SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยคาสองคาคือสารสนเทศ
และเทคโนโลยีมาจากภาษาอังกฤษว่า Information Technology
ซึ่งก็ประกอบด้วยคาสองคาคือ Information และ Technology
ทาให้บ่อยครั้งที่เรามักจะเรียกทับศัพท์เป็นคาย่อว่า ไอที จากคาย่อ
ภาษาอังกฤษ IT (ไพรัช ธัชยพงษ์, 2540: 1)
สารสนเทศ+เทคโนโลยี = เทคโนโลยีสารสนเทศ
Information + Technology = Information Technology
ความหมายของคาว่า “เทคโนโลยี
เดล (Dale 1969) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีประกอบด้วยผลรวมของการ
ทดลอง เครื่องมือ และกระบวนการ ซึ่งสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เกิดจากการเรียนรู้ ทดลอง และ
ได้รับการปรับปรุงแก้ไขมาแล้ว
เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต (2528) กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีคือวิธีการหรือเทคนิคทาง
วิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการดาเนินการต่างๆเพื่อให้บรรลุผล
ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้วิชาการรวม
กับความรู้วิธีการ และความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบัติภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดย
ปกติเทคโนโลยีนั้นมีความรู้วิทยาศาสตร์รวมอยู่ด้วย นั้นคือ วิทยาศาสตร์เป็นความรู้
เทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ จึงมักนิยมใช้สองคาด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เพื่อเน้นให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างนี้ ต้องควบคู่กันไปจึงจะมีประสิทธิภาพสูง
จากความหมายดังกล่าวพอจะสรุปได้ว่า
“เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์ความรู้
ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการทางานและการ
ดารงชีวิต โดยการศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เข้าใจถึงลักษณะ
ธรรมชาติกฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้เกิด
ประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นคาที่มีความหมายกว้างและพบเห็นได้อยู่
ตลอดเวลาในสังคมปัจจุบัน”
ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ”
ไพรัช ธัชยพงษ์ (2540) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ ภาษา ข้อมูล ข่าวสาร
และความรู้ที่อยู่คู่กับมนุษย์มาเป็นเวลาช้านาน มีประโยชน์ในการสื่อความหมาย
ระหว่างคนในชาติเดียวกัน และต่างชาติต่างภาษากัน
พัชรี เชยจรรยา (2541) ได้ให้ความหมายของคาว่าสารสนเทศว่าคือ
ข้อมูลต่างๆที่ได้มีการประมวลผลมาแล้ว หรือเก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆเช่น การ
ใช้ถ้อยคาในการพูด การเขียน ภาพเขียน ไมโครฟิล์ม แผ่นดิสคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
กล่าวอีกนัยหนึ่ง ก็คือมีการบันทึกไว้ในสื่อ
หรือทรัพยากรสารสนเทศบางชนิดซึ่งบุคคลสามารถรับรู้ด้วยวิธีหนึ่งเพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ตามต้องการ
จากความหมายดังกล่าวข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อเท็จจริง ความรู้ ข่าวสาร ข้อมูล
และความคิดต่างๆ ที่ได้มีการสื่อสาร บันทึก จัดพิมพ์ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ
ที่เป็น ประโยชน์ต่อ การดา เนินชีวิตของมนุษย์ ข้อมูลเหล่านี้ ได้มาจากสื่อต่าง ๆ
เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมทั้งเกิดขึ้นในการสื่อสาร
ระหว่างบุคคล
ความหมายหมายของ “เทคโนโลยีสารสนเทศ”
ซอร์โคซีย์ (Zorkoczy 1984) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การ
กระทาโดยอัตโนมัติเพื่อรวบรวม จัดเก็บประมวลผล จัดจาหน่าย และใช้สารสารเทศ
โดยไม่จากัดขอบเขตไว้ที่ฮาร์ตแวร์หรือซอฟต์แวร์แต่เน้นความสาคัญไปที่มนุษย์ใน
ฐานะที่เป็นผู้ใช้ผู้สร้าง ผู้ควบคุม และผู้แสวงหาผลประโยชน์จากเทคโนโลยี
(ครรชิต มาลัยวงศ์, 2540) เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ ประมวลผล และเผยแพร่สารสนเทศซึ่งรวมแล้วคือ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
จากความหมายดังกล่าวข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT)
การนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเก็บและประมวลผลข้อมูล มาใช้
ร่วมกับเทคโนโลยีการสื่อสารที่เป็นระบบทาให้สามารถรับ ส่ง และจัดการ
ข้อมูลได้ถูกต้อง อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์
องค์ประกอบเทคโนโลยีสารสนเทศ
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี (2550 : 79) ได้ให้ให้ขอบเขตขององค์ประกอบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ว่าประกอบไว้ด้วย
1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ซึ่งประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์)
1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์
รวมถึงสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล ได้แก่ 1.อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Device)
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) 3.หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
4.หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) 5.อุปกรณ์ที่แสดงผล (Output Device)
1.2 ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นชุดคาสั่ง
ที่ควบคุมการทางานในส่วนของฮาร์ดแวร์
2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (ปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้ใช้งาน
ร่วมกันจนกลายมาเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ซึ่งเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด คือ อินเทอร์เน็ต (Internet)
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่นามาใช้ประโยชน์ในด้านการรับ-ส่ง
สารสนเทศ ที่เป็นช่องทางการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องให้สามารถ
ติดต่อสื่อสารถึงกันได้ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ สื่อกลางที่ใช้ในการรับ-ส่งข้อมูล
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่จาเป็นในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับ
สื่อกลางให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลกันได้
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชุน เทียมทินกฤต (2538) ได้จัดแบ่งประเภทของเทคโนโลยี
สารสนเทศตามความสาคัญ นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถ
จาแนกตามลักษณะการใช้งานได้ 6 ลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ
3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล
4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร
6. เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพ
ทางอากาศ, กล้องดิจิทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, ฯลฯ
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึก
ข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เอทานอลฮาร์ดดิส
แฟลชไดร์ฟ บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์,
จอภาพ, เครื่องฉายภาพ ลาโพง
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่อง
ถ่ายเอกสาร, เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม ฯลฯ
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
6. เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่
ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข,
และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล ฯลฯ
บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนาเทคโนโลยีมาใช้กับงานในสาขาใดสาขาหนึ่งนั้นเทคโนโลยี
มีความสาคัญ 3 ประการ คือ
1.ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางาน
บรรลุผลตามเป้ าหมายได้ เที่ยงตรงและรวดเร็ว
2.ประสิทธิผล (Productivity) เกิดผลผลิตเต็มที่ ได้ประสิทธิผล
สูงสุด
3.ประหยัด (Economy) ประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน ลงทุนน้อย
แต่ได้ผลมาก
บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทและความสาคัญ
ต่อการดาเนินชีวิต ของเรามากโดยเฉพาะเมืองใหญ่ๆ ที่มีอุปกรณ์การสื่อสารที่
ทันสมัย เราจึงจาเป็นต้องศึกษาเรียนรู้เพื่อจะได้ใช้งานได้อย่างเหมาะสมและ
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้
1. บทบาทต่อการดาเนินชีวิต เช่น ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็วใน
การทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลา
เดียวกันได้หรือทางานใช้เวลาน้อยลง
2. บทบาทเกี่ยวกับข้อมูล เช่น การจัดเก็บข้อมูลและการสร้างฐานข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล เป็นต้น
3. บทบาทด้านธุรกิจ เช่น ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทาให้ต้องมี
การพัฒนาองค์กรเพื่อให้ทันกับข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลาอันส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ
อย่างต่อเนื่อง
บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
4. บทบาทด้านการศึกษา เช่น ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูลทาให้
การศึกษาง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัดผู้เรียนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจัย
5. บทบาทด้านการทหาร เช่น การสื่อสารระหว่างหน่วยงานทางราชการ งานด้านข่าว
กรอง
6. บทบาทด้านการวิจัย เช่น การวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาประเทศ การวิจัยด้าน
การเกษตร การวิจัยด้านการแพทย์ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ฯลฯ ต้ออาศัยเทคโนโลยีโดยเฉพาะ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านการประมวลผลข้อมูล เข้ามาช่วยเพื่อใช้งานวิจัยเพื่อต้องการความ
ถูกต้องและความแม่นยาสูง.
7. บทบาทด้านการแพทย์ เช่น การรักษาพยาบาล การผ่าตัด การตรวจโรค
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก
โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคมมี
บทบาทที่สาคัญต่อการพัฒนาการศึกษาดังนี้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วยเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมี
เครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายด้าน มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(CAI) ระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร เช่น การค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการ
เรียนรู้ใน World Wide Web เป็นต้น
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษา (ต่อ)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัด
การศึกษาสมัยใหม่จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการติดตาม
และประเมินผลซึ่งอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมเข้ามามีบทบาท
ที่สาคัญ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสื่อสารระหว่างบุคคลในเกือบทุกวงการทั้ง
ทางด้านการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยสื่อสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคล เช่น การสื่อสารระหว่าง
ผู้สอนกับผู้เรียนโดยใช้องค์ประกอบที่สาคัญช่วยสนับสนุนให้เกิดระสิทธิภาพในการ
ดาเนินงาน เช่นการใช้โทรศัพท์โทรสารไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
สรุป
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทและความสาคัญต่อเราในแทบ
ทุกด้าน ทั้งด้านการประกอบอาชีพการงาน การศึกษาเล่าเรียน
การติดต่อสื่อสาร การรักษาพยาบาล
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฉันทนา เวชโอสถศักดา (2550 : 50-51) ได้เสนอประโยชน์จองการใช้
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวว่าปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจาวันของคนเรามากขึ้นจนกลายเป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินชีวิตของคนเกือบ
ทุกระดับซึ่งประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่
1. ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น จากสิ่ง
อานวยความสะดวกต่าง ๆ
2. ช่วยให้มีการตัดสินใจที่ดีขึ้นจากการมีสารสนเทศประกอบการตัดสินใจ
และการพิจารณาเลือกภายใต้เงื่อนไขต่างๆ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
3. เพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากสถานที่อื่นนอกสถานศึกษาเป็น
การฝึกให้รู้จักการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น
4.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลา มีความสะดวกสบายในการติดต่อหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร
5. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการดาเนินงานได้ง่ายขึ้น
6.ทาให้เกิดสื่อการเรียนการสอนต่างๆมากขึ้น เช่น การใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย
สอน เป็นต้น
7.สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถสื่อสารและโต้ตอบได้สองทาง ทั้งผู้ส่งสาร
และผู้รับสารสามารถโต้ตอบกันได้ เช่น ทางแชท หรือจะเป็นทางอีเมล์
“งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ชื่อเรื่องของงานวิจัย
“การศึกษาเจตคติและพฤติกรรมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยคริสเตียน”
ของ
“นายชาญ กลิ่นซ้อน”
สาขาวิชา
“เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือปีการศึกษา 2550”
สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัยพบว่าเจตคติต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาอยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการใช้สื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับปานกลาง
เมื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจาแนกตามข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล พบว่า
นักศึกษาที่มีคณะวิชาแตกต่างกันมีเจตคติต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองไม่แตกต่างกัน นักศึกษาที่อยู่ระดับชั้นปี ต่างกันมี
เจตคติต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05
สรุปวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยจาแนกตามข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล พบว่า
นักศึกษาที่มีเพศต่างกันมีพฤติกรรมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองไม่แตกต่างกันนักศึกษาที่
อยู่ระดับชั้นปี แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
เอกสารอ้างอิง
- ชาญ กลิ่นซ้อน. การศึกษาเจตคติและพฤติกรรมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยคริสเตียน.วิทยานิพนธ์ (ค.อ.ม.) เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2550.
-http://www.kmutt.ac.th/av/HTML/techno/note.htm
-http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/06/__6.html
-http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%201.htm
-http://www.learners.in.th/blogs/posts/165251
-http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204%E0%B9%80/isweb/Lesson%2022.htm
-http://www.thaigoodview.com/node/25405
-http://www.kmutt.ac.th/av/HTML/techno/note.htm
-http://www.gits.kmutnb.ac.th/ethesis/data/4820581140.pdf
-http://science.srru.ac.th/org/sci-elearning/courseonline/4000108/unit7.pdf
-http://elearning.northcm.ac.th/it/lesson1-1.asp
-https://sites.google.com/site/2200405natthawut/e-book/--khwam-sakhay-khxng-thekhnoloyi-sarsnthes
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ

More Related Content

What's hot

รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
Love Plukkie Zaa
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
Chess
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เกวลิน แก้ววิจิตร
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
yuyjanpen
 

What's hot (20)

Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 

Similar to Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ

หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
somdetpittayakom school
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Mapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
smileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Warakon Phommanee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
orawan34
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
panida21
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
sea111111
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Goilovearm
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Goilovearm
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Goilovearm
 

Similar to Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Information technology
Information technologyInformation technology
Information technology
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ