SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
จัดทาโดย
นายอดิศักดิ์ ปั้นทอง
ชั้น ม.4/2 เลขที่ 8
เสนอ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดย
ผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่ง
และผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆ
ไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย

จัดทาโดย
นายอดิศกดิ์ ปั้นทอง
ั
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

การสื่อสารข้อมูล

1

องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล

2

ชนิดของการสื่อสาร

3

การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์

4

สื่อกลางการสื่อสาร

6

อุปกรณ์สาหรับการสื่อสาร

10

ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

12

อ้างอิง

13
การสื่อสารข้อมูล
ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เราหันมาให้ความสาคัญต่อการ
ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่
ในรูปของอินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ก่อให้เกิดการนา
เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้าง
ทางเลือกในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการ
ติดต่อสื่อสาร ส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่
ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง
จากจุดเริ่มแรกทาให้มีการใช้บริการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้
งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนา
เทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อก
เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทัล ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้น และส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ลด
ความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อม
ๆ กัน อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่อสารทาให้สามารถส่งข้อมูลภาพและเสียงข้ามซีกโลกได้อย่างรวดเร็ว
รวมทั้งการใช้เซลลูลาห์หรือเครือข่ายไร้สายอื่น ๆ นับว่าเป็นการทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการใช้
อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่าง ๆ ทาให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วนแสดงดังรูปที่
4.1

รูปที่ 4.1 องค์ประกอบการสื่อสาร

1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล ( Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ใน
การให้กาเนิดข้อมูล หรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล ( Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็น
อุปกรณ์สาหรับข้อมูลที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้ดาเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
3. ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ
- ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็น
ต้น
- เสียง ( Voice) ข้อมูลเสียงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรือ
อุปกรณ์บางอย่างเป็นตัวสร้างก็ได้
- รูปภาพ ( Image) เป็นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรียงติดต่อกัน แต่จะมี
ลักษณะเหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลรูปภาพกับข้อมูล
ข้อความ แล้วรูปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า
- สื่อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้า
ด้วยกัน โดยสามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ VDO conference เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาด
ใหญ่มาก
4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนาส่งข้อมูล ( Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนา
ข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้
สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกาหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการ
สื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน

ชนิดของการสื่อสาร
การสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับกับผู้ส่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท
1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว ( Simplex Transmission) เป็นการติดต่อสื่อสารเพียง
ทิศทางเดียว คือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ
สถานีวิทยุ การส่ง e-mail เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.2

รูปที่ 4.2 แสดงการสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว

เช่น การกระจายเสียงของ
2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน ( Half Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2
ทิศทางแต่คนละเวลากัน เช่น วิทยุสื่อสาร เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.3

รูปที่ 4.3 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน

3. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน ( Full Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2
ทิศทาง โดยสามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ เช่น การคุยโทรศัพท์ เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.4 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสม
โดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่
ในรูปสัญญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากนั้นถึงส่งไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ปลายทาง
ประเภทของสัญญาณ
ข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ต้องเป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปสัญญาณทาง
ไฟฟ้า ซึ่งสามาถจาแนกสัญญาณได้ 2 ลักษณะ
1. สัญญาณแบบดิจิทัล(Digitals signal)
เป็นสัญญาณที่ถูกแบ่งเป็นช่วงๆ อย่างไม่ต่อเนื่อง ( Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะ
แบ่งออกเป็นสองระดับเพื่อแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละ
สถานะคือ การให้แรงดันทางไฟฟ้าที่แตกต่างกัน การทางานในคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิทัล แสดงดังรูปที่
4.5

รูปที่ 4.5 แสดงสัญญาณแบบดิจิทัล
2. สัญญาณอนาลอก(Analog Signal)
เป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความต่อเนื่องของสัญญาณ โดยไม่เปลี่ยนแปลงแบบ
ทันที่ทันใดเหมือนกับสัญญาณดิจิทัล เช่น เสียงพูด หรืออุณหภูมิในอากาศเมื่อเทียบกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง
อย่างต่อเนื่อง แสดงดังรูปที่ 4.6

รูปที่ 4.6 แสดงสัญญาณแบบอนาลอก
สื่อกลางการสื่อสาร (Transmission media)
การส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับให้ครบถ้วนและถูกต้องจาเป็นต้องอาศัยสื่อกลางในการเชื่อมต่อซึ่ง
สื่อกลาง (Medium) ทาหน้าที่เป็นเส้นทางเดินของข้อมูล โดยคุณภาพของสัญญาณที่ถูกส่งออกไปจะเกิดการ
สูญเสียความเข้มของสัญญาณระหว่างเส้นทางการสื่อสารทาให้ข้อมูลฝั่งรับเกิดข้อผิดพลาดและเป็นการ
ลดทอนประสิทธิภาพของการสื่อสารลง ซึ่งสื่อที่ใช้ในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission medium) จึงส่งผล
ต่อประสิทธิภาพในการส่งด้วย โดยสื่อกลางในการส่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. สื่อกลางแบบมีสาย (Guide media)
เป็นสื่อซึ่งอาศัยวัสดุที่จับต้องได้เป็นตัวส่งผ่านสัญญาณ เช่น สายทองแดง สายคู่ตีเกลียว
(Twisted pair)
1.1 Twisted Pair (สายคู่ตีเกลียว)
สายคูตเี กลียวแบ่งออกเป็นสายคูตเี กลียวไม่หมฉนวนเรียกสั้นๆ
่
่
ุ้

ว่า UTP

(Unshielded Twisted Pair) และสายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair)
- UTP (Unshielded Twisted Pair)
คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้น ซึ่งแต่ละเส้นก็
จะมีสีแตกต่างไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก(Plastic Cover) ซึ่งการตีเกลียวลักษณะนี้จะ
ช่วยให้มันมีคุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ เช่น จากเครื่องถ่ายเอกสารที่อยู่
ใกล้ๆ เป็นต้น ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรูปที่
4.7

รูปที่ 4.7 UTP (Unshielded Twisted Pair)
- STP (Shield Twisted Pair)
เป็นสายคู่ลักษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน สาย
คู่ตีเกลียวหุ้มฉนวนที่เป็นโลหะถักเป็นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการ
ป้องกันสัญญาณรบกวนต่างๆ ภาษาเทคนิคเรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณีที่เชื่อมต่อเป็นระยะ
ทางไกลเกินกว่าระยะทางที่จะใช้สาย UTP แสดงดังรูปที่ 4.8

รูปที่ 4.8 สายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair)

1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
ลักษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็นทองแดงแล้วหุ้มด้วยพลาสติกส่วนชันนอก
้
หุ้มด้วยโลหะหรือฟอยล์ที่ถักเป็นร่างแหเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชียลมี 2 แบบ คือ แบบ
หนา (thick) และแบบบาง (thin) ส่วนใหญ่ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Ethernet แบบเดิม ซึ่งใช้เชื่อมต่อ
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องใช้อุปกรณ์รวมสาย (Hub) แต่ในปัจจุบันมีการใช้น้อยลงเนื่องจาก
ถูกแทนที่ด้วยสาย UTP ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า แสดงดังรูปที่ 4.9

รูปที่ 4.9 สายโคแอกเชียล
1.3 ใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic)
ลักษณะใยแก้วนาแสงจะส่งสัญญาณแสงวิ่งผ่านท่อแก้วหรือท่อพลาสติกเล็กๆซึ่งท่อแก้วนี้
จะถูกหุ้มด้วยเจลหรือพลาสติก

เพื่อป้องกันความเสียหายและการสูญเสียของสัญญาณ มีข้อดีตรงที่ส่ง

สัญญาณได้ระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน แสดงดังรูปที่ 4.10

รูปที่ 4.10 ใยแก้วนาแสง

2. สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media)
เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่ใช้วัสดุใดๆ ในการนาสัญญาณ ซึ่งจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้
สัญญาณเดินทาง เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2.1 ระบบคลื่นไมโครเวฟ
ระบบสื่อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่อยู่ในพื้นที่ที่เชื่อมต่อ
ด้วยสื่อประเภทอื่นลาบาก เช่น มีแม่น้าขวางกั้นอยู่ หรือการสื่อสารข้ามอาคาร เป็นต้น การส่งสัญญาณข้อมูล
ไปกับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับส่งสัญญาณหนึ่งไปยังอีก
สถานีหนึ่ง โดยสามารถเกิดสัญญาณรบกวน ซึ่งสภาพดินฟ้าอากาศมีผลต่อการส่งคลื่นไมโครเวฟพอสมควร
เช่นถ้าสภาพอากาศมีฝนหรือควันมาก สัญญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ด้วยเหตุนี้ทาให้เครื่องส่งรับ
ไมโครเวฟส่วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทางานในสภาพอากาศต่างๆ ที่แตกต่างกัน แสดงดังรูปที่ 4.11
รูปที่ 4.11 ระบบคลื่นไมโครเวฟ
2.2 ระบบดาวเทียม
การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นการสื่อสารที่สถานีรับ

-ส่งที่อยู่บนพื้นดิน ส่งตรงไปยัง

ดาวเทียมแล้วส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่อสารระบบดาวเทียมเหมาะ
สาหรับการติดต่อสื่อสารระยะไกลที่ระบบสื่อสารอื่นๆ เข้าถึงลาบาก เช่น เดินเรืออยู่กลางทะเล แสดงดังรูป
ที่ 4.12

รูปที่ 4.12 ระบบดาวเทียม
สัญญาณรบกวนและสภาพดินฟ้าอากาศก็นับว่ามีผลต่อการส่งข้อมูลจากสถานีพื้นโลกกับ
ดาวเทียมอยู่พอสมควร เพราะว่าสภาพอากาศที่แปรปรวนจะรบกวนสัญญาณให้ผิดเพี้ยนไปได้

โดยส่วน

ใหญ่ดาวเทียมจะถูกออกแบบมาให้ชดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านั้นเช่น

ฝน หรือ

หมอก เป็นต้น
อุปกรณ์สาหรับการสื่อสาร
การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ทางอิเล็คโทรนิกค์ช่วยในการส่งข้อมูล
จากผู้ส่งไปยังผู้รับ ไม่ว่าจะเป็นการแปลงข้อมูล เช่น ข้อความในกระดาษ รูปภาพ ที่ไม่อยู่ในรูปสัญญาณทาง
ไฟฟ้าให้เปลี่ยนอยู่ในรูปสัญญาณไฟฟ้าหรือสัญญาณดิจิทัล อุปกรณ์ในการสื่อสารยังรวมถึงอุปกรณ์ที่ช่วย
ในการแก้ปัญหาสัญญาณอ่อนกาลัง ปัญหาสัญญาณรบกวนเมื่อมีการส่งสัญญาณ ดังนั้นระบบการสื่อสาร
ข้อมูลจึงต้องมีอุปกรณ์การสื่อสารมาช่วยในการจัดการปัญหาต่างๆ เหล่านี้เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้อย่าง
ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยในหัวข้อนี้จะขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีการใช้กับมากในระบบการสื่อสาร
ข้อมูล
1. เครื่องเทอร์มินอล (Terminal)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางหรือปลายทางที่ทาหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูล ได้แก่
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วๆไป (Personal Computer)
2. โมเด็ม (Modem)
เมื่อต้องการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย ไปยัง
ระบบอินเทอร์เน็ต(Internet) ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่เรียกว่า โมเด็ม ซึ่งทาหน้าที่แปลงสัญญาณจากสัญญาณ
ดิจิทัลเป็นสัญญาณอนาล็อกแล้วส่งผ่านไปตามระบบโทรศัพท์
3. เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
เป็นอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ และป้องกันการขาดหายของสัญญาณ เนื่องจาก การสื่อสาร
ข้อมูลต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าในการรับส่งข้อมูล โดยตามปรกติเมื่อสัญญาณทางไฟฟ้าเดินทางจากจุดๆหนึ่ง
ไปยังปลายทางจะเกิดการสูญเสียแรงดันทางไฟฟ้า และส่งผลให้สัญญาณเกิดออ่อนกาลัง ดังนั้น จึง
จาเป็นต้องมีรีพีตเตอร์มาช่วยในการรับส่งข้อมูล โดยรีพีตเตอร์ทาหน้าที่ทบทวนสัญญาณไฟฟ้าขึ้นใหม่ให้
เหมือนสัญญาณเดิมที่ถูกส่ง
4. เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier)
เป็นอุปกรณ์ขยายสัญญาณ โดยมีหน้าที่การทางานเหมือนกับรีพีตเตอร์ แต่จะใช้กับ
สัญญาณอนาล็อก โดยเมื่อสัญญาณอนาล็อกอ่อนกาลังเครื่องขยายสัญญาณจะทาการขยายสัญญาณที่อ่อน
กาลังให้มีค่าเพิ่มขึ้นใกล้เคียงหรือมีค่าเท่ากับสัญญาณเดิม แต่ของเสียของเครื่องขยายสัญญาณคือ มันจะขยาย
สัญญาณรบกวนที่ผสมมากับสัญญาณข้อมูลด้วย
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล
1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึก
ข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120
ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้น
ซ้าใหม่อีก
2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
ด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้
และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่
มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้
คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผู้ใช้สะดวกสบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่ง
สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที
4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคา
ต้นทุนของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่าน
ทางสายโทรศัพท์ได้
อ้างอิง
www.chakkham.ac.th/technology/network/datacommu.html‎
www.computer.cmru.ac.th/trid/pto/IT/บทที่%205.doc

More Related Content

What's hot

สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123
Anupon Jingjit
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Rungnapa Tamang
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
Montita Kongmuang
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
sawitri555
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
manit2617
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Onanong Phetsawat
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
pookpikdel
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
Nattanaree
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
leelawadeerattakul99
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
aomaamjeeranan
 

What's hot (19)

สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล
การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูลการสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล
การสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Similar to การสื่อสารข้อมู1

การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
Tharathep Chumchuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sun ZaZa
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
sawalee kongyuen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
Khayss
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
ratiporn555
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43
Pay123
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Buzzer'Clup Her-Alone
 

Similar to การสื่อสารข้อมู1 (20)

การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 2
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43การสื่อสารข้อมูล43
การสื่อสารข้อมูล43
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

การสื่อสารข้อมู1

  • 1. รายงาน เรื่อง การสื่อสารข้อมูล จัดทาโดย นายอดิศักดิ์ ปั้นทอง ชั้น ม.4/2 เลขที่ 8 เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดย ผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่ง และผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆ ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย จัดทาโดย นายอดิศกดิ์ ปั้นทอง ั
  • 4. การสื่อสารข้อมูล ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เราหันมาให้ความสาคัญต่อการ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่ ในรูปของอินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ก่อให้เกิดการนา เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้าง ทางเลือกในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการ ติดต่อสื่อสาร ส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่ ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง จากจุดเริ่มแรกทาให้มีการใช้บริการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนา เทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อก เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทัล ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้น และส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ลด ความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อม ๆ กัน อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่อสารทาให้สามารถส่งข้อมูลภาพและเสียงข้ามซีกโลกได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งการใช้เซลลูลาห์หรือเครือข่ายไร้สายอื่น ๆ นับว่าเป็นการทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการใช้ อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่าง ๆ ทาให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
  • 5. องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วนแสดงดังรูปที่ 4.1 รูปที่ 4.1 องค์ประกอบการสื่อสาร 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล ( Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ใน การให้กาเนิดข้อมูล หรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล ( Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็น อุปกรณ์สาหรับข้อมูลที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้ดาเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์ 3. ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ - ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็น ต้น - เสียง ( Voice) ข้อมูลเสียงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรือ อุปกรณ์บางอย่างเป็นตัวสร้างก็ได้ - รูปภาพ ( Image) เป็นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรียงติดต่อกัน แต่จะมี ลักษณะเหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลรูปภาพกับข้อมูล ข้อความ แล้วรูปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า
  • 6. - สื่อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้า ด้วยกัน โดยสามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ VDO conference เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาด ใหญ่มาก 4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนาส่งข้อมูล ( Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนา ข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้ สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น 5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกาหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการ สื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน ชนิดของการสื่อสาร การสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับกับผู้ส่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท 1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว ( Simplex Transmission) เป็นการติดต่อสื่อสารเพียง ทิศทางเดียว คือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ สถานีวิทยุ การส่ง e-mail เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.2 รูปที่ 4.2 แสดงการสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว เช่น การกระจายเสียงของ
  • 7. 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน ( Half Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2 ทิศทางแต่คนละเวลากัน เช่น วิทยุสื่อสาร เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.3 รูปที่ 4.3 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน 3. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน ( Full Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2 ทิศทาง โดยสามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ เช่น การคุยโทรศัพท์ เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.4 รูปที่ 4.4 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสม โดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ ในรูปสัญญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากนั้นถึงส่งไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ปลายทาง ประเภทของสัญญาณ ข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ต้องเป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปสัญญาณทาง ไฟฟ้า ซึ่งสามาถจาแนกสัญญาณได้ 2 ลักษณะ
  • 8. 1. สัญญาณแบบดิจิทัล(Digitals signal) เป็นสัญญาณที่ถูกแบ่งเป็นช่วงๆ อย่างไม่ต่อเนื่อง ( Discrete) โดยลักษณะของสัญญาณจะ แบ่งออกเป็นสองระดับเพื่อแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต 0 และสถานะของบิต 1 โดยแต่ละ สถานะคือ การให้แรงดันทางไฟฟ้าที่แตกต่างกัน การทางานในคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิทัล แสดงดังรูปที่ 4.5 รูปที่ 4.5 แสดงสัญญาณแบบดิจิทัล 2. สัญญาณอนาลอก(Analog Signal) เป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความต่อเนื่องของสัญญาณ โดยไม่เปลี่ยนแปลงแบบ ทันที่ทันใดเหมือนกับสัญญาณดิจิทัล เช่น เสียงพูด หรืออุณหภูมิในอากาศเมื่อเทียบกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่อง แสดงดังรูปที่ 4.6 รูปที่ 4.6 แสดงสัญญาณแบบอนาลอก
  • 9. สื่อกลางการสื่อสาร (Transmission media) การส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับให้ครบถ้วนและถูกต้องจาเป็นต้องอาศัยสื่อกลางในการเชื่อมต่อซึ่ง สื่อกลาง (Medium) ทาหน้าที่เป็นเส้นทางเดินของข้อมูล โดยคุณภาพของสัญญาณที่ถูกส่งออกไปจะเกิดการ สูญเสียความเข้มของสัญญาณระหว่างเส้นทางการสื่อสารทาให้ข้อมูลฝั่งรับเกิดข้อผิดพลาดและเป็นการ ลดทอนประสิทธิภาพของการสื่อสารลง ซึ่งสื่อที่ใช้ในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission medium) จึงส่งผล ต่อประสิทธิภาพในการส่งด้วย โดยสื่อกลางในการส่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. สื่อกลางแบบมีสาย (Guide media) เป็นสื่อซึ่งอาศัยวัสดุที่จับต้องได้เป็นตัวส่งผ่านสัญญาณ เช่น สายทองแดง สายคู่ตีเกลียว (Twisted pair) 1.1 Twisted Pair (สายคู่ตีเกลียว) สายคูตเี กลียวแบ่งออกเป็นสายคูตเี กลียวไม่หมฉนวนเรียกสั้นๆ ่ ่ ุ้ ว่า UTP (Unshielded Twisted Pair) และสายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair) - UTP (Unshielded Twisted Pair) คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้น ซึ่งแต่ละเส้นก็ จะมีสีแตกต่างไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก(Plastic Cover) ซึ่งการตีเกลียวลักษณะนี้จะ ช่วยให้มันมีคุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ เช่น จากเครื่องถ่ายเอกสารที่อยู่ ใกล้ๆ เป็นต้น ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรูปที่ 4.7 รูปที่ 4.7 UTP (Unshielded Twisted Pair)
  • 10. - STP (Shield Twisted Pair) เป็นสายคู่ลักษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน สาย คู่ตีเกลียวหุ้มฉนวนที่เป็นโลหะถักเป็นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการ ป้องกันสัญญาณรบกวนต่างๆ ภาษาเทคนิคเรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณีที่เชื่อมต่อเป็นระยะ ทางไกลเกินกว่าระยะทางที่จะใช้สาย UTP แสดงดังรูปที่ 4.8 รูปที่ 4.8 สายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair) 1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ลักษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็นทองแดงแล้วหุ้มด้วยพลาสติกส่วนชันนอก ้ หุ้มด้วยโลหะหรือฟอยล์ที่ถักเป็นร่างแหเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชียลมี 2 แบบ คือ แบบ หนา (thick) และแบบบาง (thin) ส่วนใหญ่ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Ethernet แบบเดิม ซึ่งใช้เชื่อมต่อ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องใช้อุปกรณ์รวมสาย (Hub) แต่ในปัจจุบันมีการใช้น้อยลงเนื่องจาก ถูกแทนที่ด้วยสาย UTP ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า แสดงดังรูปที่ 4.9 รูปที่ 4.9 สายโคแอกเชียล
  • 11. 1.3 ใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic) ลักษณะใยแก้วนาแสงจะส่งสัญญาณแสงวิ่งผ่านท่อแก้วหรือท่อพลาสติกเล็กๆซึ่งท่อแก้วนี้ จะถูกหุ้มด้วยเจลหรือพลาสติก เพื่อป้องกันความเสียหายและการสูญเสียของสัญญาณ มีข้อดีตรงที่ส่ง สัญญาณได้ระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน แสดงดังรูปที่ 4.10 รูปที่ 4.10 ใยแก้วนาแสง 2. สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media) เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่ใช้วัสดุใดๆ ในการนาสัญญาณ ซึ่งจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้ สัญญาณเดินทาง เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2.1 ระบบคลื่นไมโครเวฟ ระบบสื่อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่อยู่ในพื้นที่ที่เชื่อมต่อ ด้วยสื่อประเภทอื่นลาบาก เช่น มีแม่น้าขวางกั้นอยู่ หรือการสื่อสารข้ามอาคาร เป็นต้น การส่งสัญญาณข้อมูล ไปกับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับส่งสัญญาณหนึ่งไปยังอีก สถานีหนึ่ง โดยสามารถเกิดสัญญาณรบกวน ซึ่งสภาพดินฟ้าอากาศมีผลต่อการส่งคลื่นไมโครเวฟพอสมควร เช่นถ้าสภาพอากาศมีฝนหรือควันมาก สัญญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ด้วยเหตุนี้ทาให้เครื่องส่งรับ ไมโครเวฟส่วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทางานในสภาพอากาศต่างๆ ที่แตกต่างกัน แสดงดังรูปที่ 4.11
  • 12. รูปที่ 4.11 ระบบคลื่นไมโครเวฟ 2.2 ระบบดาวเทียม การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นการสื่อสารที่สถานีรับ -ส่งที่อยู่บนพื้นดิน ส่งตรงไปยัง ดาวเทียมแล้วส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่อสารระบบดาวเทียมเหมาะ สาหรับการติดต่อสื่อสารระยะไกลที่ระบบสื่อสารอื่นๆ เข้าถึงลาบาก เช่น เดินเรืออยู่กลางทะเล แสดงดังรูป ที่ 4.12 รูปที่ 4.12 ระบบดาวเทียม สัญญาณรบกวนและสภาพดินฟ้าอากาศก็นับว่ามีผลต่อการส่งข้อมูลจากสถานีพื้นโลกกับ ดาวเทียมอยู่พอสมควร เพราะว่าสภาพอากาศที่แปรปรวนจะรบกวนสัญญาณให้ผิดเพี้ยนไปได้ โดยส่วน ใหญ่ดาวเทียมจะถูกออกแบบมาให้ชดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านั้นเช่น ฝน หรือ หมอก เป็นต้น
  • 13. อุปกรณ์สาหรับการสื่อสาร การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ทางอิเล็คโทรนิกค์ช่วยในการส่งข้อมูล จากผู้ส่งไปยังผู้รับ ไม่ว่าจะเป็นการแปลงข้อมูล เช่น ข้อความในกระดาษ รูปภาพ ที่ไม่อยู่ในรูปสัญญาณทาง ไฟฟ้าให้เปลี่ยนอยู่ในรูปสัญญาณไฟฟ้าหรือสัญญาณดิจิทัล อุปกรณ์ในการสื่อสารยังรวมถึงอุปกรณ์ที่ช่วย ในการแก้ปัญหาสัญญาณอ่อนกาลัง ปัญหาสัญญาณรบกวนเมื่อมีการส่งสัญญาณ ดังนั้นระบบการสื่อสาร ข้อมูลจึงต้องมีอุปกรณ์การสื่อสารมาช่วยในการจัดการปัญหาต่างๆ เหล่านี้เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยในหัวข้อนี้จะขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีการใช้กับมากในระบบการสื่อสาร ข้อมูล 1. เครื่องเทอร์มินอล (Terminal) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางหรือปลายทางที่ทาหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วๆไป (Personal Computer) 2. โมเด็ม (Modem) เมื่อต้องการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย ไปยัง ระบบอินเทอร์เน็ต(Internet) ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่เรียกว่า โมเด็ม ซึ่งทาหน้าที่แปลงสัญญาณจากสัญญาณ ดิจิทัลเป็นสัญญาณอนาล็อกแล้วส่งผ่านไปตามระบบโทรศัพท์ 3. เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ และป้องกันการขาดหายของสัญญาณ เนื่องจาก การสื่อสาร ข้อมูลต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าในการรับส่งข้อมูล โดยตามปรกติเมื่อสัญญาณทางไฟฟ้าเดินทางจากจุดๆหนึ่ง ไปยังปลายทางจะเกิดการสูญเสียแรงดันทางไฟฟ้า และส่งผลให้สัญญาณเกิดออ่อนกาลัง ดังนั้น จึง จาเป็นต้องมีรีพีตเตอร์มาช่วยในการรับส่งข้อมูล โดยรีพีตเตอร์ทาหน้าที่ทบทวนสัญญาณไฟฟ้าขึ้นใหม่ให้ เหมือนสัญญาณเดิมที่ถูกส่ง 4. เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) เป็นอุปกรณ์ขยายสัญญาณ โดยมีหน้าที่การทางานเหมือนกับรีพีตเตอร์ แต่จะใช้กับ สัญญาณอนาล็อก โดยเมื่อสัญญาณอนาล็อกอ่อนกาลังเครื่องขยายสัญญาณจะทาการขยายสัญญาณที่อ่อน
  • 14. กาลังให้มีค่าเพิ่มขึ้นใกล้เคียงหรือมีค่าเท่ากับสัญญาณเดิม แต่ของเสียของเครื่องขยายสัญญาณคือ มันจะขยาย สัญญาณรบกวนที่ผสมมากับสัญญาณข้อมูลด้วย ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึก ข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้น ซ้าใหม่อีก 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่ มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้ 3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้ คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผู้ใช้สะดวกสบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่ง สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทาได้ทันที 4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสาเนาข้อมูล ทาให้ราคา ต้นทุนของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กันและกันผ่าน ทางสายโทรศัพท์ได้