้งภาครัฐ ซึ่งได้ แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย
และกรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ในภาคเอกชน
ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI
1.ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร
2.ลดเวลาทางานในการป้อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลดข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน
3.เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
4.ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร
5.แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวล
ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ยุคของอินเทอร์เน็ตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วเข้าถึงการซื้อขายในระดับของผู้บริโภค
ทั่วๆ ไปมีคอมพิวเตอร์และต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้มี
โปรแกรมรองรับที่ดีมากยิ่งขึ้นเช่น browserค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานมีต้นทุนที่
ถูกลง โปรแกรมสาหรับดูข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบ่งได้ตามความสัมพันธ์ทางการตลาด (market relationships) ระหว่าง
ผู้ซื้อและผู้ขายได้ 3 รูปแบบดังต่อไปนี้
แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business)
แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer)
แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer)
รูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ
ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริการแก่ผู้ประกอบการด้วยกัน โดยอาจเป็น
ผู้ประกอบการในระดับเดียวกัน หรือระดับต่างกันก็ได้ เช่น ผู้ผลิตกับผู้ผลิต
ผู้ผลิตกับผู้ส่งออก ผู้ผลิตกับผู้นาเข้า ผู้ผลิตกับผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก เป็นต้น
การทาธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเอง การซื้อ
ขายจะเป็นปริมาณมากและมีราคาสูงพอสมควรมักพบในตลาดกลางที่เรียกว่า E-
marketplace ตัวอย่างเช่น pantavanij, tradepointthailand,
worldbidthailand
- การทาการค้าระหว่าง Business กับ Business หรือ ผู้ทาการค้ากับผู้ทา
การค้า เช่น ร้านขายหนังสือสั่งหนังสือจากโรงพิมพ์
ขั้นตอนของการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตแบบ B to B มี 5 ขั้นตอน คือ
• การเลือกและการต่อรอง
• การซื้อสินค้า/บริการทางอินเทอร์เน็ต
• การจัดส่งสินค้า/บริการ
• การบริการหลังการขาย
เป็นการค้าปลีกระหว่างบุคคลทั่วไป หรือระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ตด้วยกัน อาจจะเป็นการขาย
สินค้าหรือเครื่องใช้ที่ใช้งานแล้ว เช่น การขายโทรศัพท์ การขายแสตมป์ การขายของที่
ระลึก เป็นต้น รวมทั้งการขายซอฟต์แวร์ด้วย ซึ่งปัจจุบันมีเป็นจานวนมากที่เปิดเว็บไซต์มา
เพื่อขายซอฟต์แวร์ที่ตนเองพัฒนาขึ้น เรื่องการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคนั้น มี
หลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ในกลุ่มคนที่มี
การบริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทาการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสองเป็นต้น
แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer)
เป็นการค้าปลีกไปยังผู้บริโภคทั่วโลก หรือภายในท้องถิ่น ของตน จากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค จาก
พ่อค้าขายส่งไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งปริมาณการขายจะมีปริมาณปานกลาง หรือพอประมาณ ในส่วนนี้
รวมการค้าแบบล็อตใหญ่ หรือเหมาโหล หรือการค้าส่ง ขนาดย่อยไว้ด้วย ซึ่งการชาระเงินโดย
ส่วนใหญ่จะเป็นการชาระผ่านทางระบบบัตรเครดิต แต่อย่างไรก็ตามการค้าแบบ B-to-C นี้ก็มัก
ทาให้เกิดการค้าแบบ B-to-B ในอนาคตได้ และหลายบริษัทมักทากิจกรรมสองอย่างนี้ในคราว
เดียวกัน หรือเป็นการทาธุรกรรมกันระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
เช่นการจองที่พักโรงแรม เสื้อผ้า
แอพพลิเคชั่นของการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบบ B to C
• ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
• การโฆษณา
• แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic catalog)
• ธนาคารไซเบอร์ (Cyberbanking) หรือ Electronic banking หรือ Virtual bangking
• ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market)
• การท่องเที่ยว
• อสังหาริมทรัพย์
• การประมูล (Auctions)
แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer)
ขั้นตอนการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง
 ไม่เหมือนคนอื่นทาให้น่าสนใจได้ดีกว่า
 มีคาวิจารณ์หรือ review สินค้าจากผู้ใช้คนอื่น รวมถึง
 สร้างระบบค้นหาสินค้าที่ใกล้เคียงกัน เช่น เว็บขายสินค้าประเภทหนังสือ
 ใช้คอมพิวเตอร์จาลองภาพสามมิติให้เห็นรูปลักษณ์หรือสเป็คภายใน
เช่น เว็บเกี่ยวกับรถยนต์
 สร้างระบบช่วยเลือกรุ่น แบบ อุปกรณ์อื่นให้ลูกค้า เช่น เว็บขาย
 คอมพิวเตอร์ประกอบ
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
- ลงประกาศตามกระดานข่าว
- กระดานข่าวเป็นลักษณะของโปรแกรมบนเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ
สร้างประเด็นเนื้อหาเฉพาะกลุ่ม
- สามารถทาได้ฟรี หรือหากมีอาจเสียค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อย
- นิยมพิมพ์เป็นข้อความ (text) บอกถึงคุณสมบัติของสินค้าหรือบริการอย่างคร่าวๆ โดยผู้
ให้บริการบางรายอาจยินยอมให้เผยแพร่รูปภาพตัวอย่างได้
- จัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์
- การเอารูปภาพบ่งบอกความหมายและอธิบายแนวคิดบางอย่างของตัวสินค้ามาสร้าง banner
- พบเห็นได้หลายชนิด เช่น แบบยาวที่ติดตั้งไว้ส่วนบนและส่วนล่างของหน้าเว็บเพจ หรือ
แบบเล็กๆ ที่ติดไว้ส่วนกลางหรือด้านข้างของตัวเว็บ
- ใช้เทคนิคแปลกๆเหมือนกับการสร้างป้ายโฆษณาจริง
- อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการลงโฆษณาผ่านกระดานข่าว
- สร้างโฆษณาผ่านอีเมล์
- อาศัยการสร้างข้อความเอกสารคล้ายๆกับแผ่นพับหรือโบรชัวร์เพื่อแจ้งข่าวสาร
- ผู้ขายสินค้าจะรวบรวมรายชื่ออีเมล์ลูกค้าจานวนมากและทาการส่งออกไปเป็นเอกสารเว็บใน
คราวเดียวกัน
- อาจได้ผลไม่ดีนัก หากเป็นการส่งจดหมายโฆษณาสินค้าที่มีความถี่หรือบ่อยเกินไป
- เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ
- วิธีที่มีการใช้งานกันมาอย่างยาวนานและอาจให้ผลดีเช่นเดียวกัน
- พบเห็นได้กับการเผยแพร่ผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื่ออื่นๆ
- การใช้ภาพ สีสัน หรือข้อความมีการกระตุ้นให้เกิดความต้องการ ซื้อสินค้าหรือบริการ
- อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าแบบอื่นๆ
ขั้นตอนที่ 2 : การโฆษณาเผยแพร่หรือให้ข้อมูล
 ประกอบด้วยการทารายการสั่งซื้อหรือorder
 บางแห่งมีระบบที่เรียกว่า รถเข็นสินค้า (shopping cart)
 รองรับการชาระเงินหลายๆแบบ ที่นิยมมากเช่น บัตรเครดิต
 เพื่อให้ระบบน่าเชื่อถือ อาจต้องเข้ารหัสข้อมูลที่รับส่งด้วย
 ตัวอย่างตัวกลางรับชาระเงินด้วยบัตรเครดิต
ขั้นตอนที่ 3 : การทารายการซื้อขาย
สินค้าที่จะจัดส่งได้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. สินค้าที่จับต้องได้ (hard goods)
- สินค้าที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีตัวตนและจับต้องได้ เช่น หนังสือ เสื้อผ้า รองเท้า
เครื่องประดับ สินค้าหัตถกรรม
- อาศัยวิธีการส่งสินค้าตามปกติทั่วไป เช่น ระบบไปรษณีย์ ทางเรือ อากาศ
- มีผู้ให้บริการหลายราย เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทยหรือ กสท. (ถูกและประหยัด)
- หากต้องการเร่งด่วนและเร็ว อาจเลือกใช้ผู้ให้บริการรายอื่น เช่น FedEX, DHL หรือ UPS
2.สินค้าที่จับต้องไม่ได้ (soft goods)
- เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข้อมูลข่าวสาร เพลง รูปภาพ เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ หรือ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- อาจใช้วิธีให้ลูกค้าดาวน์โหลด เช่น ซอฟท์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ เพลง หรือไฟล์ภาพ
- ผู้ขายอาจมีการจากัดจานวนครั้งในการดาวน์โหลด
- สินค้าบางอย่างอาจให้ดาวน์โหลดได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้นซึ่งอาจมีค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บเพิ่ม
- หากไฟล์มีขนาดใหญ่มาก บางรายอาจทาเป็นแผ่น CD และส่งทางไปรษณีย์แทนได้
ขั้นตอนที่ 4 : การส่งมอบสินค้า
ขั้นตอนที่ 5 : การบริการหลังการขาย
- นิยมใช้กับสินค้าที่มีขั้นตอนการใช้ที่ยุ่งยาก ซับซ้อน
- ไม่สามารถทาความเข้าใจได้โดยทันที
- ช่วยแก้ไขปัญหาเบื้องต้นให้กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี
- ทาได้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์บริการลูกค้าหรือ call center
- บริษัทอาจสร้างระบบปัญหาถามบ่อยหรือ FAQ (Frequency Ask Question)
ตัวอย่างระบบปัญหาถามบ่อย (FAQ)
กีดานันท์ แซ่เกา ม.6/2 เลขที่ 35

More Related Content

What's hot

อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfcilcil777
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commercebootbeet
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
Ch06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chainsCh06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chainsWarawut
 

What's hot (18)

Work3-03
Work3-03Work3-03
Work3-03
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
M commerce (power point)
M commerce (power point)M commerce (power point)
M commerce (power point)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commerce
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern TradeChapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
 
B2 b and e auction
B2 b and e auctionB2 b and e auction
B2 b and e auction
 
Ch06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chainsCh06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chains
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
2.1
2.12.1
2.1
 
it-12-12
it-12-12it-12-12
it-12-12
 

Similar to Work3-35

ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25Mind Sirivimol
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12Min Jidapa
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12bellzajung
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12katuckkt
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการnoopalm
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนJirang Kumnuanta
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์cilcil777
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankSukanya Benjavanich
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedSuton Rojanusorn
 
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15Sivakorn Pratoomphithak
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Chanpen Thawornsak
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 

Similar to Work3-35 (19)

work3-02
work3-02work3-02
work3-02
 
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
ใบงานที่ 4 สิริวิมล มีทอง มีทอง ม.5 1 เลขที่ 25
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
work3 35
work3 35work3 35
work3 35
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
 
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 

Work3-35

  • 1. ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทาผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต แม้กระทั่งซื้อขาย ออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาท ของความสาคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้น จึงลดข้อจากัดของระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้ ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ให้ความหมาย ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่าเป็น ธุรกรรมที่กระทาขึ้น โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้า โอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทาให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และ ติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบ โทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทาให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และ สามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทาให้สามารถเสนอ ธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาคุ้มครองเรื่องความปลอดภัย และยังมีกฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ เข้ามาให้ความคุ้มครองด้วยในเรื่องของการเงิน
  • 2. วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ระบบโอน เงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะนั้นมี เพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที่เป็นข้อมูลทาง การเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงิน กับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ใน การซื้อขายหุ้นจนไปถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของ การสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น เหตุผลที่ทาให้ระบบ การค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ การพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537 – 2542 ก็ถือได้ว่าระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยม อย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ความสาคัญและเข้า ร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
  • 3. . ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) เป็นยุคที่เทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดย ส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่งเอกสารโดยพนักงานส่งสาร หรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือ องค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูก กาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกที่นาระบบนี้มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของ เอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้นบริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็นองค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ซึ่งได้ แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย และกรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ในภาคเอกชน ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI 1.ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร 2.ลดเวลาทางานในการป้อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลดข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน 3.เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร 4.ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร 5.แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวล
  • 4. ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ยุคของอินเทอร์เน็ตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วเข้าถึงการซื้อขายในระดับของผู้บริโภค ทั่วๆ ไปมีคอมพิวเตอร์และต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้มี โปรแกรมรองรับที่ดีมากยิ่งขึ้นเช่น browserค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานมีต้นทุนที่ ถูกลง โปรแกรมสาหรับดูข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
  • 5. รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบ่งได้ตามความสัมพันธ์ทางการตลาด (market relationships) ระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขายได้ 3 รูปแบบดังต่อไปนี้ แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business-to-Business) แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer) แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C : Business-to-Consumer)
  • 6. รูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริการแก่ผู้ประกอบการด้วยกัน โดยอาจเป็น ผู้ประกอบการในระดับเดียวกัน หรือระดับต่างกันก็ได้ เช่น ผู้ผลิตกับผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้ส่งออก ผู้ผลิตกับผู้นาเข้า ผู้ผลิตกับผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก เป็นต้น การทาธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ดาเนินธุรกิจด้วยกันเอง การซื้อ ขายจะเป็นปริมาณมากและมีราคาสูงพอสมควรมักพบในตลาดกลางที่เรียกว่า E- marketplace ตัวอย่างเช่น pantavanij, tradepointthailand, worldbidthailand - การทาการค้าระหว่าง Business กับ Business หรือ ผู้ทาการค้ากับผู้ทา การค้า เช่น ร้านขายหนังสือสั่งหนังสือจากโรงพิมพ์ ขั้นตอนของการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตแบบ B to B มี 5 ขั้นตอน คือ • การเลือกและการต่อรอง • การซื้อสินค้า/บริการทางอินเทอร์เน็ต • การจัดส่งสินค้า/บริการ • การบริการหลังการขาย
  • 7. เป็นการค้าปลีกระหว่างบุคคลทั่วไป หรือระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ตด้วยกัน อาจจะเป็นการขาย สินค้าหรือเครื่องใช้ที่ใช้งานแล้ว เช่น การขายโทรศัพท์ การขายแสตมป์ การขายของที่ ระลึก เป็นต้น รวมทั้งการขายซอฟต์แวร์ด้วย ซึ่งปัจจุบันมีเป็นจานวนมากที่เปิดเว็บไซต์มา เพื่อขายซอฟต์แวร์ที่ตนเองพัฒนาขึ้น เรื่องการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคนั้น มี หลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ในกลุ่มคนที่มี การบริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทาการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสองเป็นต้น แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C : Consumer-to-Consumer)
  • 8. เป็นการค้าปลีกไปยังผู้บริโภคทั่วโลก หรือภายในท้องถิ่น ของตน จากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค จาก พ่อค้าขายส่งไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งปริมาณการขายจะมีปริมาณปานกลาง หรือพอประมาณ ในส่วนนี้ รวมการค้าแบบล็อตใหญ่ หรือเหมาโหล หรือการค้าส่ง ขนาดย่อยไว้ด้วย ซึ่งการชาระเงินโดย ส่วนใหญ่จะเป็นการชาระผ่านทางระบบบัตรเครดิต แต่อย่างไรก็ตามการค้าแบบ B-to-C นี้ก็มัก ทาให้เกิดการค้าแบบ B-to-B ในอนาคตได้ และหลายบริษัทมักทากิจกรรมสองอย่างนี้ในคราว เดียวกัน หรือเป็นการทาธุรกรรมกันระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง เช่นการจองที่พักโรงแรม เสื้อผ้า แอพพลิเคชั่นของการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบบ B to C • ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing) • การโฆษณา • แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic catalog) • ธนาคารไซเบอร์ (Cyberbanking) หรือ Electronic banking หรือ Virtual bangking • ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market) • การท่องเที่ยว • อสังหาริมทรัพย์ • การประมูล (Auctions) แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer)
  • 10.  ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง  ไม่เหมือนคนอื่นทาให้น่าสนใจได้ดีกว่า  มีคาวิจารณ์หรือ review สินค้าจากผู้ใช้คนอื่น รวมถึง  สร้างระบบค้นหาสินค้าที่ใกล้เคียงกัน เช่น เว็บขายสินค้าประเภทหนังสือ  ใช้คอมพิวเตอร์จาลองภาพสามมิติให้เห็นรูปลักษณ์หรือสเป็คภายใน เช่น เว็บเกี่ยวกับรถยนต์  สร้างระบบช่วยเลือกรุ่น แบบ อุปกรณ์อื่นให้ลูกค้า เช่น เว็บขาย  คอมพิวเตอร์ประกอบ ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
  • 11. - ลงประกาศตามกระดานข่าว - กระดานข่าวเป็นลักษณะของโปรแกรมบนเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ สร้างประเด็นเนื้อหาเฉพาะกลุ่ม - สามารถทาได้ฟรี หรือหากมีอาจเสียค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อย - นิยมพิมพ์เป็นข้อความ (text) บอกถึงคุณสมบัติของสินค้าหรือบริการอย่างคร่าวๆ โดยผู้ ให้บริการบางรายอาจยินยอมให้เผยแพร่รูปภาพตัวอย่างได้ - จัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์ - การเอารูปภาพบ่งบอกความหมายและอธิบายแนวคิดบางอย่างของตัวสินค้ามาสร้าง banner - พบเห็นได้หลายชนิด เช่น แบบยาวที่ติดตั้งไว้ส่วนบนและส่วนล่างของหน้าเว็บเพจ หรือ แบบเล็กๆ ที่ติดไว้ส่วนกลางหรือด้านข้างของตัวเว็บ - ใช้เทคนิคแปลกๆเหมือนกับการสร้างป้ายโฆษณาจริง - อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการลงโฆษณาผ่านกระดานข่าว - สร้างโฆษณาผ่านอีเมล์ - อาศัยการสร้างข้อความเอกสารคล้ายๆกับแผ่นพับหรือโบรชัวร์เพื่อแจ้งข่าวสาร - ผู้ขายสินค้าจะรวบรวมรายชื่ออีเมล์ลูกค้าจานวนมากและทาการส่งออกไปเป็นเอกสารเว็บใน คราวเดียวกัน - อาจได้ผลไม่ดีนัก หากเป็นการส่งจดหมายโฆษณาสินค้าที่มีความถี่หรือบ่อยเกินไป - เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ - วิธีที่มีการใช้งานกันมาอย่างยาวนานและอาจให้ผลดีเช่นเดียวกัน - พบเห็นได้กับการเผยแพร่ผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื่ออื่นๆ - การใช้ภาพ สีสัน หรือข้อความมีการกระตุ้นให้เกิดความต้องการ ซื้อสินค้าหรือบริการ - อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าแบบอื่นๆ ขั้นตอนที่ 2 : การโฆษณาเผยแพร่หรือให้ข้อมูล
  • 12.  ประกอบด้วยการทารายการสั่งซื้อหรือorder  บางแห่งมีระบบที่เรียกว่า รถเข็นสินค้า (shopping cart)  รองรับการชาระเงินหลายๆแบบ ที่นิยมมากเช่น บัตรเครดิต  เพื่อให้ระบบน่าเชื่อถือ อาจต้องเข้ารหัสข้อมูลที่รับส่งด้วย  ตัวอย่างตัวกลางรับชาระเงินด้วยบัตรเครดิต ขั้นตอนที่ 3 : การทารายการซื้อขาย
  • 13. สินค้าที่จะจัดส่งได้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. สินค้าที่จับต้องได้ (hard goods) - สินค้าที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีตัวตนและจับต้องได้ เช่น หนังสือ เสื้อผ้า รองเท้า เครื่องประดับ สินค้าหัตถกรรม - อาศัยวิธีการส่งสินค้าตามปกติทั่วไป เช่น ระบบไปรษณีย์ ทางเรือ อากาศ - มีผู้ให้บริการหลายราย เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทยหรือ กสท. (ถูกและประหยัด) - หากต้องการเร่งด่วนและเร็ว อาจเลือกใช้ผู้ให้บริการรายอื่น เช่น FedEX, DHL หรือ UPS 2.สินค้าที่จับต้องไม่ได้ (soft goods) - เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข้อมูลข่าวสาร เพลง รูปภาพ เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ - อาจใช้วิธีให้ลูกค้าดาวน์โหลด เช่น ซอฟท์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ เพลง หรือไฟล์ภาพ - ผู้ขายอาจมีการจากัดจานวนครั้งในการดาวน์โหลด - สินค้าบางอย่างอาจให้ดาวน์โหลดได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้นซึ่งอาจมีค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บเพิ่ม - หากไฟล์มีขนาดใหญ่มาก บางรายอาจทาเป็นแผ่น CD และส่งทางไปรษณีย์แทนได้ ขั้นตอนที่ 4 : การส่งมอบสินค้า
  • 14. ขั้นตอนที่ 5 : การบริการหลังการขาย - นิยมใช้กับสินค้าที่มีขั้นตอนการใช้ที่ยุ่งยาก ซับซ้อน - ไม่สามารถทาความเข้าใจได้โดยทันที - ช่วยแก้ไขปัญหาเบื้องต้นให้กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี - ทาได้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์บริการลูกค้าหรือ call center - บริษัทอาจสร้างระบบปัญหาถามบ่อยหรือ FAQ (Frequency Ask Question) ตัวอย่างระบบปัญหาถามบ่อย (FAQ) กีดานันท์ แซ่เกา ม.6/2 เลขที่ 35