SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
คุณภาพการศึกษาเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากที่สุดในปจจุบัน สถานศึกษาจะมีคุณภาพได
จะตองไดรับการพัฒนาโรงเรียนใหบรรลุตามมาตรฐานดานผูเรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545(มาตรา6) ไดกําหนดความมุงหมายและหลักการ
จัดการศึกษา ไววา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย
และจิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดํารงชีวิต สามารถอยู
รวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (มาตรา 22) แนวทางการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมี
ความสามารถในการเรียนรู และพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ
จัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ (มาตรา 26)
สถานศึกษาดําเนินการประเมินผูเรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียนความประพฤติ การสังเกต
พฤติกรรมการเรียนการรวมกิจกรรม และการทดสอบโดยควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตาม
ความเหมาะสมในแตละระดับและรูปแบบการศึกษา
เด็กเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคาเปนสุดที่รักและความหวังสําคัญที่สุดของพอแม เปนอนาคต
ของครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ การที่เด็กไดเจริญเติบโตไดอยางสมบูรณเปนผูใหญที่มีคุณภาพ
และเปนกําลังในการพัฒนาประเทศนั้น จําเปนจะตองไดรับการตอบสนองและเอาใจใส ขั้นพื้นฐาน
เชน อาหาร ที่อยูอาศัย การพักผอน การบริการทางแพทย ความรักและความอบอุนจากบิดา มารดา
ผูปกครอง ครูผูดูแลอยางใกลชิด ในชวง6ปแรก ซึ่งเปนชวงในการพัฒนาทุกดานอยางรวดเร็ว ไมวา
จะเปนดานรางกาย สติปญญา สังคม อารมณ และจิตใจ เราควรสงเสริมและพัฒนาอยางเหมาะสม
การจัดการปฐมวัยจึงมีความสําคัญยิ่ง เพราะเปนการใหการศึกษาเบื้องตน ที่มีความสําคัญตอชีวิตใน
อนาคตของเด็ก เปนการศึกษากึ่งอบรมเลี้ยงดู เพื่อตองการใหถูกตามหลักการพัฒนาตามวัยทั้งยังชวย
ปลูกฝงทัศนคติ คานิยม ลักษณะนิสัยและวัฒนธรรมอันเปนพื้นฐานที่จะทําใหเด็กมีชีวิตที่สมบูรณ
รูจักรักตนเอง รักคนอื่น ดังนั้นเด็กปฐมวัยจึงเปนวัยทองของชีวิต (เบญจา แสงมะลิ 2528 : 10) จาก
ความสําคัญดังกลาวจึงจําเปนจะตองจัดการศึกษาใหแตปฐมวัย ซึ่งในการจัดการศึกษาปฐมวัยในสังคม
2
โลกเปนการจัดเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล ใหสามารถเสริมสรางพลังความสามารถของแตละบุคคล
ที่มีอยูในตนเอง ใหเจริญเติบโตอยางเต็มขีดความสามารถและศักยภาพมาพัฒนาตนและสังคมไดเหมาะสม
กับความสามารถแหงตน กรมวิชาการ(2541 :45)
จากสภาพวิกฤตทางเศรษฐกิจและสังคมแตกแยก ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรงใน
ปจจุบันไดสรางความกดดันใหเกิดความจําเปนอยางยิ่งในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา
ของไทยใหสามารถผลิตผูที่มีความเปนมนุษยที่สมบูรณ มีคุณธรรม จริยธรรม อีกทั้งเปนการรูเทาทัน
การเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวใหอยูในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยางมีคุณภาพจากผลงานการวิจัยทาง
การแพทยพบวา เด็กปฐมวัยไทยจํานวนมากถึง 1 ใน 6 มีการพัฒนาการลาชาโดยมีอัตราสวนเพิ่มขึ้น
ตามอายุ แสดงวาเด็กเหลานี้ขาดโอกาสเรียนรูและขาดการอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม
ดวยเหตุนี้ ผูเกี่ยวของทุกฝายจึงจําเปนตองเขาใจถึงปญหา มีการเฝาระวังและดําเนินการ
ใหความชวยเหลือเด็กอายุต่ํากวา 6 ป ทุกกลุมตั้งแตแรกเกิด ตลอดจนมุงเนนพัฒนาคุณภาพจัดการ
เรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการและศักยภาพของเด็ก ปญหาสังคมประการหนึ่งที่มีผลกระทบอยางยิ่ง
ตอเด็กปฐมวัยไทยคือ ความออนแอของครอบครัวในการทําหนาที่อบรมเลี้ยงดูเด็ก เด็กปฐมวัยจํานวน
หนึ่งอาจไดรับการเลี้ยงดูไมเหมาะสม อันสงผลตอคุณภาพชีวิตของเด็กทั้งในปจจุบัน และในอนาคต
นอกจากนี้ ปญหาสิ่งแวดลอมตางๆสงผลโดยตรงและโดยออมตอสุขภาพอนามัยและพัฒนาการตลอดจน
การเรียนรูของเด็กปฐมวัย รวมทั้งการหลั่งไหลเขามาของวัฒนธรรมตาง ๆ จากภายนอก สงผลตอการ
ดําเนินชีวิต ทําใหจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของการดํารงเอกลักษณของวัฒนธรรมในสังคม
ตนเอง การพัฒนาเด็กที่สอดคลองกับบริบททางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทางสังคมของเด็ก ซึ่งมีลักษณะ
เฉพาะและแตกตางกันไปจึงมีความสําคัญ(กรมวิชาการ2546 : 1) ในโลกที่ความรูและเทคโนโลยีเกิด
ขึ้นมาและเปนไปอยางรวดเร็ว มนุษยไมสามารถเติบโตและเรียนรูไดตลอดชีวิต ตองเริ่มตั้งแตแรกเกิด
โดยการปลูกฝงใหเด็กมีเจตคติที่ดีตอการเรียนรู เรียนรูและมีความสามารถ ในการแสวงหาความรู
กลั่นกรองขอมูล เลือกใชและนําไปใชในสถานการณที่ตนตองการไดเหมาะสม นอกจากนี้มนุษยยัง
จําเปนตองมีความสามารถในการเรียนรูจากผูอื่น และมีลักษณะที่ใหผูอื่นยินดีที่จะแบงปนความรู
ประสบการณ ตลอดจนหยิบยื่นโอกาสในการเรียนรูใหคุณสมบัติที่เอื้อตอการเจริญงอกงามตลอดชีวิต
จําเปนจะตองปลูกฝงตั้งแตปฐมวัยและตองพัฒนาอยางตอเนื่อง(กรมวิชาการ2546:1)
จากกระแสความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ผานมา พอ แม ผูปกครองและชุมชนเห็นคุณคา
ของการศึกษาและตระหนักถึงสิทธิของบุตรหลานที่จะตองไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพทําใหผูปกครอง
และผูคนในชุมชนจํานวนมากเริ้มมีความกระตือรือรนที่จะเขามามีสวนรวม รับรู และสนับสนุนการ
3
จัดการศึกษาแกบุตรหลานของตน รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ความเปลี่ยนแปลงทางความคิดดังกลาว กอใหเกิดความคาดหวัง และผลักดันพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติพุทธศักราช 2542 ซึ่งกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ เพื่อใหการศึกษาที่
จัดโดยสถานศึกษาทุกแหงมีมาตรฐานเทาเทียมกัน(กรมวิชาการ2546:2) สถานที่พัฒนาเด็กปฐมวัยที่
มีคุณภาพและมาตรฐานนั้นจําเปนจะตองมีการนําหลักสูตรลงสูการปฏิบัติ เพื่อตองการใหเด็กปฐมวัย
ไดสิ่งแวดลอมของการเรียนรูที่เหมาะสม จึงไดกําหนดหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ขึ้น เพื่อ
เปนแนวทางในการจัดประสบการณเรียนรู ใหผูเกี่ยวของสามารถนําหลักสูตรไปพัฒนาเด็กไดถูกตอง
เหมาะสมมีประสิทธิภาพมาตรฐานเดียวกันสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช
2542 และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน2544 ในปจจุบันรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศ
นโยบายเรงรัดปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อใหบังคับผลเปน
รูปธรรม โดยใหนําหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “คุณธรรมนําความรู” มาใชเปนหลักนํา
ทั้งนี้เพราะการปฏิรูปการศึกษาดังกลาวจะนําไปสูการแกปญหาทั้งมวล ไมวาจะเปนปญหาการเมือง
และเศรษฐกิจ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปนหนวยงานหลักที่รับผิดชอบในการกํากับ
ดูแลประสานและสงเสริมการบริหารจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ทั่วประเทศ
จะตองรวมมือรวมใจระดมสรรพกําลังจากทุกภาคสวนเพื่อทําใหนโยบายประสบผลสําเร็จ (สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2547:1)
กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : ข) ใหนโยบายในการจัดการศึกษาไว 5 ประเด็น ไดแก 1.
การเรงรัดปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนําความรู สรางความตระหนักสํานึกในคุณคาของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันทสันติวิธี วิถีชีวิตประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใชคุณธรรมเปน
พื้นฐานของกระบวนการเรียนรูที่เชื่อมโยง ความรวมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทาง
การศึกษาและสถาบันการศึกษา โดยมีมาตรการปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูทุกระบบและประเภททางการศึกษา พัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถ
จัดหลักสูตรและการเรียนการสอน และสรางเครือขายคุณธรรมในทุกเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจน
เชื่อมโยงความรวมมือรวมคิด รวมทํา ของบานวัดโรงเรียน 2.ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของประชาชนใหกวางขวางและทั่วถึง โดยไมเก็บคาใชจาย โดยจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหเด็กที่มีอายุ
7–16 ป และจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป โดยไมเก็บคาใชจาย 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาทุกระดับ โดยใหมีการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนาการสอน
4
ของครูและปรับปรุงวิธีการเรียนรูของนักเรียนแกปญหาครูขาดแคลน โดยเนนพื้นที่กลุมสาระ ใช
เทคโนโลยีชวยเพิ่มคุณภาพขอขยายโอกาสทางการศึกษา 2.การกระจายอํานาจไปสูเขตพื้นที่และสถาน
ศึกษา โดยมีมาตรการกระจายอํานาจดานวิชาการ การบริหารดานบุคคล งบประมาณ การจัดการทั่วไป
สําหรับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา พัฒนาผูบริหาร ศึกษานิเทศกและครูแกนนําของเขตพื้นที่
และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นํารองการบริหารจัดการแบบกระจายอํานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี
ศักยภาพและความพรอม เปลี่ยนสถานะของสถานศึกษาของรัฐเปนสวนราชการ 3.สงเสริมการมี
สวนรวมของประชาชน ภาคเอกชนและทองถิ่น โดยมีการปรับปรุงโครงสรางบทบาทและภาระหนาที่
ของสมาคมผูปกครองและครู คณะกรรมการสถานศึกษาและเขตพื้นที่ ผูมีสวนไดเสียทางการศึกษาได
รับผิดชอบกวางขวางขึ้น สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนทุกระดับใหสามารถจัดการศึกษา
ไดตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติใหทองถิ่นมีสวนรวมรับผิดชอบการจัดการศึกษารวมกับ
เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกระดับ โดยเนนการรวมคิดรวมทําและรวมรับผิดชอบ
การจัดการศึกษาปฐมวัยในปจจุบัน แมจะไมเปนการศึกษาภาคบังคับ แตรัฐบาลก็ใหการ
สนับสนุนสงเสริมอยางเต็มที่ โดยมุงที่จะเตรียมความพรอมใหกับเด็กกอนเขาเรียนในระดับประถมศึกษา
และสงเสริมใหเด็กมีการพัฒนาทุกดานตลอดจนอบรมเลี้ยงดูใหเด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี
จากขอมูลและเหตุผลดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาผูวิจัยในฐานะเปนผูบริหารสถานศึกษา
มีความสนใจที่อยากนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ
ใหมีรายละเอียดชัดเจนเปนรูปธรรม ในการปฏิบัติมากขึ้นเพื่อสรางเปนรูปแบบที่สมบูรณและเหมาะสม
ตอไป
คําถามในการวิจัย
1. สภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5เปนอยางไร
2. รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ ที่เหมาะสม
และเปนไปไดในทางปฏิบัติควรมีลักษณะอยางไร
5
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5
2. เพื่อรางรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5
3. เพื่อนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบสังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5
ความสําคัญของการวิจัย
1. การวิจัยในครั้งนี้จะทําใหคนพบรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานตนแบบ ในดานการจัดระบบงาน การจัดทําหลักสูตร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
กระบวนการเรียนการสอน รูปแบบการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
2. ขอคนพบจากการวิจัยจะเปนประโยชน สําหรับผูบริหารโรงเรียน ผูบริหารการศึกษา
ในสังกัดใหมีประสิทธิภาพและเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการศึกษาปฐมวัย
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เปนกรณีศึกษา เปนการศึกษาขอมูลในการสรางและนําเสนอรูปแบบ
การบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ โดยมีที่มาจาก 6 โรงเรียน ซึ่งเปน
โรงเรียนตนแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต 5
ตัวแปรที่ศึกษา
1. สภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
6
2. รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5
กรอบแนวคิดการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 โดยผูวิจัยมุงศึกษาสภาพปจจุบันตาม
รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ โดยสังเคราะหจากหลักการ
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ
ดังแผนภูมิที่1.1
แผนภูมิที่ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย
นิยมศัพทเฉพาะ
รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย หมายถึง สภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยในชนบท
ที่มีความขาดแคลนทั้งสถานศึกษา / บุคคลและสื่ออุปกรณ ประกอบกับสภาพความเปนอยูของเด็ก
ผูปกครองที่มีความยากจน ขาดแคลนในทุก ๆ ดาน ใหมีคุณภาพเทาเทียมกับสถานศึกษาในเมือง
โดยใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคัดเลือกสถานศึกษาเปนศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบตามเกณฑการ
องคประกอบของรูปแบบ
- การจัดระบบงาน
- การจัดชั้นเรียน
- การจัดทําหลักสูตร
- การจัดครุและบุคลากรทางการศึกษา
- การจัดประสบการณการเรียนรู
รูปแบบการบริหารการศึกษา
ปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5
7
คัดเลือกศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เริ่มดําเนินการ
2548
ผูบริหาร หมายถึง ผูอํานวยการโรงเรียนในระดับปฐมวัยในถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ
หรือผูรักษาราชการแทนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครูผูสอนหรือผูที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษา
ในระดับปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี
เขต5
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
อุบลราชธานีเขต5
การจัดระบบงาน หมายถึง กระบวนการทํางานโดยระดมทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดของศูนย
เด็กปฐมวัยตนแบบมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
การจัดชั้นเรียน หมายถึง การบริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดครูและบุคลากรใหรับผิดชอบ
ในการดูแลเด็กปฐมวัยตามชั้น
การจัดทําหลักสูตรหมายถึง หลักสูตรที่เกิดจากการประสานความรวมมือจากทุกฝาย เชน
ครูและบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน และทองถิ่น ที่มีสวนเกี่ยวของในการ
จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาของศูนยเด็กตนแบบ
การจัดประสบการณการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณตาง ๆ ใหกับเด็ก
ปฐมวัย ใหเรียนรูตามวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพ.ศ. 2546
รูปแบบการบริหาร หมายถึง การบริหารจัดการโดยครูและบุคลากรทางการศึกษา ระดม
ทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดของศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการทํางาน
บรรลุเปาหมาย
รูปแบบการศึกษาปฐมวัย หมายถึง การจัดการศึกษาใหกับเด็กที่มีอายุ 3–6ป ในลักษณะ
การอบรมเลี้ยงดู และพัฒนาความพรอมของเด็กทั้งรางกาย อารมณ จิตใจ สติปญญา บุคลิกภาพ และ
สังคม
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ หมายถึง สถานศึกษาที่ไดผานการคัดเลือกเปนสถานศึกษา
ศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
8

More Related Content

Similar to Chapter 1

หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
krupornpana55
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
pui003
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
Suwanan Nonsrikham
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
somchaitumdee50
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
patcharee0501
 

Similar to Chapter 1 (20)

หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
พรบ. 2545
พรบ. 2545พรบ. 2545
พรบ. 2545
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
Law education
Law educationLaw education
Law education
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
พรบ. 2542
พรบ. 2542พรบ. 2542
พรบ. 2542
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 

More from sujira123 (9)

5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Report new-final tdri
Report new-final  tdriReport new-final  tdri
Report new-final tdri
 
T51 29 5-ch2
T51 29 5-ch2T51 29 5-ch2
T51 29 5-ch2
 
1
11
1
 
Sujira
SujiraSujira
Sujira
 

Chapter 1

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คุณภาพการศึกษาเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากที่สุดในปจจุบัน สถานศึกษาจะมีคุณภาพได จะตองไดรับการพัฒนาโรงเรียนใหบรรลุตามมาตรฐานดานผูเรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545(มาตรา6) ไดกําหนดความมุงหมายและหลักการ จัดการศึกษา ไววา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย และจิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดํารงชีวิต สามารถอยู รวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (มาตรา 22) แนวทางการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมี ความสามารถในการเรียนรู และพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ (มาตรา 26) สถานศึกษาดําเนินการประเมินผูเรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียนความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรมการเรียนการรวมกิจกรรม และการทดสอบโดยควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตาม ความเหมาะสมในแตละระดับและรูปแบบการศึกษา เด็กเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคาเปนสุดที่รักและความหวังสําคัญที่สุดของพอแม เปนอนาคต ของครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ การที่เด็กไดเจริญเติบโตไดอยางสมบูรณเปนผูใหญที่มีคุณภาพ และเปนกําลังในการพัฒนาประเทศนั้น จําเปนจะตองไดรับการตอบสนองและเอาใจใส ขั้นพื้นฐาน เชน อาหาร ที่อยูอาศัย การพักผอน การบริการทางแพทย ความรักและความอบอุนจากบิดา มารดา ผูปกครอง ครูผูดูแลอยางใกลชิด ในชวง6ปแรก ซึ่งเปนชวงในการพัฒนาทุกดานอยางรวดเร็ว ไมวา จะเปนดานรางกาย สติปญญา สังคม อารมณ และจิตใจ เราควรสงเสริมและพัฒนาอยางเหมาะสม การจัดการปฐมวัยจึงมีความสําคัญยิ่ง เพราะเปนการใหการศึกษาเบื้องตน ที่มีความสําคัญตอชีวิตใน อนาคตของเด็ก เปนการศึกษากึ่งอบรมเลี้ยงดู เพื่อตองการใหถูกตามหลักการพัฒนาตามวัยทั้งยังชวย ปลูกฝงทัศนคติ คานิยม ลักษณะนิสัยและวัฒนธรรมอันเปนพื้นฐานที่จะทําใหเด็กมีชีวิตที่สมบูรณ รูจักรักตนเอง รักคนอื่น ดังนั้นเด็กปฐมวัยจึงเปนวัยทองของชีวิต (เบญจา แสงมะลิ 2528 : 10) จาก ความสําคัญดังกลาวจึงจําเปนจะตองจัดการศึกษาใหแตปฐมวัย ซึ่งในการจัดการศึกษาปฐมวัยในสังคม
  • 2. 2 โลกเปนการจัดเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล ใหสามารถเสริมสรางพลังความสามารถของแตละบุคคล ที่มีอยูในตนเอง ใหเจริญเติบโตอยางเต็มขีดความสามารถและศักยภาพมาพัฒนาตนและสังคมไดเหมาะสม กับความสามารถแหงตน กรมวิชาการ(2541 :45) จากสภาพวิกฤตทางเศรษฐกิจและสังคมแตกแยก ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรงใน ปจจุบันไดสรางความกดดันใหเกิดความจําเปนอยางยิ่งในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา ของไทยใหสามารถผลิตผูที่มีความเปนมนุษยที่สมบูรณ มีคุณธรรม จริยธรรม อีกทั้งเปนการรูเทาทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวใหอยูในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยางมีคุณภาพจากผลงานการวิจัยทาง การแพทยพบวา เด็กปฐมวัยไทยจํานวนมากถึง 1 ใน 6 มีการพัฒนาการลาชาโดยมีอัตราสวนเพิ่มขึ้น ตามอายุ แสดงวาเด็กเหลานี้ขาดโอกาสเรียนรูและขาดการอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม ดวยเหตุนี้ ผูเกี่ยวของทุกฝายจึงจําเปนตองเขาใจถึงปญหา มีการเฝาระวังและดําเนินการ ใหความชวยเหลือเด็กอายุต่ํากวา 6 ป ทุกกลุมตั้งแตแรกเกิด ตลอดจนมุงเนนพัฒนาคุณภาพจัดการ เรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการและศักยภาพของเด็ก ปญหาสังคมประการหนึ่งที่มีผลกระทบอยางยิ่ง ตอเด็กปฐมวัยไทยคือ ความออนแอของครอบครัวในการทําหนาที่อบรมเลี้ยงดูเด็ก เด็กปฐมวัยจํานวน หนึ่งอาจไดรับการเลี้ยงดูไมเหมาะสม อันสงผลตอคุณภาพชีวิตของเด็กทั้งในปจจุบัน และในอนาคต นอกจากนี้ ปญหาสิ่งแวดลอมตางๆสงผลโดยตรงและโดยออมตอสุขภาพอนามัยและพัฒนาการตลอดจน การเรียนรูของเด็กปฐมวัย รวมทั้งการหลั่งไหลเขามาของวัฒนธรรมตาง ๆ จากภายนอก สงผลตอการ ดําเนินชีวิต ทําใหจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของการดํารงเอกลักษณของวัฒนธรรมในสังคม ตนเอง การพัฒนาเด็กที่สอดคลองกับบริบททางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทางสังคมของเด็ก ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะและแตกตางกันไปจึงมีความสําคัญ(กรมวิชาการ2546 : 1) ในโลกที่ความรูและเทคโนโลยีเกิด ขึ้นมาและเปนไปอยางรวดเร็ว มนุษยไมสามารถเติบโตและเรียนรูไดตลอดชีวิต ตองเริ่มตั้งแตแรกเกิด โดยการปลูกฝงใหเด็กมีเจตคติที่ดีตอการเรียนรู เรียนรูและมีความสามารถ ในการแสวงหาความรู กลั่นกรองขอมูล เลือกใชและนําไปใชในสถานการณที่ตนตองการไดเหมาะสม นอกจากนี้มนุษยยัง จําเปนตองมีความสามารถในการเรียนรูจากผูอื่น และมีลักษณะที่ใหผูอื่นยินดีที่จะแบงปนความรู ประสบการณ ตลอดจนหยิบยื่นโอกาสในการเรียนรูใหคุณสมบัติที่เอื้อตอการเจริญงอกงามตลอดชีวิต จําเปนจะตองปลูกฝงตั้งแตปฐมวัยและตองพัฒนาอยางตอเนื่อง(กรมวิชาการ2546:1) จากกระแสความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ผานมา พอ แม ผูปกครองและชุมชนเห็นคุณคา ของการศึกษาและตระหนักถึงสิทธิของบุตรหลานที่จะตองไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพทําใหผูปกครอง และผูคนในชุมชนจํานวนมากเริ้มมีความกระตือรือรนที่จะเขามามีสวนรวม รับรู และสนับสนุนการ
  • 3. 3 จัดการศึกษาแกบุตรหลานของตน รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ความเปลี่ยนแปลงทางความคิดดังกลาว กอใหเกิดความคาดหวัง และผลักดันพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติพุทธศักราช 2542 ซึ่งกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ เพื่อใหการศึกษาที่ จัดโดยสถานศึกษาทุกแหงมีมาตรฐานเทาเทียมกัน(กรมวิชาการ2546:2) สถานที่พัฒนาเด็กปฐมวัยที่ มีคุณภาพและมาตรฐานนั้นจําเปนจะตองมีการนําหลักสูตรลงสูการปฏิบัติ เพื่อตองการใหเด็กปฐมวัย ไดสิ่งแวดลอมของการเรียนรูที่เหมาะสม จึงไดกําหนดหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ขึ้น เพื่อ เปนแนวทางในการจัดประสบการณเรียนรู ใหผูเกี่ยวของสามารถนําหลักสูตรไปพัฒนาเด็กไดถูกตอง เหมาะสมมีประสิทธิภาพมาตรฐานเดียวกันสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน2544 ในปจจุบันรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศ นโยบายเรงรัดปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อใหบังคับผลเปน รูปธรรม โดยใหนําหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “คุณธรรมนําความรู” มาใชเปนหลักนํา ทั้งนี้เพราะการปฏิรูปการศึกษาดังกลาวจะนําไปสูการแกปญหาทั้งมวล ไมวาจะเปนปญหาการเมือง และเศรษฐกิจ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปนหนวยงานหลักที่รับผิดชอบในการกํากับ ดูแลประสานและสงเสริมการบริหารจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ทั่วประเทศ จะตองรวมมือรวมใจระดมสรรพกําลังจากทุกภาคสวนเพื่อทําใหนโยบายประสบผลสําเร็จ (สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2547:1) กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : ข) ใหนโยบายในการจัดการศึกษาไว 5 ประเด็น ไดแก 1. การเรงรัดปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนําความรู สรางความตระหนักสํานึกในคุณคาของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันทสันติวิธี วิถีชีวิตประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใชคุณธรรมเปน พื้นฐานของกระบวนการเรียนรูที่เชื่อมโยง ความรวมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทาง การศึกษาและสถาบันการศึกษา โดยมีมาตรการปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูทุกระบบและประเภททางการศึกษา พัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถ จัดหลักสูตรและการเรียนการสอน และสรางเครือขายคุณธรรมในทุกเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจน เชื่อมโยงความรวมมือรวมคิด รวมทํา ของบานวัดโรงเรียน 2.ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประชาชนใหกวางขวางและทั่วถึง โดยไมเก็บคาใชจาย โดยจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหเด็กที่มีอายุ 7–16 ป และจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป โดยไมเก็บคาใชจาย 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับ โดยใหมีการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนาการสอน
  • 4. 4 ของครูและปรับปรุงวิธีการเรียนรูของนักเรียนแกปญหาครูขาดแคลน โดยเนนพื้นที่กลุมสาระ ใช เทคโนโลยีชวยเพิ่มคุณภาพขอขยายโอกาสทางการศึกษา 2.การกระจายอํานาจไปสูเขตพื้นที่และสถาน ศึกษา โดยมีมาตรการกระจายอํานาจดานวิชาการ การบริหารดานบุคคล งบประมาณ การจัดการทั่วไป สําหรับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา พัฒนาผูบริหาร ศึกษานิเทศกและครูแกนนําของเขตพื้นที่ และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นํารองการบริหารจัดการแบบกระจายอํานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี ศักยภาพและความพรอม เปลี่ยนสถานะของสถานศึกษาของรัฐเปนสวนราชการ 3.สงเสริมการมี สวนรวมของประชาชน ภาคเอกชนและทองถิ่น โดยมีการปรับปรุงโครงสรางบทบาทและภาระหนาที่ ของสมาคมผูปกครองและครู คณะกรรมการสถานศึกษาและเขตพื้นที่ ผูมีสวนไดเสียทางการศึกษาได รับผิดชอบกวางขวางขึ้น สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนทุกระดับใหสามารถจัดการศึกษา ไดตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติใหทองถิ่นมีสวนรวมรับผิดชอบการจัดการศึกษารวมกับ เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกระดับ โดยเนนการรวมคิดรวมทําและรวมรับผิดชอบ การจัดการศึกษาปฐมวัยในปจจุบัน แมจะไมเปนการศึกษาภาคบังคับ แตรัฐบาลก็ใหการ สนับสนุนสงเสริมอยางเต็มที่ โดยมุงที่จะเตรียมความพรอมใหกับเด็กกอนเขาเรียนในระดับประถมศึกษา และสงเสริมใหเด็กมีการพัฒนาทุกดานตลอดจนอบรมเลี้ยงดูใหเด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี จากขอมูลและเหตุผลดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาผูวิจัยในฐานะเปนผูบริหารสถานศึกษา มีความสนใจที่อยากนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ ใหมีรายละเอียดชัดเจนเปนรูปธรรม ในการปฏิบัติมากขึ้นเพื่อสรางเปนรูปแบบที่สมบูรณและเหมาะสม ตอไป คําถามในการวิจัย 1. สภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5เปนอยางไร 2. รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ ที่เหมาะสม และเปนไปไดในทางปฏิบัติควรมีลักษณะอยางไร
  • 5. 5 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5 2. เพื่อรางรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5 3. เพื่อนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5 ความสําคัญของการวิจัย 1. การวิจัยในครั้งนี้จะทําใหคนพบรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานตนแบบ ในดานการจัดระบบงาน การจัดทําหลักสูตร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ กระบวนการเรียนการสอน รูปแบบการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5 2. ขอคนพบจากการวิจัยจะเปนประโยชน สําหรับผูบริหารโรงเรียน ผูบริหารการศึกษา ในสังกัดใหมีประสิทธิภาพและเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการศึกษาปฐมวัย ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เปนกรณีศึกษา เปนการศึกษาขอมูลในการสรางและนําเสนอรูปแบบ การบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ โดยมีที่มาจาก 6 โรงเรียน ซึ่งเปน โรงเรียนตนแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต 5 ตัวแปรที่ศึกษา 1. สภาพการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
  • 6. 6 2. รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5 กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการนําเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 โดยผูวิจัยมุงศึกษาสภาพปจจุบันตาม รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ โดยสังเคราะหจากหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ ดังแผนภูมิที่1.1 แผนภูมิที่ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยมศัพทเฉพาะ รูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัย หมายถึง สภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยในชนบท ที่มีความขาดแคลนทั้งสถานศึกษา / บุคคลและสื่ออุปกรณ ประกอบกับสภาพความเปนอยูของเด็ก ผูปกครองที่มีความยากจน ขาดแคลนในทุก ๆ ดาน ใหมีคุณภาพเทาเทียมกับสถานศึกษาในเมือง โดยใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคัดเลือกสถานศึกษาเปนศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบตามเกณฑการ องคประกอบของรูปแบบ - การจัดระบบงาน - การจัดชั้นเรียน - การจัดทําหลักสูตร - การจัดครุและบุคลากรทางการศึกษา - การจัดประสบการณการเรียนรู รูปแบบการบริหารการศึกษา ปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5
  • 7. 7 คัดเลือกศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เริ่มดําเนินการ 2548 ผูบริหาร หมายถึง ผูอํานวยการโรงเรียนในระดับปฐมวัยในถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ หรือผูรักษาราชการแทนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต5 ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครูผูสอนหรือผูที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษา ในระดับปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต5 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานีเขต5 การจัดระบบงาน หมายถึง กระบวนการทํางานโดยระดมทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดของศูนย เด็กปฐมวัยตนแบบมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดชั้นเรียน หมายถึง การบริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดครูและบุคลากรใหรับผิดชอบ ในการดูแลเด็กปฐมวัยตามชั้น การจัดทําหลักสูตรหมายถึง หลักสูตรที่เกิดจากการประสานความรวมมือจากทุกฝาย เชน ครูและบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน และทองถิ่น ที่มีสวนเกี่ยวของในการ จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาของศูนยเด็กตนแบบ การจัดประสบการณการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณตาง ๆ ใหกับเด็ก ปฐมวัย ใหเรียนรูตามวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพ.ศ. 2546 รูปแบบการบริหาร หมายถึง การบริหารจัดการโดยครูและบุคลากรทางการศึกษา ระดม ทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดของศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการทํางาน บรรลุเปาหมาย รูปแบบการศึกษาปฐมวัย หมายถึง การจัดการศึกษาใหกับเด็กที่มีอายุ 3–6ป ในลักษณะ การอบรมเลี้ยงดู และพัฒนาความพรอมของเด็กทั้งรางกาย อารมณ จิตใจ สติปญญา บุคลิกภาพ และ สังคม สถานศึกษาขั้นพื้นฐานตนแบบ หมายถึง สถานศึกษาที่ไดผานการคัดเลือกเปนสถานศึกษา ศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุบลราชธานีเขต5
  • 8. 8