SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
วิว ัฒ นาการ
(EVOLUTION)
วิวัฒนาการ
• ความหมาย เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับลักษณะ

พันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต ที่สืบทอดจากรุ่นพรรพบุรุษสู่
รุ่นลูกหลานต่อเนื่องกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนานและยังคง
ดำาเนินต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด
• นักวิทยาศาสตร์: วิวัฒนาการ
• ลินเนียส (Corolus Linnaeus, 1707-1778)

ชาวสวีเดน ศึกษาและจัดจำาแนกสิ่งมีชีวิตเป็นหมวดหมูและกำาหนดระบบการตั้งชื่อ
่
ของสิ่งมีชีวิตโดยใช้หลัก binomial nomenclature โดยลินเนียสเชื่อว่า สิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิดนั้นมีลักษณะถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากแบบดั้งเดิม
• บูฟอง (Buffon)

ชาวฝรั่งเศส เชื่อว่า ลักษณะของสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
ภายใต้อิทธิพลของสภาวะแวดล้อมและเชื่อว่าโลกมีอายุมากกว่า 6,000 ปี
• ลามาร์ค (Lamarck, 1744-1829)

ชาวฝรั่งเศส ได้เสนอหลักการ Inheritance of acquired characteristics ในปี
1802 คือ ลักษณะของสิ่งมีชวิตที่เปลี่ยนแปลงตามความต้องการในการดำารง
ี
ชีวิตสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้
• คูเวียร์ (Geogre cubier, 1769-1832)

ชาวฝรั่งเศส เป็นคนแรกทีเขียนบทความเกียวกับการสูญพันธุ์ของสัตว์ต่าง ๆ
่
่
แต่มความเชื่อว่าสิ่งมีชีวิตจะคงรูปเดิมไว้ ไม่มีวิวัฒนาการ
ี
• ไลเอลล์ (Charies Lyell, 1797-1875)

นักธรณีชาวอังกฤษ เชื่อว่าโลกน่าจะเกิดมานานและมีการเปลี่ยนแปลงตลอด
เวลาจากปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ แล้วส่งผลให้มการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมี
ี
ชีวิต ซึงซากของสิ่งมีชวิตเหล่านี้ถูกทับถมในชั้นหินกลายเป็นฟอสซิล
่
ี
• ดาร์วิน (Charies Darwin, 1809-1882)

นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ (ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิวัฒนาการ)
เชื่อว่า กลไกของวิวัฒนาการไม่ได้อยู่ทการฝึกฝนลักษณะทีต้องการให้เหมาะ
ี่
่
สมกับสภาพแวดล้อม หากแต่สภาพแวดล้อมทำาให้เกิดการคัดเลือกตาม
ธรรมชาติ เพือที่จะให้สิ่งมีชีวิตทีมลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีโอกาส
่
่ ี
สืบพันธุ์ถ่ายทอดลักษณะนั้นให้ลูกหลานได้ (natural selection)
• วอลเลส (Alferd Wallace,1823-1913)

มีความคิดเช่นเดียวกับดาร์วินและได้เขียนบทความวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่
เกิดจากผลของการคัดเลือดตามธรรมชาติและส่งให้กับดาร์วิน
หลักเกณฑ์ทฤษฏีวิวฒนาการของดาร์
ั
วินินได้เขียนหนังสือเกียวกับกำาเนิดของสิ่งมีชีวตต่างๆ โดยหลัก
ดาร์ว
่
ิ
การคัดเลือกตามธรรมชาติ ชื่อว่า On the Origin of
Species by Means of Natural Selection พิมพ์ในปี
ค.ศ. 1859
ประกอบด้วย
1. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความสามารถในการสืบพันธุสูงและถ้าทุก
์
ตัวมีโอกาสรอดได้เท่ากันหมดจะส่งผลให้ประชากรมีจำานวน
เพิ่มมากขึ้น
2. ในกลุมประชากรสมาชิกมีลกษณะแตกต่างแปรผันมากบ้างน้อย
่
ั
บ้าง
3. กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อยู่รวมกันพบว่ามีการแข่งขันเกิดขึ้น เพื่อ
แก่งแย่งทรัพยากรในการดำารงชีวิตเช่น อาหาร ที่อยู่อาศัยและ
สิ่งอืนๆ ดังนั้น ตัวที่แข็งแรงกว่าและมีความสามารถมากกว่าจะ
่
สามารถอยู่รอดได้ ตัวที่อ่อนแอกว่าจะถูกกำาจัดออกไป
4. ตัวที่แข็งแรงและถูกคัดเลือกไว้จะสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะ
ต่อไปยังลูกหลาน เมื่อกาลเวลาผ่านไปจะมีการสะสมลักษณะที่
เปลี่ยนแปลงไปเหล่านี้เพิ่มมากขึน ในที่สุดอาจทำาให้กลายเป็น
้
สิ่งมีชิวิตชนิดใหม่
• ในปัจจุบัน(1935-ปัจจุบัน) เป็นช่วงทีนำาความรู้ใหม่ๆ ในสาขา
่
วิชาต่างๆ เข้ามาผสมผสานกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาพันธุ
ศาสตร์ประชากรและพันธุศาสตร์โมเลกุลกลายเป็นทฤษฏี
วิวัฒนาการแบบใหม่ที่เรียกว่า Synthetic Theory หรือ
Modern Synthesis หรือ Neo-Darwinism
ศึกษาวิวัฒนาการของสิงมีชวิตได้
่
ี
อย่างไร

วิวัฒนาการเป็นการเอาหลักฐานในอดีตและการทดลองที่มีอยู่ใน
ปัจจุบันมาประกอบกัน หลักฐานที่ใช้ศึกษาได้แก่
• การศึกษาชีวภูมิศาสตร์ (biogeography)
• ซากดึกดำาบรรพ์ (fossil record)
• การศึกษาเปรียบเทียบทางกายวิภาค(Comparative anatomy)
• การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเอมบริโอ
•การศึกษาเปรียบเทียบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล(molecular
biology)
1. การศึกษาทางชีวภูมิศาสตร์
ศึกษาการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวตชนิดต่างๆ ที่เรียกว่า ชีว
ิ
ภูมิศาสตร์(biogeography) เป็นข้อมูลสำาคัญสำาหรับศึกษา
วิวัฒนาการ เช่น สิ่งมีชีวิตบนเกาะกาลาปากอส ของดาร์วิน พบว่า
สิ่งมีชีวตในเกาะที่อยู่ใกล้แผ่นดินใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกันหรือมี
ิ
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากกว่าเกาะที่อยู่ห่างไกลออกไป
สัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องในออสเตรเลีย ที่มีวิวฒนาการแยกตัวออก
ั
ไปจากสิ่งมีชีวตในทวีปอืน ๆ
ิ
่
2. ซากดึกดำาบรรพ์
ซากดึกดำาบรรพ์จะเป็นตัวเชื่อมโยงสิงมีชีวิตในอดีตเข้ากับ
่
สิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน เช่น ฟอสซิลของนกโบราณ Archaeopteryx
อายุ 140 ล้านปี ซึ่งมีลักษณะกึ่งสัตว์เลื้อยคลานและนก
ฟอสซิลของปลาวาฬ เป็นต้น
นักวิทยาศาสตร์ได้นำาหลักฐานทางฟอสซิลมาสร้างเป็นสาย
วิวัฒนาการและตารางทางธรณีวิทยาของสายวิวัฒนาการ
3. การศึกษาเปรียบเทียบทางกายวิภาค
จุดกำาเนิดเหมือนกันทำางานต่างกัน
• Analogous structures จุดกำาเนิดต่างกันทำางานเหมือนกัน
• Vestigial structures โครงสร้างลดรูปจากผลการคัดเลือกตาม
ธรรมชาติ
• Homologous structures
• Homologous structures
• Analogous structures
• Vestigial structures
การเปรียบเทียบการเจริญของเอมบริโอ
• สัตว์ที่มีความสัมพันธ์กนจะมีแบบแผนการพัฒนาของเอมบริโอ
ั

คล้ายคลึงกัน
ด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล
• ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน สมาชิกที่เป็นพี่น้องกันจะมีความเหมือน
กันของ DNA หรือโปรตีนมากกว่าสมาชิกอื่น ๆ
Modern Synthesis
• เป็นการนำาทฤษฏีของดาร์วินกับเมนเดล มาอธิบายร่วมกัน คือ

หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลกับหลัก
วิวัฒนาการโดยการคัดเลือกตามธรรมชาติของดาร์วน ผสมกับ
ิ
ความรู้ทางด้านสถิติกับประชากรธรรมชาติ
• ประชากร คือ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่เป็นชนิดเดียวกันอยู่ในสถานที่
และเวลาเดียวกัน
• ประชากรจัดเป็นหน่วยเล็กที่สุดของวิวัฒนาการ หรือ วิวัฒนาการ
จะเกิดขึ้นในระดับประชากรเท่านั้น
การแปรผันทางพันธุกรรมในประชากร
• เกิดจาก
• การสลับและแลกเปลี่ยนขององค์ประกอบทางพันธุกรรม (genetic
recombination)
• มิวเตชั่น (mutation)
• Genetic recombination - Random fertilization
- Crossing over

• Mutation
• Point mutation เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในยีนหรือโมเลกุลของ DNA

เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือส่วน
ประกอบของโครโมโซมหรือจำานวนโครโมโซม

• Chromosomal mutation
วิวัฒนาการในระดับจุลภาค
(Microevolution)
• คือ การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมที่เกิดขึ้นระดับโครงสร้างของ

ประชากรทีละเล็กทีละน้อย อันเป็นกลไกที่แท้จริงในกระบวนการ
เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวต
ิ
• ปัจจัยที่สำาคัญที่ทำาให้เกิดวิวฒนาการระดับจุลภาคือ
ั
1.เจเนติกดริฟต์ (genetic drift) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยประชากรมี
จำานวนสมาชิกน้อยลงอย่างฉับพลัน จะโดยบังเอิญหรือสาเหตุใดก็ตาม
ทำาให้ความถี่ของยีนเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในทันที เช่น
• ฟาวน์เดอร์ เอฟเฟกต์ (founder effect)
• ปรากฏการณ์ผ่านคอขวด (bottleneck)
2. ยีนโฟลว์ (Gene flow) เป็นการอพยพเข้า-ออกของสมาชิกใน
ประชากร มีผลทำาให้โครงสร้างทางพันธุกรรมหรือความถี่ของยีน
ในประชาการเปลี่ยนไป
3. มิวเทชั่น (Mutation)
4. การผสมพันธุ์ไปเป็นแบบสุ่ม (Nonrandom mating) การเลือกคู่
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของยีนพูลของประชากร
5. การคัดเลือกตามธรรมชาติ (Natural selection) ทำาให้ความถี่
ของยีนที่ควบคุมลักษณะที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมหนึ่งถ่ายทอด
ต่อไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้
แบ่งได้เป็น 2 แบบคือ
5.1 การคัดเลือกตามธรรมชาติ ผลการคัดเลือกมี 3 แบบคือ
5.2 การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial selection)
การคัดเลือกตามธรรมชาติกบการปรับ
ั
ตัวของสิงมีชวิต
่
ี
•

•

•

การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต (adaptation) คือการเปลียนแปลง
่
ลักษณะพันธุ์กรรมของประชากรที่ทำาให้สิ่งมีชีวิตชนิดนัน
้
สามารถปรับตัวและมีชีวิตอยู่รอดในสภาพแวดล้อม
การปรับตัวมักเกิดควบคู่กับการคัดเลือกตามธรรมชาติเสมอ
และเมื่อเกิดขึ้นเป็นเวลานานติดต่อกันในที่สุดก็จะเกิดสิ่งมีชีวิต
ชนิดใหม่
การปรับตัวเกิดได้หลายแบบ ได้แก่

1.

การปรับตัวทางสรีรวิทยา (Physiological adaptation)
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนกับกระบวนการทำางานในร่างกาย เช่น
้
การกำาจัดเกลือออกจากร่างกายของสัตว์นำ้าเค็ม
2.การปรับตัวทางรูปพรรณสัณฐาน (Morphological adaptation)
แบ่งได้เป็น
– การปรับตัวทางรูปร่างและโครงสร้าง
- การเลียนแบบ (Mimicry)

- การพรางตาหรือการลวงตา (camouflage)
- การสร้างจุดลวงตาหรือเบี่ยงเบนความสนใจ
วิวัฒนาการระดับมหภาค
(Macroevolution)
• เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีผลทำาให้สิ่งมีชีวตมีลักษณะรูปร่างและการ
ิ

ดำารงชีวิตหลายหลายรูปแบบ
• เริ่มตั้งแต่การเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ แบบแผนการเกิดวิวัฒนาการ
จนถึงการสูญพันธุ์
• การเกิดสิ่งมีชีวตชนิดใหม่ (Speciation) แบ่งเป็น 2 แบบคือ
ิ
• Anagenesis
• Cladogenesis
การแยกกันทางการสืบพันธุ์




เป็นกลไกที่มีความสำาคัญ ที่จะผลักดันให้ประชากรมีการแยก
กลุม ไม่ผสมพันธุ์กันจนในที่สดก็กลายเป็นสปีชีส์ที่ต่างกัน ดัง
่
ุ
นั้นกลไกการแยกทางการสืบพันธุ์จึงเป็นกุลแจสำาคัญที่ทำาให้
เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
แบ่งได้ 2 แบบ คือ
1.

กลไกการแยกก่อนขั้นเป็นไซโกต

1.
2.
3.
4.
5.

Habitat isolation
Seasonal / temporal isolation
Behavioral isolation
Mechanical isolation
Gametic isolation
2.กลไกการแยกหลังขั้นเป็นไซโกต
1. Reduced hybrid viability : F1 ตาย อ่อนแอหรือไม่
สมบูรณ์
2. Reduced hybrid fertility : F1 เป็นหมัน
3. Hybrid breakdown : F2 อ่อนแอหรือไม่สมบูรณ์พันธุ์
ประเภทของการเกิดสิงมีชีวตชนิดใหม่
่
ิ
1.

Allopatric speciaton
มีสิ่งกีดขวางทางภูมิศาสตร์ทำาให้ประชากรถูกแบ่งแยก

2. Sympatric speciation
เกิดการเปลียนแปลงขึ้นในประชากรเช่นมีการเปลี่ยนแปลง
่
เชิงการสืบพันธุ์ เชิงพฤติกรรมหรือเชิงนิเวศวิทยา เช่น
การเกิดโพลีพลอยดี(Polyploidy)

- Autopolyploidy เพิ่มชุดโครโมโซมที่มีต้นกำาเนิดจากชนิดเดียวกัน
- Allopolyploidy เพิ่มชุดโครโมโซมที่มีต้นกำาเนิดจากต่างชนิดกัน
แบบแผนวิวฒนาการ(Patterns of
ั
evolution)
• แบ่งได้เป็น 5 แบบได้แก่
• Divergent evolution
• Adaptive radiation
• Convergent evolution
• Parallel evolution
• Coevolution
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ

More Related Content

What's hot

Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตdnavaroj
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 

Viewers also liked

บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
Integumentary system
Integumentary systemIntegumentary system
Integumentary systemMissReith
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาJaratpong Moonjai
 
Evolution[1]
Evolution[1]Evolution[1]
Evolution[1]MissReith
 
Integumentary system
Integumentary systemIntegumentary system
Integumentary systemMadeleine Si
 
Obama And Bush With Children
Obama And Bush With ChildrenObama And Bush With Children
Obama And Bush With Childrenkangaro10a
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
9789740330059
97897403300599789740330059
9789740330059CUPress
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
Chap 11 nervous system part 1
Chap 11 nervous system part 1Chap 11 nervous system part 1
Chap 11 nervous system part 1MissReith
 
สัณฐานวิทยาของพืช
สัณฐานวิทยาของพืชสัณฐานวิทยาของพืช
สัณฐานวิทยาของพืชJaratpong Moonjai
 

Viewers also liked (20)

Mendelian genetics mee
Mendelian genetics meeMendelian genetics mee
Mendelian genetics mee
 
Principles of inheritance
Principles of inheritancePrinciples of inheritance
Principles of inheritance
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม
6ติวข้อสอบสสวทพันธุกรรม
 
Integumentary system
Integumentary systemIntegumentary system
Integumentary system
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Evolution[1]
Evolution[1]Evolution[1]
Evolution[1]
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
Cell
CellCell
Cell
 
Integumentary system
Integumentary systemIntegumentary system
Integumentary system
 
Obama And Bush With Children
Obama And Bush With ChildrenObama And Bush With Children
Obama And Bush With Children
 
Bio
BioBio
Bio
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
Nervous tissue 2
Nervous tissue 2Nervous tissue 2
Nervous tissue 2
 
150 ch9 muscle
150 ch9 muscle150 ch9 muscle
150 ch9 muscle
 
9789740330059
97897403300599789740330059
9789740330059
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
Chap 11 nervous system part 1
Chap 11 nervous system part 1Chap 11 nervous system part 1
Chap 11 nervous system part 1
 
สัณฐานวิทยาของพืช
สัณฐานวิทยาของพืชสัณฐานวิทยาของพืช
สัณฐานวิทยาของพืช
 

วิวัฒนาการ