SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
รายงาน
เรื่ อง การสื่ อสารข้อมูล
จัดทาโดย
1. นางสาวเบญจมาศ หนูประสิ ทธิ์ เลขที่ 16 ชั้น ม.4/1
เสนอ
นางจุฑารัตน์

ใจบุญ

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา ง31102

ภาคเรี ยนที่ 2/2556

โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอ วังวิเศษ จังหวัด ตรัง
คานา
รายงานเรื่ องการสื่ อสารข้อมูล เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
รายวิชา ง31102 รายงานนี้ได้เรื่ องให้ความรู ้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล การส่ ง การรับ
รู ปแบบการส่ ง และรายละเอียดต่างๆ อย่างถูกต้องเป็ นรายงานประกอบการเรี ยนรู ้
ซึ่งจัดทาขึ้นให้ผที่สนใจได้ศึกษา หวังว่าความรู ้น้ ีคงเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจ
ู้
ู้
อนึ่ง หากมีขอผิดพลาดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
้
้

เบญจมาศ หนูประสิ ทธ์
ผูจดทา
้ั
สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล

1

องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ

2

ข่ายการสื่ อสารข้อมูล

3

องค์ประกอบพื้นฐาน

3

วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่ อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การ

3

ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล

4

ช่องทางในการสื่ อสารข้อมูล

5

ชนิดของตัวกลางที่นิยมใช้ในปัจจุบน
ั

5

อ้างอิง

6
การสื่ อสารข้ อมูล (Data Communication)
ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล

การติดต่อสื่ อสารเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับมนุษย์ เนื่ องจากมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน
้ ่
โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อในการส่ งข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ งกันและกัน โดยมีอากาศเป็ นตัวกลาง
ซึ่ งในภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันนั้น จะต้องมีขอตกลงกันว่าแต่ละสัญลักษณ์ หรื อคาพูด
้
แทนหรื อหมายถึงสิ่ งใด
มนุษย์ได้คิดค้นวิธีการและเครื่ องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกันมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว ยกตัวอย่างเช่น
การใช้สัญญาณควันไฟของชาวอินเดียแดง หรื อการใช้มาเร็ วในการส่ งสาส์น
้
จนกระทังพัฒนามาเป็ นการใช้โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต
่
ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล เกิดจากคาสองคา คือ การสื่ อสาร (Communication) ซึ่งหมายถึง
การส่ งเนื้อหาจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง และคาว่าข้อมูล (Data) หมายถึง
ข้อเท็จจริ งหรื อสิ่ งที่ถือหรื อยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ งสาหรับใช้เป็ นหลักอนุมานหาความจริ งหรื อการคานวณ
[17] ซึ่ งในที่น้ ีเราจะหมายถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในรู ปตัวเลข 0 หรื อ 1 ต่อเนื่ องกันไป
ซึ่ งเป็ นค่าที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าใจ นัน
่

วิธีการส่ งข้ อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ

หรื อรหัสเสี ยก่อนแล้วจึงส่ งไปยังผูรับ และเมื่อถึงปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น
้
้
่
กลับมาให้อยูในรู ปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่ งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ
สิ่ งรบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ขอมูลบางส่ วนเสี ยหาย
้
หรื อผิดเพี้ยนไปได้ซ่ ึ งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง
ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่ งยิงมากก็อาจจะทาให้เกิดสิ่ งรบกวนได้มากเช่นกัน
่
จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่ งรบกวน เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่ อสารที่จะทาให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
องค์ ประกอบขั้นพืนฐานของระบบ
้
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่ อสารโทรคมนาคม
สามารถจาแนกออกเป็ นส่ วนประกอบได้ดงต่อไปนี้
ั
1. ผูส่งข่าวสารหรื อแหล่งกาเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็ นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ
้
ข้อมูล และเสี ยงเป็ นต้น ในการติดต่อสื่ อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่าง ๆ
่
ก็นบว่าเป็ นแหล่งกาเนิดข่าวสาร จัดอยูในหมวดหมู่น้ ีเช่นกัน
ั
2. ผูรับข่าวสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่ งจะรับรู ้จากสิ่ งที่ผส่งข่าวสาร
้
ู้
หรื อแหล่งกาเนิดข่าวสารส่ งผ่านมาให้ตราบใด
ที่การติดต่อสื่ อสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ
ั
้
ถ้าผูรับสารหรื อ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ
้
ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่ อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็ จ กล่าวคือไม่มีการสื่ อสารเกิดขึ้นนันเอง
่

3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่น้ ีอาจจะหมายถึงสื่ อกลางหรื อตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน
อาจจะเป็ นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น น้ า น้ ามัน เป็ นต้น
่
เปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
4. การเข้ารหัส (encoding)
เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่ อความหมาย
ู้
้
จึงมีความจาเป็ นต้องแปลง
่
ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปพลังงาน ที่พร้อมจะส่ งไปในสื่ อกลาง
ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมีรหัสเดียวกัน การสื่ อสารจึงเกิดขึ้นได้
้
้
้
5. การถอดรหัส (decoding)
่
หมายถึงการที่ผรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่ อกลางให้กลับไปอยูในรู ปข่าวสารที่ส่งมาจากผูส่งข่าวสาร
ู้
้
โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน
่
6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็ นสิ่ งที่มีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ
อาจจะเกิดขึ้นได้ท้ งทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับข่าวสาร และช่องสัญญาณ
ั
้
้
แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด
้
้
ตาแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นที่ตวกลางหรื อช่องสัญญาณ
ั
เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติมกจะใช้ วงจรกรอง
้
้
ั ั
(filter)
กรองสัญญาณแต่ตนทาง เพื่อให้การสื่ อสารมีคุณภาพดียงขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่น
้
ิ่
การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น
ข่ ายการสื่ อสารข้ อมูล
หมายถึง การรับส่ งข้อมูลหรื อสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่ งข้อมูล
ทางคลื่นไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็ นระบบการสื่ อสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า
่
ข่ายการสื่ อสารข้อมูล (Data Communication Networks)
องค์ ประกอบพืนฐาน
้
หน่วยส่ งข้อมูล (Sending Unit)
ช่องทางการส่ งข้อมูล (Transmisstion Channel)
หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
วัตถุประสงค์ หลักของการนาการสื่ อการข้ อมูลมาประยุกต์ ใช้ ในองค์ การประกอบด้ วย
1. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
2. เพื่อส่ งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว
3. เพื่อลดเวลาการทางาน
4. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ งข่าวสาร
5. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
6. เพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ
ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
่
1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่ อสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึ่ อยูในรู ปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสู ง
แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่ อสารข้อมูลนั้น
ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษร
ต่อวินาทีแล้ว จะส่ งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสี ยเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านั้นซ้ าใหม่อีก
้
่
2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
ิ
จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่ งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบ
สภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู ้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง
้
โดยอาจให้ทาการส่ งใหม่ หรื อกรณี ที่ผิดพลาด
ไม่มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
้
3) ความเร็ วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็ วเท่าแสง
ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์ ส่งข้อมูลจากซี กโลกหนึ่ง ไปยังอีกซี ก
โลกหนึ่ง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ ว
ความรวดเร็ วของระบบทาให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึ้น เช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง
ู้
ั
่
สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ ว ทาให้การจองที่นงของสายการบินสามารถทาได้ทนที
ั่
ั
4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพื่อส่ งหรื อสาเนาข้อมูล
ทาให้ราคาต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการ
้
ั
จัดส่ งแบบวิธีอื่น สามารถส่ งข้อมูลให้กนและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้

ช่ องทางในการสื่ อสารข้ อมูล
1 แบบกาหนดเส้นทางได้
2 แบบกาหนดเส้นทางไม่ได้
ชนิดของตัวกลางทีนิยมใช้ ในปัจจุบัน
่
ตัวกลางประเภทนี้คือ ตัวกลางที่มีลกษณะเป็ นสายเชื่อมต่อระหว่างผูส่งกับผูรับ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2
ั
้
้
กลุ่มใหญ่ๆ คือ ตัวกลางประเภทสายส่ งสัญญาณไฟฟ้ า กับ ตัวกลางประเภทไร้สาย
ตัวกลางประเภทสายส่ งสัญญาณไฟฟ้ า มีดงนี้
ั
สายคู่ตีเกลียว –สายคู่ ตีเกลียว เป็ นสัญญาณที่มีราคาถูกที่สุดและนิยมใช้มากที่สุด
ภายในประกอบด้วยลวดทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุ มแล้วนามาพันกันเป็ นเกลียว
้
สายเคเบิลแกนร่ วมหรือสายโคแอกเชีลเคเบิล - หรื อที่นิยมเรี ยกสั้นๆว่า สายโคแอก
่
เป็ นสายสื่ อสารที่มีส่วนของสายส่ งข้อมูลเป็ นลวดทองแดงอยูตรงกลาง มีตวเหนี่ยวนาหุ มอยู่ 2 ชึ้น
ั
้
ชั้นในเป็ นฟั่นเกลียวหรื อชั้นแข็ง ชั้นนอกเป็ นเกลียวฟั่นและขั้นคันระหว่างชั้น ด้วยฉนวนหนา
่
เปลือกชั้นนอกสุ ดเป็ นฉนวนมีลกษณะเดียวกับสายทัวไป สายโคแอกสามารถม้วนโค็งงงอได้
ั
่
สายเคเบิลใยแก้วนาแสง - เป็ นตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรู ปของแสง หลักการทัวไปคือ
่
การเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลหรื อสัญญาณไฟฟ้ าให้เป็ นคลื่นแสงก่อน
แล้วส่ งผ่านสายไฟเบอร์ ออฟติกส์ปยังปลายทาง
อ้ างอิง
- http://www.chakkham.ac.th/technology/network/datacommu.html

http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/computer/network/net_datacom1.h
tm
- http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in2page3.html

More Related Content

What's hot

1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์Naruepon Seenoilkhaw
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้รัก นำทาง
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 

What's hot (20)

1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 

Viewers also liked

รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะJiraprapa Noinoo
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลsamaitiger
 
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)Jiraprapa Noinoo
 
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอลประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอลPramludee
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลDome Lonelydog
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอลkruda500
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
Basketball power point
Basketball power pointBasketball power point
Basketball power pointjratliff2
 

Viewers also liked (12)

รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะ
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอล
 
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
 
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอลประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอล
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Basketball power point
Basketball power pointBasketball power point
Basketball power point
 

Similar to รายงาน การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2Kanokwan Kanjana
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์L'Lig Tansuda Yongseng
 
การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1AdisukPuntong8
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123Anupon Jingjit
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43Pay123
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลkruumawan
 

Similar to รายงาน การสื่อสารข้อมูล (20)

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2การสื่อสารข้อมูล2
การสื่อสารข้อมูล2
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 

รายงาน การสื่อสารข้อมูล

  • 1. รายงาน เรื่ อง การสื่ อสารข้อมูล จัดทาโดย 1. นางสาวเบญจมาศ หนูประสิ ทธิ์ เลขที่ 16 ชั้น ม.4/1 เสนอ นางจุฑารัตน์ ใจบุญ รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชา ง31102 ภาคเรี ยนที่ 2/2556 โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอ วังวิเศษ จังหวัด ตรัง
  • 2. คานา รายงานเรื่ องการสื่ อสารข้อมูล เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพ และเทคโนโลยี รายวิชา ง31102 รายงานนี้ได้เรื่ องให้ความรู ้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล การส่ ง การรับ รู ปแบบการส่ ง และรายละเอียดต่างๆ อย่างถูกต้องเป็ นรายงานประกอบการเรี ยนรู ้ ซึ่งจัดทาขึ้นให้ผที่สนใจได้ศึกษา หวังว่าความรู ้น้ ีคงเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจ ู้ ู้ อนึ่ง หากมีขอผิดพลาดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ ้ เบญจมาศ หนูประสิ ทธ์ ผูจดทา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล 1 องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ 2 ข่ายการสื่ อสารข้อมูล 3 องค์ประกอบพื้นฐาน 3 วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่ อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การ 3 ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล 4 ช่องทางในการสื่ อสารข้อมูล 5 ชนิดของตัวกลางที่นิยมใช้ในปัจจุบน ั 5 อ้างอิง 6
  • 4. การสื่ อสารข้ อมูล (Data Communication) ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล การติดต่อสื่ อสารเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับมนุษย์ เนื่ องจากมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน ้ ่ โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อในการส่ งข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ งกันและกัน โดยมีอากาศเป็ นตัวกลาง ซึ่ งในภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันนั้น จะต้องมีขอตกลงกันว่าแต่ละสัญลักษณ์ หรื อคาพูด ้ แทนหรื อหมายถึงสิ่ งใด มนุษย์ได้คิดค้นวิธีการและเครื่ องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกันมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว ยกตัวอย่างเช่น การใช้สัญญาณควันไฟของชาวอินเดียแดง หรื อการใช้มาเร็ วในการส่ งสาส์น ้ จนกระทังพัฒนามาเป็ นการใช้โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต ่ ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล เกิดจากคาสองคา คือ การสื่ อสาร (Communication) ซึ่งหมายถึง การส่ งเนื้อหาจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง และคาว่าข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ่ งที่ถือหรื อยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ งสาหรับใช้เป็ นหลักอนุมานหาความจริ งหรื อการคานวณ [17] ซึ่ งในที่น้ ีเราจะหมายถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในรู ปตัวเลข 0 หรื อ 1 ต่อเนื่ องกันไป ซึ่ งเป็ นค่าที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าใจ นัน ่ วิธีการส่ งข้ อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสี ยก่อนแล้วจึงส่ งไปยังผูรับ และเมื่อถึงปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น ้ ้ ่ กลับมาให้อยูในรู ปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่ งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่ งรบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ขอมูลบางส่ วนเสี ยหาย ้ หรื อผิดเพี้ยนไปได้ซ่ ึ งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่ งยิงมากก็อาจจะทาให้เกิดสิ่ งรบกวนได้มากเช่นกัน ่ จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่ งรบกวน เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่ อสารที่จะทาให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
  • 5. องค์ ประกอบขั้นพืนฐานของระบบ ้ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่ อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็ นส่ วนประกอบได้ดงต่อไปนี้ ั 1. ผูส่งข่าวสารหรื อแหล่งกาเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็ นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ้ ข้อมูล และเสี ยงเป็ นต้น ในการติดต่อสื่ อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่าง ๆ ่ ก็นบว่าเป็ นแหล่งกาเนิดข่าวสาร จัดอยูในหมวดหมู่น้ ีเช่นกัน ั 2. ผูรับข่าวสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่ งจะรับรู ้จากสิ่ งที่ผส่งข่าวสาร ้ ู้ หรื อแหล่งกาเนิดข่าวสารส่ งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่ อสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ ั ้ ถ้าผูรับสารหรื อ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ ้ ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่ อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็ จ กล่าวคือไม่มีการสื่ อสารเกิดขึ้นนันเอง ่ 3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่น้ ีอาจจะหมายถึงสื่ อกลางหรื อตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน อาจจะเป็ นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น น้ า น้ ามัน เป็ นต้น ่ เปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง 4. การเข้ารหัส (encoding) เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่ อความหมาย ู้ ้ จึงมีความจาเป็ นต้องแปลง
  • 6. ่ ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปพลังงาน ที่พร้อมจะส่ งไปในสื่ อกลาง ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมีรหัสเดียวกัน การสื่ อสารจึงเกิดขึ้นได้ ้ ้ ้ 5. การถอดรหัส (decoding) ่ หมายถึงการที่ผรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่ อกลางให้กลับไปอยูในรู ปข่าวสารที่ส่งมาจากผูส่งข่าวสาร ู้ ้ โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน ่ 6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็ นสิ่ งที่มีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ท้ งทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับข่าวสาร และช่องสัญญาณ ั ้ ้ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ้ ้ ตาแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นที่ตวกลางหรื อช่องสัญญาณ ั เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติมกจะใช้ วงจรกรอง ้ ้ ั ั (filter) กรองสัญญาณแต่ตนทาง เพื่อให้การสื่ อสารมีคุณภาพดียงขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่น ้ ิ่ การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น ข่ ายการสื่ อสารข้ อมูล หมายถึง การรับส่ งข้อมูลหรื อสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่ งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็ นระบบการสื่ อสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า ่ ข่ายการสื่ อสารข้อมูล (Data Communication Networks) องค์ ประกอบพืนฐาน ้ หน่วยส่ งข้อมูล (Sending Unit) ช่องทางการส่ งข้อมูล (Transmisstion Channel) หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit) วัตถุประสงค์ หลักของการนาการสื่ อการข้ อมูลมาประยุกต์ ใช้ ในองค์ การประกอบด้ วย 1. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
  • 7. 2. เพื่อส่ งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว 3. เพื่อลดเวลาการทางาน 4. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ งข่าวสาร 5. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ 6. เพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล ่ 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่ อสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึ่ อยูในรู ปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสู ง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่ อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษร ต่อวินาทีแล้ว จะส่ งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสี ยเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านั้นซ้ าใหม่อีก ้ ่ 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ิ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่ งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบ สภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู ้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง ้ โดยอาจให้ทาการส่ งใหม่ หรื อกรณี ที่ผิดพลาด ไม่มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้ ้ 3) ความเร็ วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็ วเท่าแสง ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์ ส่งข้อมูลจากซี กโลกหนึ่ง ไปยังอีกซี ก โลกหนึ่ง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ ว ความรวดเร็ วของระบบทาให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึ้น เช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง ู้ ั ่ สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ ว ทาให้การจองที่นงของสายการบินสามารถทาได้ทนที ั่ ั
  • 8. 4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพื่อส่ งหรื อสาเนาข้อมูล ทาให้ราคาต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการ ้ ั จัดส่ งแบบวิธีอื่น สามารถส่ งข้อมูลให้กนและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้ ช่ องทางในการสื่ อสารข้ อมูล 1 แบบกาหนดเส้นทางได้ 2 แบบกาหนดเส้นทางไม่ได้ ชนิดของตัวกลางทีนิยมใช้ ในปัจจุบัน ่ ตัวกลางประเภทนี้คือ ตัวกลางที่มีลกษณะเป็ นสายเชื่อมต่อระหว่างผูส่งกับผูรับ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2 ั ้ ้ กลุ่มใหญ่ๆ คือ ตัวกลางประเภทสายส่ งสัญญาณไฟฟ้ า กับ ตัวกลางประเภทไร้สาย ตัวกลางประเภทสายส่ งสัญญาณไฟฟ้ า มีดงนี้ ั สายคู่ตีเกลียว –สายคู่ ตีเกลียว เป็ นสัญญาณที่มีราคาถูกที่สุดและนิยมใช้มากที่สุด ภายในประกอบด้วยลวดทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุ มแล้วนามาพันกันเป็ นเกลียว ้ สายเคเบิลแกนร่ วมหรือสายโคแอกเชีลเคเบิล - หรื อที่นิยมเรี ยกสั้นๆว่า สายโคแอก ่ เป็ นสายสื่ อสารที่มีส่วนของสายส่ งข้อมูลเป็ นลวดทองแดงอยูตรงกลาง มีตวเหนี่ยวนาหุ มอยู่ 2 ชึ้น ั ้ ชั้นในเป็ นฟั่นเกลียวหรื อชั้นแข็ง ชั้นนอกเป็ นเกลียวฟั่นและขั้นคันระหว่างชั้น ด้วยฉนวนหนา ่ เปลือกชั้นนอกสุ ดเป็ นฉนวนมีลกษณะเดียวกับสายทัวไป สายโคแอกสามารถม้วนโค็งงงอได้ ั ่ สายเคเบิลใยแก้วนาแสง - เป็ นตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรู ปของแสง หลักการทัวไปคือ ่ การเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลหรื อสัญญาณไฟฟ้ าให้เป็ นคลื่นแสงก่อน แล้วส่ งผ่านสายไฟเบอร์ ออฟติกส์ปยังปลายทาง