SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี
จัดทาโดย
นางสาว ธิดารัตน์ ผลบรรจง เลขที่ 24
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2
เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียน รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี ที่จัดทาขึ้นเพื่อ หา
ความรู้เพิ่มเติม เรื่อง อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นการสร้างความรู้แก่ตนเอง และเพื่อให้ความรู้แก่
ผู้อื่น หากรายงาน ฉบับนี้ ผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้

นางสาว ธิดารัตน์ ผลบรรจง
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

-อินเทอร์เน็ต(Internet) คืออะไร

1

-ประวัติความเป็นมา

2

-บริการที่ได้รับ

4

-เครื่องปลายทางสามเครื่องและอาร์พา

10

-อ้างอิง

14
ประวัติอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต(Internet) คืออะไร
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็นเครือข่าย เดียวกันทั้ง
โลก หรือทั้งจักรวาล
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามา ใน
เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายของเครือข่าย (A network of network)
สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง
หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมาย ของทั้ง 2 คามารวมกัน จึง
แปลได้ว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่ว
โลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยง
ด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวาง
ที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
ประวัติความเป็นมา
- อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็น
หน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อ
ประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา
- ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward
Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อม
เปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง
และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข้าหากัน
เป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และ
มหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค .ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้
เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง
ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense
Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม
เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติ
มาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่ง
เป็นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น
- ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มา
ใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet
จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP
ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และ
สื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง
- การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบ
กระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทา
ฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ
www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูล ของเว็บที่ลงท้าย
ด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น
- DARPA ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิ
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน
- ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนด
มาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุก
มุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐาน
ของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจาย
ฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
- ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได้รับ ความ
สนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให้ เกิดความรู้ วิธีการ
ประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์
เมื่อเราให้ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในการ
ใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมือ
อย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้
งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มี
ข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เ กิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถจะ
ทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและในระดับบุคคล

บริการที่ได้รับ
(จากประสบการณ์ที่ได้ใช้บริการ ซึ่งคาดว่าเป็นบางส่วนของที่มีบริการอยู่ในปัจจุบัน )
[ Telnet | Electronic mail | Usenet news | FTP | WWW | Net2Phone | NetMeeting | ICQ | IRC | Game
online | Software updating | Palm หรือ PocketPC | Wap ]
telnet
• เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สาหรับติดต่อกับเครื่อง Server ที่เป็น UNIX หรือ LINUX เพื่อใช้เข้าไปควบคุม
การทางานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรมประมวลผลใด
ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานในเครื่องนั้น เป็นต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะยอมให้
ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจากระบบ UNIX นี้เอง
• ประโยชน์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ใน Telnet
สาหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่รู้ตัว ว่าตนเองกาลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่อ
งานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON
University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คาสั่ง mail ในการรับ-ส่งมาก
• แต่ผู้ใช้ที่ใช้ E-Mail กับเครื่อง UNIX หรือ LINUX ซึ่งใช้ตามมาตรฐาน IMAP มักเป็นกลุ่มนักศึกษา ใน
มหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยได้ให้บริการ E-Mail ซึ่งมีข้อจากัดบางประการ และหลายมหาวิทยาลัย เช่นกัน
ที่ทาฐานข้อมูล Mail ใน UNIX และให้บริการ Mail ผ่าน browser ได้ ซึ่งเป็นหลักการที่ผู้ให้บริการ mail
ฟรีหลายแห่งใช้กันอยู่
• สาหรับโปรแกรม Telnet ผู้ต้องการใช้บริการ ไม่จาเป็นต้องไป download เพราะเครื่องที่ทาการติดตั้ง
TCP/IP จะติดตั้งโปรแกรม telnet.exe ไว้ในห้อง c:windows เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อยู่แล้ว แต่
ปัญหาหนักอยู่ที่วิธีการใช้ เพราะระบบ UNIX เป็นการทางานใน Text mode เป็นหลัก การจะใช้คาสั่งต่าง
ๆ ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้มาก่อน จึงจะใช้งานได้ในระดับที่พึ่งตนเองได้ มิเช่นนั้นก็จะเหมือน คนตาบอดเดินอยู่
กลางถนน หากใช้คาสั่งไม่ถูกต้อง อาจทาให้เกิดปัญหาทั้งกับตนเอง และระบบได้ภาพ mailtel.gif
Electronic mail
• บริการ E-Mail ฟรี เป็นบริการที่มีผู้ใช้กันมาก เพราะใช้สาหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผู้ที่ต้องการติดต่อ
ด้วย และใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และผู้รับจะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ส่งไป
ผู้ใหับริการ E-Mail ฟรีในปัจจุบัน เช่นของ hotmail หรือ yahoo mail หรือ ตามแต่ละประเทศ ที่คนใน
ประเทศจะทา Server ให้บริการ สาหรับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรือ
chaiyo.com ซึ่งเป็นของคนไทย และ mail ฟรีเหล่านี้จะให้บริการไปเรื่อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะ
หมดอายุถ้าผู้ใช้เกิดเลิกใช้เป็นเวลานานเกินไป สาหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่
สาเร็จการศึกษา จึงเป็นจุดบกพร่องข้อใหญ่ ที่ทาให้นักศึกษา หันไปใช้ E-Mail ฟรี มากกว่าที่สถาบัน จัดไว้
ให้
• การใช้ E-Mail กับผู้ให้บริการฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com หรือ chaiyo.com นั้น ผู้ใช้
จะต้องไป download โปรแกรม browser เช่น netscape หรือ Internet Explorer หรือ Opera หรือ NeoPlanet
มาไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อ Internet แล้วเปิดหน้าเว็บของแหล่งบริการ เพื่อใช้บริการ E-Mail ดังกล่าว
ซึ่งผู้ใช้จะต้องขอใช้บริการ และจะได้รับ userid และ password ประจาตัว เพื่อ login เข้าใช้บริการ E-Mail
ทุกครั้ง
• ปัจจุบันการขอใช้บริการ E-Mail สามารถเลือกได้ที่จะใช้ web-based หรือ POP เพราะแต่ละแบบมีจุดเด่น
จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผู้ที่เดินทางเป็นประจา ส่วน pop จะเหมาะกับผู้มี
คอมพิวเตอร์ส่วนตัว
• รายละเอียดเกี่ยวกับ e-mail อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaiall.com/article/mail.htm

USENET news หรือ News group
• ในยุคแรกของ Internet บริการ USENET ได้มีผู้ใช้บริการ อย่างแพร่หลายอย่างมาก เพราะเป็นแหล่ง ที่ผู้ใช้ จะ
ส่งคาถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่พอจะตอบคาถามได้ จะช่วยตอบ ทาให้เกิดสังคมของ การแลกเปลี่ยน
ข่าวสาร นอกจากการส่งข้อความเข้าไปใน USENET แล้ว ผู้ใช้ยังส่งแฟ้มในรูปแบบใด ๆ เข้าไปก็ได้ ซึ่งเรียกว่า
Attach file หากแฟ้มที่ส่งเข้าไปเป็นภาพ gif หรือ jpg หรือแฟ้มที่มีการรองรับ ในระบบ internet ก็จะเปิดได้
ทันทีด้วย browser หรือแล้วแต่โปรแกรมที่ใช้เปิด USENET นั้น
• แต่สาหรับประเทศไทย ผมสังเกตุว่า มีการเข้าไปใช้บริการในส่วนนี้ไม่มาก เพราะกลุ่มข่าว(News group) ที่
ชื่อ soc.culture.thai ซึ่งเป็น 1 ในหลายหมื่นกลุ่มข่าว และมีชื่อที่เป็นไทยอย่างชัดเจน กลับมีคนต่างชาติ เข้าไป
ฝากข้อความไว้กว่าครึ่ง และมีคนไทยเพียงครึ่งเดียว ซึ่งเข้าใจว่าผู้ใช้ Internet ในประเทศไทยมักเน้นการใช้
บริการ Internet 3 อย่างนี้ คือ Browser และ PIRC และ ICQ
• อีกเหตุผลหนึ่ง ที่คนไทยไม่ได้เข้าไปใช้บริการ USENET เท่าที่ควรก็เพราะ ในเว็บของคนไทยหลาย ๆ เว็บจะ
ให้บริการที่ชื่อว่า wwwboard ผ่าน browser อยู่แล้ว ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับ USENET อย่างมาก ทาให้คน
ไทยหันมาใช้ wwwboard แทน USENET ซึ่งต้องติดตั้งข้อกาหนดเพิ่มเติมให้กับ browser ซึ่งอาจรู้สึกยุ่งยาก ไม่
รู้ หรือไม่คุ้นเคยก็เป็นได้ และปัจจุบันบริการต่าง ๆ มักจะรวมมาไว้ใน browser อย่างสมบูรณ์ ทาให้ผู้ใช้
มากมาย ไม่เห็นความจาเป็นที่ต้องไปใช้โปรแกรมอื่น เพราะทุกวันนี้ก็ใช้บริการ ที่อยู่ใน browser ไม่หมดแล้ว
เช่น web, mail, chat, wwwboard, game, quiz, pager, news, postcard, shopping, download เป็นต้น
• ถ้าเครื่องท่านถูก setup ให้อ่าน news ได้ ท่านสามารถเข้าไปที่ soc.culture.thai เพื่ออ่าน หรือส่งข่าวสาร ต่าง ๆ
ได้
FTP (File Transfer Protocal - บริการโอนย้ายข้อมูล)
• บริการนี้ สามารถใช้ download แฟ้มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก
server มาไว้ในเครื่องของตน แต่ถ้าจะ upload แฟ้ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้มจากเครื่องของตน เข้าไปเก็บใน
server เช่นการปรับปรุง homepage ให้ทันสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง
จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรือ wsftp หรือ ftp ของ windows
• การ download นั้นไม่ยาก หากผู้ให้บริการยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้มใน server ของตน และ
ผู้ใช้บริการรู้ว่าแฟ้มที่ต้องการนั้นอยู่ ที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็น และมีความเป็น
เจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทา รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิทธิในการเข้าใช้บริการ การศึกษาการ
ส่งแฟ้มเข้าไปใน server อาจต้องหา บทเรียน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรือหาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริการ
upload แฟ้ม ซึ่งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยู่แล้ว
WWW
• World Wide Web คือบริการที่ให้ผู้ใช้ ใช้โปรแกรม Browser เช่น Netscape, Internet Explorer, Opera หรือ
Neoplanet เป็นต้น ในการเปิดข้อมูลในลักษณะ Homepage ซึ่งสามารถนาเสนอได้ทั้งภาพ ภาพเคลื่อนไหว และ
เสียง ทาให้มีการแพร่หลาย และเป็นสื่อที่ได้รับความสนใจ และเติบโตอย่างรวดเร็ว
• บริการผ่านเว็บนี้ ได้รับการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อในลักษณะ Interactive ด้วย
โปรแกรมสนับสนุนต่าง ๆ จนทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การดูภาพยนต์ ผ่านเว็บ ,
การเล่นเกมส์, การทาข้อสอบ, การส่ง mail, การส่ง pager, การติดต่อซื้อขาย, การส่ง postcard เป็นต้น
Net2Phone
• บริการนี้คือการโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องรับโทรศัพท์จริง ๆ และได้รับความนิยม เป็นอย่าง
มาก เพราะมีอัตราค่าโทรศัพท์ที่ถูกกว่า และยังมีบริการ Net2Fax ซึ่งให้บริการ Fax เอกสาร
จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่อง Fax จริง ๆ ซึ่งมีอัตราค่าบริการที่ถูกกว่าเช่นกัน
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมมาติดตั้ง และจะต้องจ่ายเงินก่อน ซึ่งเป็นการซื้อเวลาล่วงหน้า เมื่อ
มีการใช้บริการ จึงจะหักค่าใช้บริการจากที่ซื้อไว้
Netmeeting
• เป็นโปรแกรมที่มีชื่อมาก เพราะทาให้คนจากซีกโลกหนึ่ง สามารถติดต่อกับอีกซีกโลก ด้วยเสียงจาก
คอมพิวเตอร์ ซึ่งคล้ายโทรศัพท์ แต่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่อย่างใด และโปรแกรมในลักษณะนี้ ยัง
เพิ่มความสามารถในการทางานร่วมกับ เครื่องรับภาพ digital ดังนั้นคนที่มีโปรแกรมนี้จะคุยกันและ เห็นภาพ
ของแต่ละฝ่าย จึงทาให้การติดต่อมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง แต่ปัญหาที่สาคัญในการติดต่อแบบนี้คือเรื่อง ของ
ความเร็ว เพราะการติดต่อด้วยเสียง อาจได้เสียงที่ไม่ชัดเจน หรืออาจขาดหายระหว่างการสนทนา หาก
ความเร็วในการเชื่อมต่อ internet ไม่เร็วพอ และจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าจะเพิ่มการรับ-ส่งภาพ แบบ VDO สาหรับ
เครื่องที่เชื่อมต่อด้วยความเร็วต่า
ICQ
• บริการนี้เป็น บริการที่เยี่ยมมาก และได้รับความนิยม เพิ่มขึ้นทุกวัน เพราะผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ เป็นของตนเอง
และมีโปรแกรม ICQ อยู่ในเครื่อง จะสามารถติดต่อกับเพื่อน ที่ใช้โปรแกรม ICQ อยู่ได้อย่างสะดวก เพราะ
เมื่อเปิดเครื่อง โปรแกรมนี้จะแสดงสถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ทาการตรวจสอบไว้ ว่า Online อยู่
หรือไม่ เปรียบเสมือนการมี pager ติดคอมพิวเตอร์ไว้ทีเดียว
• ได้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเสริมอีกมากมาย ให้ ICQ สามารถทางานได้หลายหลายมากขึ้น และยิ่ง แพร่กระจาย
ได้เร็ว ในกลุ่มหนุ่มสาว ที่ต้องการเพิ่ม เพราะจะแสดงสถานะของ เครื่องเพื่อน เมื่อเปิด คอมพิวเตอร์ ทาให้
สามารถติดต่อได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องโทรไปถามบ่อย ๆ ว่าเปิดคอมพิวเตอร์หรือยัง เป็นต้น
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็นโปรแกรมที่ download ได้ฟรี
IRC : Internet Relay Chat
• บริการนี้คนไทยทุกวัย ชอบกันมาก โดยเฉพาะโปรแกรม PIRC เพราะทาให้สามารถคุยกับใครก็ได้ที่ใช้
โปรแกรม PIRC การคุยกันจะใช้ผ่านแป้นพิมพ์เป็นสาคัญ โดยไม่ต้องเห็นหน้า หรือรับผิดชอบต่อสิ่ง ที่พิม พ์
ออกไป อย่างจริงจัง เพราะไม่มีการควบคุมจากศูนย์ที่ชัดเจน ทาให้ทุกคนมีอิสระที่จะคิดจะส่ง ข้อมูลออกไป
ได้ทุกชาติ ทุกภาษา
• ใน IRC ใด ๆ มักจะมีการแบ่งเป็นห้อง ๆ โดยมีชื่อห้องบอกว่า ในห้องนั้นจะคุยกันเรื่องอะไร เช่น "วิธีแก้
เหงา" หากใครต้องการคุยถึงวิธีแก้เหงา เข้าไปในห้องนั้น หรือหลาย ๆ ห้องได้ และแสดงความเห็น อะไร
ออกไปก็ได้ และยังสามารถเลือกคุยกับใครเป็นการส่วนตัว หรือจะคุยให้ทุกคน ที่เปิดหัวข้อนี้ รับทราบก็ได้
เมื่อคุยกันถูกคอก็สามารถ ที่จะนัดพบกันตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อนสร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรือจะนัดคุยกัน
ในคอมพิวเตอร์ ในครั้งต่อไป ในห้องที่กาหนดขึ้นก็ได้ จึงทาให้ทุกเพศทุกวัยชื่นชอบ ที่จะใช้บริการนี้อย่าง
มาก
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็น Shareware หากผู้ใช้พอใจ สามารถที่จะ
ลงทะเบียนเพื่อจ่ายเงิน $20 ได้
Game online
• เกมกลยุทธหลาย ๆ เกมที่ โปรแกรมจะจาลองสถานการณ์การรบ ทาให้ผู้ใช้สามารถต่อสู้กับ
คอมพิวเตอร์ เสมือนคอมพิวเตอร์คิดเอง และสู้กับเราได้ แต่ก็ยังมีจุดบกพร่องของเกมที่ไม่สามารถสร้าง
ความมันส์ เหมือนกับการสู้กับคนที่คิด และพูดกับอีกฝ่ายได้ จึงได้มีการสร้างเกม และบริการที่ทา ให้ผู้
ใช ้ ้ต่อสู้กัน โดยให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไปในเครื่องบริการ แล้วเสียเงินลงทะเบียน จากนั้นจะสามารถขอเข้าไป
เล่นเกมกับใครก็ได้ในโลก ที่เสียเงินเช่นกัน และพูดคุยกันผ่านแป้นพิมพ์ เป็นการทา ความรู้จักกัน
ในขณะเล่นเกมได้อีกด้วย ซึ่งเป็นบริการที่กาลังเติมโต อย่างรวดเร็วอีกบริการหนึ่ง ในโลก Internet
Software Updating
• มีโปรแกรมมากมายที่ใช้ประโยชน์จาก Internet และหนึ่งในนั้นก็คือ บริการปรับปรุงโปรแกรม แบบ
Online เช่น โปรแกรมฆ่าไวรัส ที่มีชื่อเสียง เกือบทุกโปรแกรม จะยอมให้ผู้ใช้ สามารถปรับปรุงข้อมูลใหม่
เพื่อใช้สาหรับเตรียมต่อสู้กับไวรัส ที่มาใหม่เสมอ ผู้ใช้เพียงแต่เลือก Click บนปุ่ม Update จากนั้น
โปรแกรมจะทาทุกอย่างใหม่หมด จนกระทั่งการ update สมบูรณ์ หรือแม้แต่ Microsoft Windows ที่ยอม
ให้ผู้ใช้สามารถ Update โปรแกรมที่ตนขายไปแล้ว แต่มาพบข้อผิดพลาดทีหลัง หลังจากแก้ไข จะยอมให้
ผู้ใช้ Update โปรแกรมได้ฟรี เพราะถือเป็นความผิดพลาดที่ต้องรับผิดชอบ เป็นต้น
Palm หรือ PocketPC
• Palm หรือ PocketPC นั้นต่างก็เป็น Organizer ยุคใหม่มีอีกชื่อหนึ่งว่า PDA (Personal Digital Assistant)
ซึ่งถูกตั้งชื่อโดย Apple ตั้งแต่ปี 1990 แต่สมัยนั้นยังไม่สาเร็จ จึงมีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
• คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่มีความสามารถสูงมาก เพราะสามารถพัฒนาโปรแกรม สั่งให้ palm ทางานได้
หลาย ๆ อย่าง ทาให้ความสามารถหลักด้าน organizer กลายเป็นส่วนประกอบไปเลย เพราะมี
ผู้พัฒนาโปรแกรมให้กับ palm มากทีเดียว คนไทยก็ทาครับ เพื่อให้ palm เข้าใจภาษาไทย และใช้ปากกา
เขียนภาษาไทยให้ palm อ่านรู้เรื่องได้ทันที
• Palm สามารถทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน โดยผู้ใช้ palm สามารถเขียน
mail ใน palm เพื่อต้องการส่งก็ upload เข้าคอมพิวเตอร์ที่ online กับ internet แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทา
หน้าที่ส่ง mail ให้อัตโนมัติ รวมถึงการรับ mail ใหม่เข้าไปใน palm ทาให้สามารถอ่าน mail จากที่ไหนก็
ได้ แต่เป็นการทางานแบบ offline นะครับ ไม่เหมือนมือถือที่อ่าน mail ได้แบบ online แต่ palm ไม่ใช่มือ
ถือครับ
ภาพทั้งหมดเกี่ยวกับ palm ได้มาจาก http://www.palm.com
PocketPC คืออะไร
คือ ผลจากที่ปี 1998 Microsoft แนะนา WindowCE ซึ่งทางานกับ Palm-sized PC ซึ่งพยายามตี palm ให้
แตก ด้วยการสร้างระบบปฏิบัติการ ที่เป็นมาตรฐานใหม่ บริษัทต่าง ๆ ที่สนใจจึงเริ่มผลิตสินค้า ที่ใช้
Windows CE โดยมีชื่อเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ว่า PocketPC คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่กาหนดมาตรฐานโดย
Microsoft เจ้าเก่า(งานนี้ palm อาจต้องหนาว) ทาให้ PocketPC ที่ผลิดโดยบริษัทใดก็แล้วแต่ เช่น Compaq,
Casio, HP เป็นต้น สามารถเปิดเว็บ พิมพ์ Word หรือ Excel ฟัง MP3 หรือแม้แต่ดูหนัง ก็ยังได้
กองทัพอุปกรณ์เทคโนโลยี จาก casio.com นาทัพโดย PocketPC ที่จะมาโค่น palm
WAP
• Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้โทรศัพท์ สามารถเปิดเว็บที่ถูกเขียนมาเพื่อ
โทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะได้ เว็บของไทยที่ให้บริการแล้ว เช่น http://wap.wopwap.com,
http://wap.siam2you.com, http://wap.a-roi.com, http://wap.mweb.co.th เป็นต้น
• โทรศัพท์ที่ออกมาให้บริการแล้ว เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel
OneTouch View WAP หรือ 300 family หรือ 500 family หรือ 700 family, MotorolaV8088 เป็นต้น
• เว็บที่มีข้อมูลเรื่อง wap เช่น wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com,
waptastic.com เป็นต้น
WAP ย่อมาจากคาว่า Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่สามารถทาให้โทรศัพท์มือถือ
หน้าจอเล็กๆ ของคุณสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้โดยตรง ทาให้คุณสามารถ ทาอะไร
ได้หลากหลายเสมือนกับคุณใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน Browser เลยทีเดียว ไม่
ว่าจะเป็น การค้นหาสืบค้นข้อมูล หรือการใช้บริการต่างๆ ของ WAP Site และที่สาคัญที่สุดคือ คุณ
สามารถทากิจกรรมเหล่านี้ได้ทุกที่ทุกเวลาตราบใดที่ยังมีสัญญาณมือถือ หรือสัญญาณ GPRS อยู่นั่นเอง
เครื่องปลายทางสามเครื่องและอาร์พา
เจ.ซี.อาร์. ลิกไลเดอร์ ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกในการเรียกร้องการพัฒนาเครือข่ายระดับโลกคนหนึ่ง ได้เสนอ
ความคิดของเขาไว้ในบทความวิชาการชื่อ "Man-Computer Symbiosis" ตีพิมพ์เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ.
1960 ดังนี้
A network of such [computers], connected to one another by wide-band communication lines"
which provided "the functions of present-day libraries together with anticipated advances in information
storage and retrieval and [other] symbiotic functions. " —เจ.ซี.อาร์. ลิกไลเดอร์[1]
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1962 ลิกไลเดอร์ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสานักงานประมวลผลข้อมูลของอาร์
พา หน่วยงานของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา และได้ตั้งกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการภายในดาร์พาขึ้นกลุ่ม
หนึ่งเพื่อวิจัยทางคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ได้มีการติดตั้งเครื่องปลายทางขึ้นสามเครื่อง เครื่องหนึ่งติดตั้งที่ ซิส
เต็มดีเวลอปเมนต์คอร์เปอเรชัน ในเมืองแซนทามอนิกา อีกเครื่องหนึ่งสาหรับโครงการจีนีในมหาวิทยาลัย
แคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ และอีกเครื่องหนึ่งสาหรับโครงการชอปปิงซึ่งใช้ระบบปฏิบัติการมัลทิกส์ ในสถาบัน
เทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทั้งสามเครื่องนี้มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งในบทบาทของสานักประมวลผลข้อมูลฯ
ความต้องการวิธีเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่ายของลิกไลเดอร์จะเห็นได้เป็นรูปธรรมจากปัญหาทางเทคนิค
ของโครงการนี้
แพกเกตสวิตชิง
ปัญหาหนึ่งในบรรดาปัญหาการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคือการเชื่อมต่อเครือข่ายทางกายภาพที่
แตกต่างกันหลายเครือข่ายเข้าด้วยกันเสมือนเป็นเครือข่ายเชิงตรรกเครือข่ายเดียว ในคริสต์ทศวรรษ
1960 ดอนัลด์ เดวีส์ (ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา) พอล บาแรน (แรนด์คอร์เปอเรชัน )
และเลเนิร์ด ไคลน์ร็อก (เอ็มไอที) ได้ร่วมกันพัฒนาแนวคิดแพกเกตสวิตชิงและพัฒนาระบบตามแนวคิดนั้น
ขึ้น ความเชื่อที่ว่าอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถอยู่รอดได้หลังการโจมตีโดยอาวุธนิวเคลียร์นั้น มี
รากฐานมากจากทฤษฎีที่แรนด์พัฒนาขึ้นในช่วงแรก ๆ นี่เอง งานวิจั ยของบาแรนซึ่งศึกษาการกระจาย
เครือข่ายโดยไม่มีศูนย์กลางเพื่อหลีกเลี่ยงการความเสียหายจากการสู้รบซึ่งทาให้เครือข่ายไม่สามารถใช้การ
ได้นั้น ได้นาไปสู่การพัฒนาแพกเกตสวิตชิงในเวลาต่อมา [3]
อาร์พาเน็ต
เมื่อรอเบิร์ต เทเลอร์ได้รับการเลื่อนตาแหน่งให้เป็นหัวหน้าสานักงานประมวลผลข้อมูลของอาร์
พา เขาได้พยายามที่จะทาให้ความคิดของลิกลิเตอร์ในเรื่องระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นจริงขึ้นมา เท
เลอร์ได้ขอตัวแลร์รี รอเบิตส์ จากเอ็มไอที และตั้งโครงการเพื่อสร้างเครือข่ายดังกล่าวขึ้น การเชื่อมโยง
เครือข่ายอาร์พาเน็ตครั้งแรกเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และ
สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ในวันที่ 29 ตุลาคมค.ศ. 1969 เครือข่ายได้เพิ่มเป็นสี่จุดในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ.
1969 โดยเพิ่มมหาวิทยาลัยยูทาห์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย แซนทาบาร์บารา หลังจากนั้น โดยอาศัย
แนวคิดต่าง ๆ ที่ได้จากการพัฒนาอะโลฮาเน็ต อาร์พาเน็ตได้ถือกาเนิดขึ้นใน ค.ศ. 1972 และเติบโตขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ใน ค.ศ. 1981 จานวนโฮสต์ได้เพิ่มขึ้นเป็น 213 โฮสต์ และมีโฮสต์ใหม่เพิ่มขึ้นประมาณทุ ก ๆ 20 วัน
อาร์พาเน็ตได้กลายเป็นแก่นทางเทคนิคของสิ่งที่จะกลายเป็นอินเทอร์เน็ตในเวลาต่อมา และยังเป็น
เครื่องมือหลักอันหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต การพัฒนาอาร์พาเน็ตนั้นมีศูนย์กลางอยู่ที่
กระบวนการอาร์เอฟซี ซึ่งมีไว้สาหรับการเสนอและกระจายเกณฑ์วิธีและระบบอินเทอร์เน็ต กระบวนการนี้
ยังคงใช้จนกระทั่งปัจจุบัน อาร์เอฟซี 1 ซึ่งมีชื่อว่า "Host Software" เขียนโดยสตีฟ ครอกเกอร์จาก
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และตีพิมพ์เมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1969 ปีแรก ๆ ของอาร์พาเน็ตได้ถูก
บันทึกไว้ในภาพยนตร์สารคดีปี 1972 เรื่อง Computer Networks: The Heralds of Resource Sharing
ความร่วมมือในระดับนานาชาติบนอาร์พาเน็ตนั้นนับว่ าเบาบาง ด้วยเหตุผลทางการเมืองหลายข้อ
นักวิจัยในยุโรปนั้นจึงข้องเกี่ยวกับการพัฒนาเครือข่าย X.25 มากกว่า ข้อยกเว้นที่ควรบันทึกไว้ได้แก่การเข้า
ร่วมของกลุ่มเครื่องวัดแผ่นดินไหวนอร์เวย์ ใน ค.ศ. 1972 ตามด้วยสวีเดนใน ค.ศ. 1973 โดยการเชื่อมโยง
ผ่านดาวเทียมที่สถานีภาคพื้นที่เมืองทานุม และยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจลอนดอน
อนึ่ง อาร์พา (ARPA) เปลี่ยนชื่อเป็นดาร์พา (DARPA) ใน ค.ศ. 1972 และมีการเปลี่ยนชื่อกลับไป
กลับมาอีกหลายครั้ง แต่อาร์พาเน็ตยังคงใช้ชื่อเดิม
X.25
โดยอาศัยงานวิจัยของอาร์พา สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ได้พัฒนามาตรฐาน
เครือข่ายแพกเกตสวิตชิงขึ้นในรูปของ X.25 และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึง ค.ศ. 1974 X.25 ได้
ก่อตั้งพื้นฐานสาหรับเครือข่าย SERCnet ระหว่างสถาบันวิชาการและสถาบันวิจัยต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักร
ขึ้น ซึ่งในภายหลังได้กลายเป็น JANET มาตรฐานขั้นต้นของไอทียูเกี่ยวกับ X.25 ได้รับการรับรองในเดือน
มีนาคม ค.ศ. 1976 โดยมาตรฐานดังกล่าวมีพื้นฐานอยู่บนแนวคิดเรื่องวงจรเสมือน
สานักงานไปรษณีย์สหราชอาณาจักร เวสเทิร์นยูเนียนอินเตอร์แนชันแนล และทิมเน็ตได้ร่วมมือกัน
สร้างเครือข่ายแพกเกตสวิตชิงระดับนานาชาติขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้ชื่อว่า International Packet Switched
Service (IPSS) ใน ค.ศ. 1978 เครือข่ายนี้เติบโตจากทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาไปยังแคนาดา ฮ่องกง และ
ออสเตรเลียใน ค.ศ. 1981 เครือข่ายนี้ได้กลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายระดับโลกในคริสต์
ทศวรรษ 1990
ต่างจากอาร์พาเน็ต X.25 นั้นมีให้ใช้ทั่วไปเพื่อการใช้งานทางธุรกิจด้วย X.25 ได้ถูกนาไปใช้ใน
เครือข่ายสาธารณะเข้าถึงได้ (public access network) โดยการหมุนโทรศัพท์ในยุคแรก ๆ เช่น คอมพิวเซิร์ฟ
และทิมเน็ต ใน ค.ศ. 1979 คอมพิวเซิร์ฟเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่ให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถใช้
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ รวมทั้งมีบริการสอบถามแก้ไขปัญหาทางเทคนิคด้วย คอมพิวเซิร์ฟยังเป็นราย
แรกที่ให้บริการสนทนาแบบเรียลไทม์ด้วยโปรแกรม CB Simulator นอกจากคอมพิวเซิร์ฟ ผู้ให้บริการ
เครือข่ายแบบหมุนโทรศัพท์รายอื่นมีอาทิ อเมริกาออนไลน์ และโพรดิจี นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายกระดานข่าว
อิเล็กทรอนิกส์ (บีบีเอส) อีกหลายเครือข่าย เช่น ไฟโดเน็ต สาหรับไฟโดเน็ตนั้นเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นงานอดิเรก ซึ่งหลายคนในนั้นเป็น แฮกเกอร์และนักวิทยุสมัครเล่น
UUCP
ใน ค.ศ. 1979 นักศึกษามหาวิทยาลัยดุกสองคน ได้แก่ ทอม ทรัสคอตต์ และ จิม เอลลิส ได้เกิด
ความคิดที่จะใช้ภาษาเชลล์สคริปต์บอร์นอย่างง่าย ๆ เพื่อส่งข่าวและข้อความผ่านสายอนุกรมกับ
มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา ณ แชเพิลฮิลล์ ที่อยู่ใกล้กัน หลังจากซอฟต์แวร์ดังกล่าวได้เผยแพร่สู่
สาธารณะ ข่ายของโฮสต์ที่ใช้ UUCP ก็ได้ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว เครือข่ ายดังกล่าว ที่ต่อมาจะใช้ชื่อ
UUCPnet ยังได้สร้างเกตเวย์และการเชื่อมโยงระหว่างไฟโดเน็ตและโฮสต์บีบีเอสแบบหมุนโทรศัพท์หลาย
ๆ แห่งขึ้นด้วย เครือข่าย UUCP ได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่า และยังสามารถใช้
สายเช่าที่มีอยู่เดิม ลิงก์ของ X.25 หรือการเชื่อมต่อของอาร์พาเน็ตได้ด้วย ใน ค.ศ. 1983 จานวนโฮสต์ UUCP
ได้เพิ่มขึ้นเป็น 550 โฮสต์ และเพิ่มเป็น 940 โฮสต์หรือเกือบสองเท่าใน ค.ศ. 1984
TCP/IP
ได้มีความพยายามที่จะรวมวิธีติดต่อของเครือข่ายต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วเข้าด้วยกัน โดยรอเบิร์ต
อี. คาห์นจากดาร์พาและอาร์พาเน็ตได้ขอตัววินต์ เซิร์ฟจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเพื่อทางานร่วมกับเขา
เพื่อแก้ปัญหานี้ ใน ค.ศ. 1973 ทั้งสองได้พัฒนาแนวทางแก้ไขขั้นมูลฐานขึ้น โดยในแนวทางนี้ ความแตกต่าง
ระหว่างเกณฑ์วิธีต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้โดยใช้เกณฑ์วิธีระหว่างเครือข่ายแบบใดแบบหนึ่งร่วมกัน และแทนที่
ตัวเครือข่ายจะรับผิดชอบเรื่องความเชื่อถือได้ของข้อมูลอย่างในอาร์พาเน็ต โฮสต์จะเป็นผู้รับผิดชอบแทน
เซิร์ฟยกความดีความชอบเกี่ยวกับงานสาคัญ ๆ ในการออกแบบเกณฑ์วิธีนี้ให้แก่ ฮิวเบิร์ต ซิมเมอร์แมน
, เชราร์ เลอลาน และลุย ปูแซง (ผู้ออกแบบเครือข่าย CYCLADES) [7]
เมื่อบทบาทของตัวเครือข่ายได้ถูกลดลงจนเหลือน้อยที่สุดแล้ว จึงเป็นไปได้ที่จะเชื่อมเครือข่ายใด ๆ
แทบทุกแบบเข้าด้วยกัน ไม่ว่าคุณลักษณะของเครือข่ายนั้น ๆ จะเป็นเช่นไร อันเป็นการแก้ปัญหาขั้นต้นที่
คาห์นตั้งไว้ ดาร์พาได้เห็นชอบที่จะให้เงินทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ต้นแบบ และหลังจากการลงแรงเป็น
เวลาหลายปี จึงได้มีการสาธิตเกตเวย์อย่างหยาบ ๆ เป็นครั้งแรกระหว่างเครือข่ายแพกเกตเรดิโอในซานฟราน
ซิสโกเบย์แอเรียกับอาร์พาเน็ต ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1977 ได้มีการสาธิตการเชื่อมต่อระหว่าง
เครือข่ายสามแห่ง ซึ่งได้แก่ อาร์พาเน็ต , เครือข่ายแพกเกตเรดิโอ และเครือข่ายแอตแลนติกแพกเกตแซเทล
ไลต์ ซึ่งทั้งหมดอุปถัมภ์โดยดาร์พา ในส่วนของเกณฑ์วิธี เริ่มต้นจากข้อกาหนดคุณลักษณะรุ่นแรกของ TCP
ใน ค.ศ. 1974เกณฑ์วิธี TCP/IP ได้ก่อตัวเป็นรูปร่างซึ่งใกล้เคียงกับรูปแบบสุดท้ายในประมาณกลางปีถึง
ปลายปี ค.ศ. 1978 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องได้ตีพิมพ์เป็นอาร์เอฟซี 791, 792 และ 793 และได้ถูกนาไปใช้ ดาร์
พาได้อุปถัมภ์หรือส่งเสริมการพัฒนาการนา TCP/IP ไปใช้จริงในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ จากนั้นจึงได้
กาหนดตารางเวลาในการโยกย้ายโฮสต์ทุกตัวในเครือข่ายแพกเกตของตนไปใช้ TCP/IP ในวันที่ 1
มกราคม ค.ศ. 1983 เกณฑ์วิธี TCP/IP ได้กลายเป็นเกณฑ์วิธีเดียวที่ได้รับการรับรองบนอาร์พาเน็ต แทนที่
เกณฑ์วิธี NCP ที่ใช้แต่เดิม
อ้างอิง
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%
AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95

More Related Content

What's hot

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตguest832105
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbfreeclub
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 

What's hot (16)

เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWb
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Dièdric. la recta
Dièdric. la rectaDièdric. la recta
Dièdric. la recta
 
Instant Christmas Greetings App
Instant Christmas Greetings AppInstant Christmas Greetings App
Instant Christmas Greetings App
 
Quantum Private Comparison based on Entanglement Swapping among EPR Pairs
Quantum Private Comparison based on Entanglement Swapping among EPR PairsQuantum Private Comparison based on Entanglement Swapping among EPR Pairs
Quantum Private Comparison based on Entanglement Swapping among EPR Pairs
 
Keikos checkered cake
Keikos checkered cakeKeikos checkered cake
Keikos checkered cake
 
PowerPoint & Business: A Special Relationship
PowerPoint & Business: A Special RelationshipPowerPoint & Business: A Special Relationship
PowerPoint & Business: A Special Relationship
 
Projeto : Animais a nossa volta 2013
 Projeto : Animais a nossa volta 2013 Projeto : Animais a nossa volta 2013
Projeto : Animais a nossa volta 2013
 

Similar to อินเทอร์เน็ต

บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตFon Kittiya
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550Arrat Krupeach
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)Prapatsorn Keawnoun
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 

Similar to อินเทอร์เน็ต (20)

บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 

More from ใอร่'ลุ๊ขตาล เดก'อินโนเซ้นท์'

More from ใอร่'ลุ๊ขตาล เดก'อินโนเซ้นท์' (13)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
การป้องกันภัยจากสึนามิ
การป้องกันภัยจากสึนามิการป้องกันภัยจากสึนามิ
การป้องกันภัยจากสึนามิ
 
ผักสวนครัวรั้วกินได้
ผักสวนครัวรั้วกินได้ผักสวนครัวรั้วกินได้
ผักสวนครัวรั้วกินได้
 
8 ผักสวนครัวมากประโยชน์
8 ผักสวนครัวมากประโยชน์8 ผักสวนครัวมากประโยชน์
8 ผักสวนครัวมากประโยชน์
 
นางสาว เวสิมา เชื้อสูงเนิน
นางสาว เวสิมา เชื้อสูงเนินนางสาว เวสิมา เชื้อสูงเนิน
นางสาว เวสิมา เชื้อสูงเนิน
 
เวสิมา เชื้อสูงเนิน
เวสิมา เชื้อสูงเนินเวสิมา เชื้อสูงเนิน
เวสิมา เชื้อสูงเนิน
 
ธิดารัตน์ 502
ธิดารัตน์ 502ธิดารัตน์ 502
ธิดารัตน์ 502
 
ริยาพรรณ เรื่อง ผักสวนครัว
ริยาพรรณ เรื่อง ผักสวนครัวริยาพรรณ เรื่อง ผักสวนครัว
ริยาพรรณ เรื่อง ผักสวนครัว
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
0
00
0
 
0
00
0
 
เคร อข ายคอมพ_วเตอร_ 1
เคร อข ายคอมพ_วเตอร_ 1เคร อข ายคอมพ_วเตอร_ 1
เคร อข ายคอมพ_วเตอร_ 1
 

อินเทอร์เน็ต

  • 1. รายงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี จัดทาโดย นางสาว ธิดารัตน์ ผลบรรจง เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียน รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี ที่จัดทาขึ้นเพื่อ หา ความรู้เพิ่มเติม เรื่อง อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นการสร้างความรู้แก่ตนเอง และเพื่อให้ความรู้แก่ ผู้อื่น หากรายงาน ฉบับนี้ ผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ นางสาว ธิดารัตน์ ผลบรรจง ผู้จัดทา
  • 4. ประวัติอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต(Internet) คืออะไร อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็นเครือข่าย เดียวกันทั้ง โลก หรือทั้งจักรวาล อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามา ใน เครือข่าย อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายของเครือข่าย (A network of network) สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมาย ของทั้ง 2 คามารวมกัน จึง แปลได้ว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่ว โลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยง ด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวาง ที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
  • 5. ประวัติความเป็นมา - อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็น หน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อ ประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา - ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อม เปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข้าหากัน เป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และ มหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค .ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้ เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติ มาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่ง เป็นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น - ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มา
  • 6. ใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และ สื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง - การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบ กระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทา ฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูล ของเว็บที่ลงท้าย ด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น - DARPA ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน - ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนด มาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุก มุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐาน ของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจาย ฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
  • 7. - ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได้รับ ความ สนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให้ เกิดความรู้ วิธีการ ประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในการ ใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมือ อย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้ งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มี ข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เ กิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถจะ ทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและในระดับบุคคล บริการที่ได้รับ (จากประสบการณ์ที่ได้ใช้บริการ ซึ่งคาดว่าเป็นบางส่วนของที่มีบริการอยู่ในปัจจุบัน ) [ Telnet | Electronic mail | Usenet news | FTP | WWW | Net2Phone | NetMeeting | ICQ | IRC | Game online | Software updating | Palm หรือ PocketPC | Wap ] telnet • เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สาหรับติดต่อกับเครื่อง Server ที่เป็น UNIX หรือ LINUX เพื่อใช้เข้าไปควบคุม การทางานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรมประมวลผลใด ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานในเครื่องนั้น เป็นต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะยอมให้ ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้อย่างมี
  • 8. ประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจากระบบ UNIX นี้เอง • ประโยชน์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ใน Telnet สาหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่รู้ตัว ว่าตนเองกาลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่อ งานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คาสั่ง mail ในการรับ-ส่งมาก • แต่ผู้ใช้ที่ใช้ E-Mail กับเครื่อง UNIX หรือ LINUX ซึ่งใช้ตามมาตรฐาน IMAP มักเป็นกลุ่มนักศึกษา ใน มหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยได้ให้บริการ E-Mail ซึ่งมีข้อจากัดบางประการ และหลายมหาวิทยาลัย เช่นกัน ที่ทาฐานข้อมูล Mail ใน UNIX และให้บริการ Mail ผ่าน browser ได้ ซึ่งเป็นหลักการที่ผู้ให้บริการ mail ฟรีหลายแห่งใช้กันอยู่ • สาหรับโปรแกรม Telnet ผู้ต้องการใช้บริการ ไม่จาเป็นต้องไป download เพราะเครื่องที่ทาการติดตั้ง TCP/IP จะติดตั้งโปรแกรม telnet.exe ไว้ในห้อง c:windows เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อยู่แล้ว แต่ ปัญหาหนักอยู่ที่วิธีการใช้ เพราะระบบ UNIX เป็นการทางานใน Text mode เป็นหลัก การจะใช้คาสั่งต่าง ๆ ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้มาก่อน จึงจะใช้งานได้ในระดับที่พึ่งตนเองได้ มิเช่นนั้นก็จะเหมือน คนตาบอดเดินอยู่ กลางถนน หากใช้คาสั่งไม่ถูกต้อง อาจทาให้เกิดปัญหาทั้งกับตนเอง และระบบได้ภาพ mailtel.gif Electronic mail • บริการ E-Mail ฟรี เป็นบริการที่มีผู้ใช้กันมาก เพราะใช้สาหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผู้ที่ต้องการติดต่อ ด้วย และใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และผู้รับจะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ส่งไป ผู้ใหับริการ E-Mail ฟรีในปัจจุบัน เช่นของ hotmail หรือ yahoo mail หรือ ตามแต่ละประเทศ ที่คนใน ประเทศจะทา Server ให้บริการ สาหรับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรือ chaiyo.com ซึ่งเป็นของคนไทย และ mail ฟรีเหล่านี้จะให้บริการไปเรื่อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะ หมดอายุถ้าผู้ใช้เกิดเลิกใช้เป็นเวลานานเกินไป สาหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่ สาเร็จการศึกษา จึงเป็นจุดบกพร่องข้อใหญ่ ที่ทาให้นักศึกษา หันไปใช้ E-Mail ฟรี มากกว่าที่สถาบัน จัดไว้ ให้ • การใช้ E-Mail กับผู้ให้บริการฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com หรือ chaiyo.com นั้น ผู้ใช้ จะต้องไป download โปรแกรม browser เช่น netscape หรือ Internet Explorer หรือ Opera หรือ NeoPlanet มาไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อ Internet แล้วเปิดหน้าเว็บของแหล่งบริการ เพื่อใช้บริการ E-Mail ดังกล่าว ซึ่งผู้ใช้จะต้องขอใช้บริการ และจะได้รับ userid และ password ประจาตัว เพื่อ login เข้าใช้บริการ E-Mail ทุกครั้ง • ปัจจุบันการขอใช้บริการ E-Mail สามารถเลือกได้ที่จะใช้ web-based หรือ POP เพราะแต่ละแบบมีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผู้ที่เดินทางเป็นประจา ส่วน pop จะเหมาะกับผู้มี คอมพิวเตอร์ส่วนตัว
  • 9. • รายละเอียดเกี่ยวกับ e-mail อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaiall.com/article/mail.htm USENET news หรือ News group • ในยุคแรกของ Internet บริการ USENET ได้มีผู้ใช้บริการ อย่างแพร่หลายอย่างมาก เพราะเป็นแหล่ง ที่ผู้ใช้ จะ ส่งคาถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่พอจะตอบคาถามได้ จะช่วยตอบ ทาให้เกิดสังคมของ การแลกเปลี่ยน ข่าวสาร นอกจากการส่งข้อความเข้าไปใน USENET แล้ว ผู้ใช้ยังส่งแฟ้มในรูปแบบใด ๆ เข้าไปก็ได้ ซึ่งเรียกว่า Attach file หากแฟ้มที่ส่งเข้าไปเป็นภาพ gif หรือ jpg หรือแฟ้มที่มีการรองรับ ในระบบ internet ก็จะเปิดได้ ทันทีด้วย browser หรือแล้วแต่โปรแกรมที่ใช้เปิด USENET นั้น • แต่สาหรับประเทศไทย ผมสังเกตุว่า มีการเข้าไปใช้บริการในส่วนนี้ไม่มาก เพราะกลุ่มข่าว(News group) ที่ ชื่อ soc.culture.thai ซึ่งเป็น 1 ในหลายหมื่นกลุ่มข่าว และมีชื่อที่เป็นไทยอย่างชัดเจน กลับมีคนต่างชาติ เข้าไป ฝากข้อความไว้กว่าครึ่ง และมีคนไทยเพียงครึ่งเดียว ซึ่งเข้าใจว่าผู้ใช้ Internet ในประเทศไทยมักเน้นการใช้ บริการ Internet 3 อย่างนี้ คือ Browser และ PIRC และ ICQ • อีกเหตุผลหนึ่ง ที่คนไทยไม่ได้เข้าไปใช้บริการ USENET เท่าที่ควรก็เพราะ ในเว็บของคนไทยหลาย ๆ เว็บจะ ให้บริการที่ชื่อว่า wwwboard ผ่าน browser อยู่แล้ว ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับ USENET อย่างมาก ทาให้คน ไทยหันมาใช้ wwwboard แทน USENET ซึ่งต้องติดตั้งข้อกาหนดเพิ่มเติมให้กับ browser ซึ่งอาจรู้สึกยุ่งยาก ไม่ รู้ หรือไม่คุ้นเคยก็เป็นได้ และปัจจุบันบริการต่าง ๆ มักจะรวมมาไว้ใน browser อย่างสมบูรณ์ ทาให้ผู้ใช้ มากมาย ไม่เห็นความจาเป็นที่ต้องไปใช้โปรแกรมอื่น เพราะทุกวันนี้ก็ใช้บริการ ที่อยู่ใน browser ไม่หมดแล้ว เช่น web, mail, chat, wwwboard, game, quiz, pager, news, postcard, shopping, download เป็นต้น • ถ้าเครื่องท่านถูก setup ให้อ่าน news ได้ ท่านสามารถเข้าไปที่ soc.culture.thai เพื่ออ่าน หรือส่งข่าวสาร ต่าง ๆ ได้ FTP (File Transfer Protocal - บริการโอนย้ายข้อมูล) • บริการนี้ สามารถใช้ download แฟ้มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก server มาไว้ในเครื่องของตน แต่ถ้าจะ upload แฟ้ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้มจากเครื่องของตน เข้าไปเก็บใน server เช่นการปรับปรุง homepage ให้ทันสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรือ wsftp หรือ ftp ของ windows • การ download นั้นไม่ยาก หากผู้ให้บริการยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้มใน server ของตน และ ผู้ใช้บริการรู้ว่าแฟ้มที่ต้องการนั้นอยู่ ที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็น และมีความเป็น
  • 10. เจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทา รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิทธิในการเข้าใช้บริการ การศึกษาการ ส่งแฟ้มเข้าไปใน server อาจต้องหา บทเรียน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรือหาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริการ upload แฟ้ม ซึ่งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยู่แล้ว WWW • World Wide Web คือบริการที่ให้ผู้ใช้ ใช้โปรแกรม Browser เช่น Netscape, Internet Explorer, Opera หรือ Neoplanet เป็นต้น ในการเปิดข้อมูลในลักษณะ Homepage ซึ่งสามารถนาเสนอได้ทั้งภาพ ภาพเคลื่อนไหว และ เสียง ทาให้มีการแพร่หลาย และเป็นสื่อที่ได้รับความสนใจ และเติบโตอย่างรวดเร็ว • บริการผ่านเว็บนี้ ได้รับการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อในลักษณะ Interactive ด้วย โปรแกรมสนับสนุนต่าง ๆ จนทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การดูภาพยนต์ ผ่านเว็บ , การเล่นเกมส์, การทาข้อสอบ, การส่ง mail, การส่ง pager, การติดต่อซื้อขาย, การส่ง postcard เป็นต้น Net2Phone • บริการนี้คือการโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องรับโทรศัพท์จริง ๆ และได้รับความนิยม เป็นอย่าง มาก เพราะมีอัตราค่าโทรศัพท์ที่ถูกกว่า และยังมีบริการ Net2Fax ซึ่งให้บริการ Fax เอกสาร จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่อง Fax จริง ๆ ซึ่งมีอัตราค่าบริการที่ถูกกว่าเช่นกัน • บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมมาติดตั้ง และจะต้องจ่ายเงินก่อน ซึ่งเป็นการซื้อเวลาล่วงหน้า เมื่อ มีการใช้บริการ จึงจะหักค่าใช้บริการจากที่ซื้อไว้ Netmeeting • เป็นโปรแกรมที่มีชื่อมาก เพราะทาให้คนจากซีกโลกหนึ่ง สามารถติดต่อกับอีกซีกโลก ด้วยเสียงจาก คอมพิวเตอร์ ซึ่งคล้ายโทรศัพท์ แต่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่อย่างใด และโปรแกรมในลักษณะนี้ ยัง เพิ่มความสามารถในการทางานร่วมกับ เครื่องรับภาพ digital ดังนั้นคนที่มีโปรแกรมนี้จะคุยกันและ เห็นภาพ ของแต่ละฝ่าย จึงทาให้การติดต่อมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม • บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง แต่ปัญหาที่สาคัญในการติดต่อแบบนี้คือเรื่อง ของ ความเร็ว เพราะการติดต่อด้วยเสียง อาจได้เสียงที่ไม่ชัดเจน หรืออาจขาดหายระหว่างการสนทนา หาก ความเร็วในการเชื่อมต่อ internet ไม่เร็วพอ และจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าจะเพิ่มการรับ-ส่งภาพ แบบ VDO สาหรับ เครื่องที่เชื่อมต่อด้วยความเร็วต่า ICQ • บริการนี้เป็น บริการที่เยี่ยมมาก และได้รับความนิยม เพิ่มขึ้นทุกวัน เพราะผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ เป็นของตนเอง และมีโปรแกรม ICQ อยู่ในเครื่อง จะสามารถติดต่อกับเพื่อน ที่ใช้โปรแกรม ICQ อยู่ได้อย่างสะดวก เพราะ
  • 11. เมื่อเปิดเครื่อง โปรแกรมนี้จะแสดงสถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ทาการตรวจสอบไว้ ว่า Online อยู่ หรือไม่ เปรียบเสมือนการมี pager ติดคอมพิวเตอร์ไว้ทีเดียว • ได้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเสริมอีกมากมาย ให้ ICQ สามารถทางานได้หลายหลายมากขึ้น และยิ่ง แพร่กระจาย ได้เร็ว ในกลุ่มหนุ่มสาว ที่ต้องการเพิ่ม เพราะจะแสดงสถานะของ เครื่องเพื่อน เมื่อเปิด คอมพิวเตอร์ ทาให้ สามารถติดต่อได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องโทรไปถามบ่อย ๆ ว่าเปิดคอมพิวเตอร์หรือยัง เป็นต้น • บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็นโปรแกรมที่ download ได้ฟรี IRC : Internet Relay Chat • บริการนี้คนไทยทุกวัย ชอบกันมาก โดยเฉพาะโปรแกรม PIRC เพราะทาให้สามารถคุยกับใครก็ได้ที่ใช้ โปรแกรม PIRC การคุยกันจะใช้ผ่านแป้นพิมพ์เป็นสาคัญ โดยไม่ต้องเห็นหน้า หรือรับผิดชอบต่อสิ่ง ที่พิม พ์ ออกไป อย่างจริงจัง เพราะไม่มีการควบคุมจากศูนย์ที่ชัดเจน ทาให้ทุกคนมีอิสระที่จะคิดจะส่ง ข้อมูลออกไป ได้ทุกชาติ ทุกภาษา • ใน IRC ใด ๆ มักจะมีการแบ่งเป็นห้อง ๆ โดยมีชื่อห้องบอกว่า ในห้องนั้นจะคุยกันเรื่องอะไร เช่น "วิธีแก้ เหงา" หากใครต้องการคุยถึงวิธีแก้เหงา เข้าไปในห้องนั้น หรือหลาย ๆ ห้องได้ และแสดงความเห็น อะไร ออกไปก็ได้ และยังสามารถเลือกคุยกับใครเป็นการส่วนตัว หรือจะคุยให้ทุกคน ที่เปิดหัวข้อนี้ รับทราบก็ได้ เมื่อคุยกันถูกคอก็สามารถ ที่จะนัดพบกันตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อนสร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรือจะนัดคุยกัน ในคอมพิวเตอร์ ในครั้งต่อไป ในห้องที่กาหนดขึ้นก็ได้ จึงทาให้ทุกเพศทุกวัยชื่นชอบ ที่จะใช้บริการนี้อย่าง มาก • บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็น Shareware หากผู้ใช้พอใจ สามารถที่จะ ลงทะเบียนเพื่อจ่ายเงิน $20 ได้ Game online • เกมกลยุทธหลาย ๆ เกมที่ โปรแกรมจะจาลองสถานการณ์การรบ ทาให้ผู้ใช้สามารถต่อสู้กับ คอมพิวเตอร์ เสมือนคอมพิวเตอร์คิดเอง และสู้กับเราได้ แต่ก็ยังมีจุดบกพร่องของเกมที่ไม่สามารถสร้าง ความมันส์ เหมือนกับการสู้กับคนที่คิด และพูดกับอีกฝ่ายได้ จึงได้มีการสร้างเกม และบริการที่ทา ให้ผู้ ใช ้ ้ต่อสู้กัน โดยให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไปในเครื่องบริการ แล้วเสียเงินลงทะเบียน จากนั้นจะสามารถขอเข้าไป เล่นเกมกับใครก็ได้ในโลก ที่เสียเงินเช่นกัน และพูดคุยกันผ่านแป้นพิมพ์ เป็นการทา ความรู้จักกัน ในขณะเล่นเกมได้อีกด้วย ซึ่งเป็นบริการที่กาลังเติมโต อย่างรวดเร็วอีกบริการหนึ่ง ในโลก Internet
  • 12. Software Updating • มีโปรแกรมมากมายที่ใช้ประโยชน์จาก Internet และหนึ่งในนั้นก็คือ บริการปรับปรุงโปรแกรม แบบ Online เช่น โปรแกรมฆ่าไวรัส ที่มีชื่อเสียง เกือบทุกโปรแกรม จะยอมให้ผู้ใช้ สามารถปรับปรุงข้อมูลใหม่ เพื่อใช้สาหรับเตรียมต่อสู้กับไวรัส ที่มาใหม่เสมอ ผู้ใช้เพียงแต่เลือก Click บนปุ่ม Update จากนั้น โปรแกรมจะทาทุกอย่างใหม่หมด จนกระทั่งการ update สมบูรณ์ หรือแม้แต่ Microsoft Windows ที่ยอม ให้ผู้ใช้สามารถ Update โปรแกรมที่ตนขายไปแล้ว แต่มาพบข้อผิดพลาดทีหลัง หลังจากแก้ไข จะยอมให้ ผู้ใช้ Update โปรแกรมได้ฟรี เพราะถือเป็นความผิดพลาดที่ต้องรับผิดชอบ เป็นต้น Palm หรือ PocketPC • Palm หรือ PocketPC นั้นต่างก็เป็น Organizer ยุคใหม่มีอีกชื่อหนึ่งว่า PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่งถูกตั้งชื่อโดย Apple ตั้งแต่ปี 1990 แต่สมัยนั้นยังไม่สาเร็จ จึงมีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน • คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่มีความสามารถสูงมาก เพราะสามารถพัฒนาโปรแกรม สั่งให้ palm ทางานได้ หลาย ๆ อย่าง ทาให้ความสามารถหลักด้าน organizer กลายเป็นส่วนประกอบไปเลย เพราะมี ผู้พัฒนาโปรแกรมให้กับ palm มากทีเดียว คนไทยก็ทาครับ เพื่อให้ palm เข้าใจภาษาไทย และใช้ปากกา เขียนภาษาไทยให้ palm อ่านรู้เรื่องได้ทันที • Palm สามารถทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน โดยผู้ใช้ palm สามารถเขียน mail ใน palm เพื่อต้องการส่งก็ upload เข้าคอมพิวเตอร์ที่ online กับ internet แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทา หน้าที่ส่ง mail ให้อัตโนมัติ รวมถึงการรับ mail ใหม่เข้าไปใน palm ทาให้สามารถอ่าน mail จากที่ไหนก็ ได้ แต่เป็นการทางานแบบ offline นะครับ ไม่เหมือนมือถือที่อ่าน mail ได้แบบ online แต่ palm ไม่ใช่มือ ถือครับ ภาพทั้งหมดเกี่ยวกับ palm ได้มาจาก http://www.palm.com PocketPC คืออะไร คือ ผลจากที่ปี 1998 Microsoft แนะนา WindowCE ซึ่งทางานกับ Palm-sized PC ซึ่งพยายามตี palm ให้ แตก ด้วยการสร้างระบบปฏิบัติการ ที่เป็นมาตรฐานใหม่ บริษัทต่าง ๆ ที่สนใจจึงเริ่มผลิตสินค้า ที่ใช้ Windows CE โดยมีชื่อเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ว่า PocketPC คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่กาหนดมาตรฐานโดย Microsoft เจ้าเก่า(งานนี้ palm อาจต้องหนาว) ทาให้ PocketPC ที่ผลิดโดยบริษัทใดก็แล้วแต่ เช่น Compaq,
  • 13. Casio, HP เป็นต้น สามารถเปิดเว็บ พิมพ์ Word หรือ Excel ฟัง MP3 หรือแม้แต่ดูหนัง ก็ยังได้ กองทัพอุปกรณ์เทคโนโลยี จาก casio.com นาทัพโดย PocketPC ที่จะมาโค่น palm WAP • Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้โทรศัพท์ สามารถเปิดเว็บที่ถูกเขียนมาเพื่อ โทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะได้ เว็บของไทยที่ให้บริการแล้ว เช่น http://wap.wopwap.com, http://wap.siam2you.com, http://wap.a-roi.com, http://wap.mweb.co.th เป็นต้น • โทรศัพท์ที่ออกมาให้บริการแล้ว เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel OneTouch View WAP หรือ 300 family หรือ 500 family หรือ 700 family, MotorolaV8088 เป็นต้น • เว็บที่มีข้อมูลเรื่อง wap เช่น wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com, waptastic.com เป็นต้น WAP ย่อมาจากคาว่า Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่สามารถทาให้โทรศัพท์มือถือ หน้าจอเล็กๆ ของคุณสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้โดยตรง ทาให้คุณสามารถ ทาอะไร ได้หลากหลายเสมือนกับคุณใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน Browser เลยทีเดียว ไม่ ว่าจะเป็น การค้นหาสืบค้นข้อมูล หรือการใช้บริการต่างๆ ของ WAP Site และที่สาคัญที่สุดคือ คุณ สามารถทากิจกรรมเหล่านี้ได้ทุกที่ทุกเวลาตราบใดที่ยังมีสัญญาณมือถือ หรือสัญญาณ GPRS อยู่นั่นเอง
  • 14. เครื่องปลายทางสามเครื่องและอาร์พา เจ.ซี.อาร์. ลิกไลเดอร์ ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกในการเรียกร้องการพัฒนาเครือข่ายระดับโลกคนหนึ่ง ได้เสนอ ความคิดของเขาไว้ในบทความวิชาการชื่อ "Man-Computer Symbiosis" ตีพิมพ์เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1960 ดังนี้ A network of such [computers], connected to one another by wide-band communication lines" which provided "the functions of present-day libraries together with anticipated advances in information storage and retrieval and [other] symbiotic functions. " —เจ.ซี.อาร์. ลิกไลเดอร์[1] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1962 ลิกไลเดอร์ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสานักงานประมวลผลข้อมูลของอาร์ พา หน่วยงานของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา และได้ตั้งกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการภายในดาร์พาขึ้นกลุ่ม หนึ่งเพื่อวิจัยทางคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ได้มีการติดตั้งเครื่องปลายทางขึ้นสามเครื่อง เครื่องหนึ่งติดตั้งที่ ซิส เต็มดีเวลอปเมนต์คอร์เปอเรชัน ในเมืองแซนทามอนิกา อีกเครื่องหนึ่งสาหรับโครงการจีนีในมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ และอีกเครื่องหนึ่งสาหรับโครงการชอปปิงซึ่งใช้ระบบปฏิบัติการมัลทิกส์ ในสถาบัน เทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทั้งสามเครื่องนี้มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งในบทบาทของสานักประมวลผลข้อมูลฯ ความต้องการวิธีเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่ายของลิกไลเดอร์จะเห็นได้เป็นรูปธรรมจากปัญหาทางเทคนิค ของโครงการนี้ แพกเกตสวิตชิง ปัญหาหนึ่งในบรรดาปัญหาการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคือการเชื่อมต่อเครือข่ายทางกายภาพที่ แตกต่างกันหลายเครือข่ายเข้าด้วยกันเสมือนเป็นเครือข่ายเชิงตรรกเครือข่ายเดียว ในคริสต์ทศวรรษ 1960 ดอนัลด์ เดวีส์ (ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา) พอล บาแรน (แรนด์คอร์เปอเรชัน ) และเลเนิร์ด ไคลน์ร็อก (เอ็มไอที) ได้ร่วมกันพัฒนาแนวคิดแพกเกตสวิตชิงและพัฒนาระบบตามแนวคิดนั้น ขึ้น ความเชื่อที่ว่าอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถอยู่รอดได้หลังการโจมตีโดยอาวุธนิวเคลียร์นั้น มี รากฐานมากจากทฤษฎีที่แรนด์พัฒนาขึ้นในช่วงแรก ๆ นี่เอง งานวิจั ยของบาแรนซึ่งศึกษาการกระจาย เครือข่ายโดยไม่มีศูนย์กลางเพื่อหลีกเลี่ยงการความเสียหายจากการสู้รบซึ่งทาให้เครือข่ายไม่สามารถใช้การ ได้นั้น ได้นาไปสู่การพัฒนาแพกเกตสวิตชิงในเวลาต่อมา [3] อาร์พาเน็ต เมื่อรอเบิร์ต เทเลอร์ได้รับการเลื่อนตาแหน่งให้เป็นหัวหน้าสานักงานประมวลผลข้อมูลของอาร์ พา เขาได้พยายามที่จะทาให้ความคิดของลิกลิเตอร์ในเรื่องระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นจริงขึ้นมา เท เลอร์ได้ขอตัวแลร์รี รอเบิตส์ จากเอ็มไอที และตั้งโครงการเพื่อสร้างเครือข่ายดังกล่าวขึ้น การเชื่อมโยง เครือข่ายอาร์พาเน็ตครั้งแรกเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และ
  • 15. สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ในวันที่ 29 ตุลาคมค.ศ. 1969 เครือข่ายได้เพิ่มเป็นสี่จุดในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1969 โดยเพิ่มมหาวิทยาลัยยูทาห์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย แซนทาบาร์บารา หลังจากนั้น โดยอาศัย แนวคิดต่าง ๆ ที่ได้จากการพัฒนาอะโลฮาเน็ต อาร์พาเน็ตได้ถือกาเนิดขึ้นใน ค.ศ. 1972 และเติบโตขึ้นอย่าง รวดเร็ว ใน ค.ศ. 1981 จานวนโฮสต์ได้เพิ่มขึ้นเป็น 213 โฮสต์ และมีโฮสต์ใหม่เพิ่มขึ้นประมาณทุ ก ๆ 20 วัน อาร์พาเน็ตได้กลายเป็นแก่นทางเทคนิคของสิ่งที่จะกลายเป็นอินเทอร์เน็ตในเวลาต่อมา และยังเป็น เครื่องมือหลักอันหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต การพัฒนาอาร์พาเน็ตนั้นมีศูนย์กลางอยู่ที่ กระบวนการอาร์เอฟซี ซึ่งมีไว้สาหรับการเสนอและกระจายเกณฑ์วิธีและระบบอินเทอร์เน็ต กระบวนการนี้ ยังคงใช้จนกระทั่งปัจจุบัน อาร์เอฟซี 1 ซึ่งมีชื่อว่า "Host Software" เขียนโดยสตีฟ ครอกเกอร์จาก มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และตีพิมพ์เมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1969 ปีแรก ๆ ของอาร์พาเน็ตได้ถูก บันทึกไว้ในภาพยนตร์สารคดีปี 1972 เรื่อง Computer Networks: The Heralds of Resource Sharing ความร่วมมือในระดับนานาชาติบนอาร์พาเน็ตนั้นนับว่ าเบาบาง ด้วยเหตุผลทางการเมืองหลายข้อ นักวิจัยในยุโรปนั้นจึงข้องเกี่ยวกับการพัฒนาเครือข่าย X.25 มากกว่า ข้อยกเว้นที่ควรบันทึกไว้ได้แก่การเข้า ร่วมของกลุ่มเครื่องวัดแผ่นดินไหวนอร์เวย์ ใน ค.ศ. 1972 ตามด้วยสวีเดนใน ค.ศ. 1973 โดยการเชื่อมโยง ผ่านดาวเทียมที่สถานีภาคพื้นที่เมืองทานุม และยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจลอนดอน อนึ่ง อาร์พา (ARPA) เปลี่ยนชื่อเป็นดาร์พา (DARPA) ใน ค.ศ. 1972 และมีการเปลี่ยนชื่อกลับไป กลับมาอีกหลายครั้ง แต่อาร์พาเน็ตยังคงใช้ชื่อเดิม X.25 โดยอาศัยงานวิจัยของอาร์พา สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ได้พัฒนามาตรฐาน เครือข่ายแพกเกตสวิตชิงขึ้นในรูปของ X.25 และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึง ค.ศ. 1974 X.25 ได้ ก่อตั้งพื้นฐานสาหรับเครือข่าย SERCnet ระหว่างสถาบันวิชาการและสถาบันวิจัยต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักร ขึ้น ซึ่งในภายหลังได้กลายเป็น JANET มาตรฐานขั้นต้นของไอทียูเกี่ยวกับ X.25 ได้รับการรับรองในเดือน มีนาคม ค.ศ. 1976 โดยมาตรฐานดังกล่าวมีพื้นฐานอยู่บนแนวคิดเรื่องวงจรเสมือน สานักงานไปรษณีย์สหราชอาณาจักร เวสเทิร์นยูเนียนอินเตอร์แนชันแนล และทิมเน็ตได้ร่วมมือกัน สร้างเครือข่ายแพกเกตสวิตชิงระดับนานาชาติขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้ชื่อว่า International Packet Switched Service (IPSS) ใน ค.ศ. 1978 เครือข่ายนี้เติบโตจากทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาไปยังแคนาดา ฮ่องกง และ ออสเตรเลียใน ค.ศ. 1981 เครือข่ายนี้ได้กลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายระดับโลกในคริสต์ ทศวรรษ 1990 ต่างจากอาร์พาเน็ต X.25 นั้นมีให้ใช้ทั่วไปเพื่อการใช้งานทางธุรกิจด้วย X.25 ได้ถูกนาไปใช้ใน เครือข่ายสาธารณะเข้าถึงได้ (public access network) โดยการหมุนโทรศัพท์ในยุคแรก ๆ เช่น คอมพิวเซิร์ฟ และทิมเน็ต ใน ค.ศ. 1979 คอมพิวเซิร์ฟเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่ให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถใช้
  • 16. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ รวมทั้งมีบริการสอบถามแก้ไขปัญหาทางเทคนิคด้วย คอมพิวเซิร์ฟยังเป็นราย แรกที่ให้บริการสนทนาแบบเรียลไทม์ด้วยโปรแกรม CB Simulator นอกจากคอมพิวเซิร์ฟ ผู้ให้บริการ เครือข่ายแบบหมุนโทรศัพท์รายอื่นมีอาทิ อเมริกาออนไลน์ และโพรดิจี นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายกระดานข่าว อิเล็กทรอนิกส์ (บีบีเอส) อีกหลายเครือข่าย เช่น ไฟโดเน็ต สาหรับไฟโดเน็ตนั้นเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นงานอดิเรก ซึ่งหลายคนในนั้นเป็น แฮกเกอร์และนักวิทยุสมัครเล่น UUCP ใน ค.ศ. 1979 นักศึกษามหาวิทยาลัยดุกสองคน ได้แก่ ทอม ทรัสคอตต์ และ จิม เอลลิส ได้เกิด ความคิดที่จะใช้ภาษาเชลล์สคริปต์บอร์นอย่างง่าย ๆ เพื่อส่งข่าวและข้อความผ่านสายอนุกรมกับ มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา ณ แชเพิลฮิลล์ ที่อยู่ใกล้กัน หลังจากซอฟต์แวร์ดังกล่าวได้เผยแพร่สู่ สาธารณะ ข่ายของโฮสต์ที่ใช้ UUCP ก็ได้ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว เครือข่ ายดังกล่าว ที่ต่อมาจะใช้ชื่อ UUCPnet ยังได้สร้างเกตเวย์และการเชื่อมโยงระหว่างไฟโดเน็ตและโฮสต์บีบีเอสแบบหมุนโทรศัพท์หลาย ๆ แห่งขึ้นด้วย เครือข่าย UUCP ได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่า และยังสามารถใช้ สายเช่าที่มีอยู่เดิม ลิงก์ของ X.25 หรือการเชื่อมต่อของอาร์พาเน็ตได้ด้วย ใน ค.ศ. 1983 จานวนโฮสต์ UUCP ได้เพิ่มขึ้นเป็น 550 โฮสต์ และเพิ่มเป็น 940 โฮสต์หรือเกือบสองเท่าใน ค.ศ. 1984 TCP/IP ได้มีความพยายามที่จะรวมวิธีติดต่อของเครือข่ายต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วเข้าด้วยกัน โดยรอเบิร์ต อี. คาห์นจากดาร์พาและอาร์พาเน็ตได้ขอตัววินต์ เซิร์ฟจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเพื่อทางานร่วมกับเขา เพื่อแก้ปัญหานี้ ใน ค.ศ. 1973 ทั้งสองได้พัฒนาแนวทางแก้ไขขั้นมูลฐานขึ้น โดยในแนวทางนี้ ความแตกต่าง ระหว่างเกณฑ์วิธีต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้โดยใช้เกณฑ์วิธีระหว่างเครือข่ายแบบใดแบบหนึ่งร่วมกัน และแทนที่ ตัวเครือข่ายจะรับผิดชอบเรื่องความเชื่อถือได้ของข้อมูลอย่างในอาร์พาเน็ต โฮสต์จะเป็นผู้รับผิดชอบแทน เซิร์ฟยกความดีความชอบเกี่ยวกับงานสาคัญ ๆ ในการออกแบบเกณฑ์วิธีนี้ให้แก่ ฮิวเบิร์ต ซิมเมอร์แมน , เชราร์ เลอลาน และลุย ปูแซง (ผู้ออกแบบเครือข่าย CYCLADES) [7] เมื่อบทบาทของตัวเครือข่ายได้ถูกลดลงจนเหลือน้อยที่สุดแล้ว จึงเป็นไปได้ที่จะเชื่อมเครือข่ายใด ๆ แทบทุกแบบเข้าด้วยกัน ไม่ว่าคุณลักษณะของเครือข่ายนั้น ๆ จะเป็นเช่นไร อันเป็นการแก้ปัญหาขั้นต้นที่ คาห์นตั้งไว้ ดาร์พาได้เห็นชอบที่จะให้เงินทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ต้นแบบ และหลังจากการลงแรงเป็น เวลาหลายปี จึงได้มีการสาธิตเกตเวย์อย่างหยาบ ๆ เป็นครั้งแรกระหว่างเครือข่ายแพกเกตเรดิโอในซานฟราน ซิสโกเบย์แอเรียกับอาร์พาเน็ต ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1977 ได้มีการสาธิตการเชื่อมต่อระหว่าง เครือข่ายสามแห่ง ซึ่งได้แก่ อาร์พาเน็ต , เครือข่ายแพกเกตเรดิโอ และเครือข่ายแอตแลนติกแพกเกตแซเทล ไลต์ ซึ่งทั้งหมดอุปถัมภ์โดยดาร์พา ในส่วนของเกณฑ์วิธี เริ่มต้นจากข้อกาหนดคุณลักษณะรุ่นแรกของ TCP ใน ค.ศ. 1974เกณฑ์วิธี TCP/IP ได้ก่อตัวเป็นรูปร่างซึ่งใกล้เคียงกับรูปแบบสุดท้ายในประมาณกลางปีถึง
  • 17. ปลายปี ค.ศ. 1978 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องได้ตีพิมพ์เป็นอาร์เอฟซี 791, 792 และ 793 และได้ถูกนาไปใช้ ดาร์ พาได้อุปถัมภ์หรือส่งเสริมการพัฒนาการนา TCP/IP ไปใช้จริงในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ จากนั้นจึงได้ กาหนดตารางเวลาในการโยกย้ายโฮสต์ทุกตัวในเครือข่ายแพกเกตของตนไปใช้ TCP/IP ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1983 เกณฑ์วิธี TCP/IP ได้กลายเป็นเกณฑ์วิธีเดียวที่ได้รับการรับรองบนอาร์พาเน็ต แทนที่ เกณฑ์วิธี NCP ที่ใช้แต่เดิม