SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
รวมกฎ กติกา และพื้นฐานการเล่น HANDBALL
นำเสนอ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประวัติกีฬาแฮนด์บอล เยอรมันนีเป็นผู้ริเริ่ม ราวปลายศตวรรษที่  19   โดยครูสอนพลศึกษาชื่อ  Donrad Koch อาศัยทักษะพื้นฐานจากการเล่นฟุตบอลและบาสเกตบอล ชื่อที่เรียกในระยะแรกๆ คือ ฮอกกี้มือ โปโลบก โดยมีจำนวนผู้เล่นทีมละ  11  คน เหมือนฟุตบอล
ค . ศ .  1900   -  เยอรมันนี เชคโกสโลวาเกีย และเดนมาร์ก  ร่วมกันปรับปรุงการเล่นพื้นฐานขึ้น  -  ใช้ห้องพลศึกษาดัดแปลง เพราะสภาพอากาศไม่เป็นใจในการเล่นกลางแจ้ง -  สถานที่คับแคบ จึงลดคนเล่นลงเหลือ ข้างละ 7   คน ค . ศ .  1904 -  แฮนด์บอลอยู่ในความดูแลของ สหพันธ์กีฬาสมัครเล่นระหว่างชาติ  (  I.A.A.F )
ค . ศ .  1909 -  โซเวียตปรับปรุงกีฬาแฮนด์บอลข้างล ะ   7  คนขึ้นอีก -  เมือง  Kharkov -  โดย  Edward Maly ค . ศ .  1920 -  Karl Schelenz -  ปรับปรุงขนาดของลูกให้เล็กลง -  ปรับปรุงกติกาว่าด้วยการเคลื่อนที่ ในขณที่ไม่มีการส่งลูกและเลี้ยงลูกบอลได้  3  ก้าว
ค . ศ .  1926 -  I.A.A.F.  ตั้งคณะกรรมการกีฬาแฮนด์บอล โดยคัดเลือกจากประเทศต่างๆในเครือสมาชิก -  ตกลงกันเรื่องกติกา ค . ศ . 1928 -  มีการตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติขึ้น -  มี  11  ประเทศสมาชิก -  มีการสาธิตการแข่งขันกีฬาแฮนด์บอลขึ้น ในโอกาสที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์
ค . ศ .  1931 -  แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าเป็นรายแข่งขันกีฬาระหว่างชาติ โดยการยอมรับของ  I.O.C. ค . ศ .  1934 -  ประเทศสมาชิกสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติ ขยายตัวเพิ่มเป็น  25  ประเทศ ค . ศ . 1936 -  มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเข้าในกีฬาโอลิมปิก -  กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน -  เรียกว่า  NAZI OLYMPIC -  เยอรมันได้เหรียญทอง
ค . ศ .  1938 -  เยอรมันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแฮนด์บอลชิงชนะเลิศของโลกเป็นครั้งแรก -  มี  10   ประเทศเป็นผู้ร่วมเข้าแข่งขัน ค . ศ . 1946 -  ตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลนานาชาติ  ( THF) -  สมาชิก  8   ประเทศ คือ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์  ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์  และสวิตเซอร์แลน ค . ศ . 1954 THF  จัดให้มีการแฮนด์บอลในร่มชิงชนะเลิศของโลกขึ้นเป็นครั้งแรก สวีเดน เป็นผู้ชนะเลิศ
ค . ศ . 1956 -  มีการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงเป็นครั้งแรก -  ประเทศเชกโกสโลวาเกียเป็นผู้ชนะเลิศ -  มีการปรับปรุงกติกาใหม่ที่เล่นกันจนถึงปัจจุบัน -  โดยอาศัยกติกาของฟุตบอลและบาสเกตบอลมาผสมกัน ค . ศ . 1959 -  Dr. Peter Bushning  -  ริเริ่มนำกีฬาแฮนด์บอลเข้าไปเผยแพร่ที่รัฐนิวยอร์ก และรัฐนิวเจอร์ซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
ค . ศ .  1968 -  B.J. Bowland  และ  Phil Hoden   สมาชิกของสมาคมแฮนด์บอล ประเทศอังกฤษ -  จัดให้มีการประชุมระหว่างสมาชิกของสมาคมแฮนด์บอลต่างๆ ในอังกฤษ -  เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาพันธ์ระหว่างชาติ ค . ศ . 1969 -  อิตาลี ได้เดินทางมาแข่งขันกีฬาแฮนด์บอล ที่ประเทศอังกฤษ -  เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ
ค . ศ .  1972 -  แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกอีครั้งหนึ่ง  -  ณ เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมัน -  ประเทศยูโกสลาเวีย ได้เหรียญทอง ค . ศ . 1976 -  มีการบรรจุการแข่งขันประเภทหญิง -  ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงมอลทรีลที่ประเทศแคนาดา -  สหภาพโซเวียต ชนะเลิศ ทั้ง ทีมหญิง และ ทีมชาย ค . ศ . 1982 -  มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเป็นครั้งแรกกีฬาเอเชื่ยนเกมส์ครั้งที่  9   ที่ประเทศอินเดีย
พ . ศ .  2482   -  ได้มีการนำ กีฬาแฮนด์บอลเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย  -  โดยอาจารย์กอง วิสุทธารมย์ อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา  -  มีการเล่นแบบ  11  คนอยู่ -  หลังจากนั้นไม่นานจึงถูกยกเลิกไป พ . ศ . 2500 -  นายธนิต คงมนต์ ได้เสนอกีฬาแฮนด์บอลเข้าไว้ในหลักสูตรพลศึกษาของวิทยาลัยและโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย -  ได้รับการอนุมัติใน  พ . ศ . 2501 กีฬาแฮนด์บอลในประเทศไทย
ในปัจจุบัน กีฬาแฮนด์บอลได้ถูกบรรจุเข้าไว้ในการเรียนการสอน ในระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ มหาวิทยาลัย
ประโยขน์ของการเล่น ประโยชน์ทางด้านร่างกาย ประโยชน์ทางด้านจิตใจ และ อารมณ์ ประโยชน์ทางด้านสังคมทั่วไป
ประโยชน์ทางด้านร่างกาย ส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกาย - กล้ามเนื้อแข็งแรง สร้างความคล่องแคล่วว่องไว ความอ่อนตัว ความอดทนและพลัง เสริมสร้างระบบการประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อ กับประสาทสัมผัส ช่วยให้เซลล์ต่างๆ ของเนื้อเยื่อทำงานได้ดี ระบบโครงกระดูก พัฒนาดี เจริญเติบโตดี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประโยชน์ทางด้านจิตใจและอารมณ์ เกิดความมั่นใจ กล้าตัดสินใจ มีจิตใจหนักแน่น เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีน้ำใจเป็นนักกีฬา ยอมรับในตัวผู้อื่น เป็นผู้เสียสละ เป็นการพักผ่อน ระบายความเครียด จิตใจและอารมณ์ สุขุม เยือกเย็น
ประโยชน์ทางด้านสังคม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย กติกา เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยขน์  ฝึกพื้นฐานการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเข้าสังคม
กติกาข้อ  1 :  สนามแข่ง กติกาข้อ  2 :  เวลาการเล่น กติกาข้อ  3 :  ลูกบอล กติกาข้อ  4 :  ผู้เล่น กติกาข้อ  5 :  ผู้รักษาประตู กติกาข้อ  6 :  เขตประตู กติกาข้อ  7 :  การเล่นลูกบอล กติกาข้อ  8 :  การเข้าหาผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม  กติกาข้อ  9 :  การได้ประตู ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กติกาและอุปกรณ์การเล่น
 
 
 
 
 
 
 
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การทรงตัวขณะเคลื่อนที่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.  การทรงตัวเมื่อต้องการหยุด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
การรับส่งลูกบอล
 
การรับลูกบอลในลักษณะต่างๆ ,[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การรับลูกที่ส่งมาไม่ตรงตัวทางแขนด้านที่ถนัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4.  การรับลูกบอลที่กลิ่งมาตามพื้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การส่งลูกบอล ประกอบด้วยหลักการดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
การปฏิบัติในการส่งลูก -   ถ้าผู้ส่งถนัดมือขวา  ก็จะต้องใช้เท้าซ้ายอยู่ข้างหน้าเท้าขวาในขณะส่งลูก -  โน้มตัวไปด้านหน้า  ถ่ายน้ำหนักตัวไปยังด้านหน้าเอเสริมแรงทำให้ลูกวิ่งได้เร็วและแรงมากยิ่งขั้ น
การยืนส่งบอลในลักษณะต่างๆ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2. การยืนส่งด้วยมือสองมือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การกระโดดส่งลูกบอล 1.  กระโดดส่งลูกบอลมือเดียวตรงหน้า -  กระโดดใช้เท้าด้านที่ตรงข้ามกับมือที่ถือลูก  ( Take off )  ในขณะเดียวกันให้งอเข่าตรงข้าม -  ขณะที่ตัวลอยอยู่ในอากาศ  ส่งลูกบอลออกไป  ในขณะเดียวกันให้บิดลำตัว เพื่อส่งกำลังติดตามด้วยไหล่  ข้อศอก  และสุดท้ายที่ข้อมือจนตึงปลายนิ้ว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  กระโดดสองเท้าส่งลูกบอลสองมือ - การกระโดดให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสอง - การส่งลูกบอลเป็นการส่งลูกบอลมือเหนือศีรษะ - มือทั้งสองถือลูกบอล  เหยียดขึ้นไปเหนือศีรษะ  เหยียดลำตัวมาทางด้านหลังเล็กน้อย - ส่งลูกบอลด้วยแรงจากลำตัว  แขน  และนิ้วมือ  ให้เหวี่ยงแขนตามทิศทางการส่งลูกบอลด้วย
ข้อเสนอแนะในการรับ  -  ส่งลูกบอล 1.  อย่าแสดงอาการว่าจะส่งลูกไปในทิศทางใด 2.  การหลอกคู่ต่อสู้ พยายามอย่าให้ข้างเดียวกันหลงทางไปด้วย 3.  การส่งลูกระวังอย่าให้แรงหรือเบาเกินไป 4.  เป้าหมายของการส่งลูกขณะผู้รับเคลื่อนที่  ประมาณข้างหน้าของผู้รับระยะ  1  ช่วงแขน  ไม่ควรส่งย้อนหลัง  สูงหรือต่ำเกินไป 5.  การส่งลูกระยะไกล  พยายามไม่ให้ลูกวิ่งเป็นวิถีโค้ง 6.  ไม่ควรส่งลูกกระดอนบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น 7.  ไม่ควรส่งลูกพลิกแพลงบ่อย  ในขณะที่ไม่มีความชำนาญ  จะเป็นการเสี่ยงโดยไม่จำเป็น 8.  อย่าส่งลูกขณะที่ผู้รับยังวิ่งหันหลังให้ 9.  อย่าส่งลูกข้ามคน  เพราะอาจถูกคู่ต่อสู้ตัดแย่งเอาไปได้
การเลี้ยงลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล  คือ  ในขณะยืนหรือเคลื่อนที่ พยายามบังคับลูกบอลให้กระทบพื้น  หรือกลิ้งบนพื้นด้วยอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย  ผู้เล่นจะก้าวกี่ก้าวก็ได้ในระหว่างที่กำลังเลี้ยงลูกบอลอยู่
ทักษะในการปฏิบัติ 1.  ปัดลูกบอลไปบนพื้นสนาม  ให้ผู้ฝึกกางนิ้วมือที่จะใช้เลี้ยงลูกบอลออกทุกนิ้ว  เวลาผลักลูกบอลลงสู่พื้นนั้น  ใช้เฉพาะนิ้วทั้งห้าเท่านั้น  อย่าใช้ฝ่ามือผลักลูกบอลเป็นอันขาด 2.   ตำแหน่งของร่างกายขณะเลี้ยงลูกบอล  ให้ก้มตัวไปข้างหน้า  ย่อเข่า  แขนอีกข้างกางออกเพื่อการทรงตัว เท้าอยู่ในลักษณะมีเท้านำ และเท้าตาม 3.  การเปลี่ยนตำแหน่งของลำตัว  หรือทิศทางการเคลื่อนที่ หรือหลบหลีกคู่ต่อสู้  ผู้ที่เลี้ยงลูกบอล ต้องมีทักษะในการใช้มือเลี้ยงลูกเป็นอย่างดีและถูกต้อง 4.  ลำตัวเอียงโน้มไปข้างหน้า หรือด้านข้างเพื่อช่วยในหารหลบหลีกและป้องกันคู่ต่อสู้ไปด้วย 5.  เมื่อต้องการหยุด ให้ย่อตัวลงต่ำ และกดลูกให้ต่ำลง  หรือจับลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือก็ได้
ลักษณะการเลี้ยงลูกบอล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การหมุนตัว เป็นทักษะที่ต้องการการฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง  เพราะเป็นลักษณะการเล่นที่ต้องอาศัยความสามารถด้านต่างๆ มาประกอบด้วยกัน  แยกได้เป็น  2  ลักษณะ 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ 2. การหลอกหมุนตัวกลับ
1.  การหมุนตัวอยู่กับที่ -  ถือเป็นทักษะเริ่มต้น นำไปสู่การบังกติกาอนุญาตให้ผู้เล่นถือลูกบอลอยู่ สามารถกาวเท้าได้สูงสุด  3  ก้าว -  การก้าวเท้าในหารหมุนตัวคือ  ขณะยืนอยู่ด้วยเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกเท้าหนึ่งขึ้นแล้ววางเท้านั้นลงอีกครั้ง  หรือเคลื่อนเท้าจากที่หนึ่งไปยังที่อื่นๆ โดยที่เท้าอีกเท้าหนึ่งเป็นเท้าหลักอยู่กับพื้น  ทั้งนี้ต้องไม่เกิน  3  วินาที
วิธีการปฏิบัติ 1.  หมุนตัวโดยใช้เท้าหนึ่งเท้าใดเป็นหลัก  หมุนไปตามทิศทางที่ต้องการ 2. การหมุนให้ใช้เท้าที่ไม่ใช่เท้าหลัก  เป็นเท้าหมุนดดยการเหวี่ยงไปรอบๆ 3. เท้าที่ใช้เป็นหลักจะต้องยึดมั่นอยู่กับพื้น  โดยใช้เขย่งส้นเท้าขึ้นให้ปลายเท้าติดดิน 4. การหมุน ใช้อุ้งเท้าโดนหัวแม่เท้าเป็นจุดหมุน
 
 
 
 
 
 
1. 6  การยืนยิงประตูแบบกลับหลัง
 
 
 
 
คำอธิบายสัญลักษณ์
คำอธิบายสัญลักษณ์
สัญญาณมือจากกรรมการ
สัญญาณมือจากกรรมการ
แบบฟอร์มใบส่งรายชื่อนักกีฬาแฮนด์บอล
[object Object]

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
krupeak
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
Kansinee Kosirojhiran
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
preecha2001
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

แฮนด์บอล

  • 2.
  • 3. ประวัติกีฬาแฮนด์บอล เยอรมันนีเป็นผู้ริเริ่ม ราวปลายศตวรรษที่ 19 โดยครูสอนพลศึกษาชื่อ Donrad Koch อาศัยทักษะพื้นฐานจากการเล่นฟุตบอลและบาสเกตบอล ชื่อที่เรียกในระยะแรกๆ คือ ฮอกกี้มือ โปโลบก โดยมีจำนวนผู้เล่นทีมละ 11 คน เหมือนฟุตบอล
  • 4. ค . ศ . 1900 - เยอรมันนี เชคโกสโลวาเกีย และเดนมาร์ก ร่วมกันปรับปรุงการเล่นพื้นฐานขึ้น - ใช้ห้องพลศึกษาดัดแปลง เพราะสภาพอากาศไม่เป็นใจในการเล่นกลางแจ้ง - สถานที่คับแคบ จึงลดคนเล่นลงเหลือ ข้างละ 7 คน ค . ศ . 1904 - แฮนด์บอลอยู่ในความดูแลของ สหพันธ์กีฬาสมัครเล่นระหว่างชาติ ( I.A.A.F )
  • 5. ค . ศ . 1909 - โซเวียตปรับปรุงกีฬาแฮนด์บอลข้างล ะ 7 คนขึ้นอีก - เมือง Kharkov - โดย Edward Maly ค . ศ . 1920 - Karl Schelenz - ปรับปรุงขนาดของลูกให้เล็กลง - ปรับปรุงกติกาว่าด้วยการเคลื่อนที่ ในขณที่ไม่มีการส่งลูกและเลี้ยงลูกบอลได้ 3 ก้าว
  • 6. ค . ศ . 1926 - I.A.A.F. ตั้งคณะกรรมการกีฬาแฮนด์บอล โดยคัดเลือกจากประเทศต่างๆในเครือสมาชิก - ตกลงกันเรื่องกติกา ค . ศ . 1928 - มีการตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติขึ้น - มี 11 ประเทศสมาชิก - มีการสาธิตการแข่งขันกีฬาแฮนด์บอลขึ้น ในโอกาสที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์
  • 7. ค . ศ . 1931 - แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าเป็นรายแข่งขันกีฬาระหว่างชาติ โดยการยอมรับของ I.O.C. ค . ศ . 1934 - ประเทศสมาชิกสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติ ขยายตัวเพิ่มเป็น 25 ประเทศ ค . ศ . 1936 - มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเข้าในกีฬาโอลิมปิก - กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน - เรียกว่า NAZI OLYMPIC - เยอรมันได้เหรียญทอง
  • 8. ค . ศ . 1938 - เยอรมันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแฮนด์บอลชิงชนะเลิศของโลกเป็นครั้งแรก - มี 10 ประเทศเป็นผู้ร่วมเข้าแข่งขัน ค . ศ . 1946 - ตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลนานาชาติ ( THF) - สมาชิก 8 ประเทศ คือ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ และสวิตเซอร์แลน ค . ศ . 1954 THF จัดให้มีการแฮนด์บอลในร่มชิงชนะเลิศของโลกขึ้นเป็นครั้งแรก สวีเดน เป็นผู้ชนะเลิศ
  • 9. ค . ศ . 1956 - มีการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงเป็นครั้งแรก - ประเทศเชกโกสโลวาเกียเป็นผู้ชนะเลิศ - มีการปรับปรุงกติกาใหม่ที่เล่นกันจนถึงปัจจุบัน - โดยอาศัยกติกาของฟุตบอลและบาสเกตบอลมาผสมกัน ค . ศ . 1959 - Dr. Peter Bushning - ริเริ่มนำกีฬาแฮนด์บอลเข้าไปเผยแพร่ที่รัฐนิวยอร์ก และรัฐนิวเจอร์ซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 10. ค . ศ . 1968 - B.J. Bowland และ Phil Hoden สมาชิกของสมาคมแฮนด์บอล ประเทศอังกฤษ - จัดให้มีการประชุมระหว่างสมาชิกของสมาคมแฮนด์บอลต่างๆ ในอังกฤษ - เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาพันธ์ระหว่างชาติ ค . ศ . 1969 - อิตาลี ได้เดินทางมาแข่งขันกีฬาแฮนด์บอล ที่ประเทศอังกฤษ - เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ
  • 11. ค . ศ . 1972 - แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกอีครั้งหนึ่ง - ณ เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมัน - ประเทศยูโกสลาเวีย ได้เหรียญทอง ค . ศ . 1976 - มีการบรรจุการแข่งขันประเภทหญิง - ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงมอลทรีลที่ประเทศแคนาดา - สหภาพโซเวียต ชนะเลิศ ทั้ง ทีมหญิง และ ทีมชาย ค . ศ . 1982 - มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเป็นครั้งแรกกีฬาเอเชื่ยนเกมส์ครั้งที่ 9 ที่ประเทศอินเดีย
  • 12. พ . ศ . 2482 - ได้มีการนำ กีฬาแฮนด์บอลเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย - โดยอาจารย์กอง วิสุทธารมย์ อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา - มีการเล่นแบบ 11 คนอยู่ - หลังจากนั้นไม่นานจึงถูกยกเลิกไป พ . ศ . 2500 - นายธนิต คงมนต์ ได้เสนอกีฬาแฮนด์บอลเข้าไว้ในหลักสูตรพลศึกษาของวิทยาลัยและโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย - ได้รับการอนุมัติใน พ . ศ . 2501 กีฬาแฮนด์บอลในประเทศไทย
  • 15.
  • 16. ประโยชน์ทางด้านจิตใจและอารมณ์ เกิดความมั่นใจ กล้าตัดสินใจ มีจิตใจหนักแน่น เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีน้ำใจเป็นนักกีฬา ยอมรับในตัวผู้อื่น เป็นผู้เสียสละ เป็นการพักผ่อน ระบายความเครียด จิตใจและอารมณ์ สุขุม เยือกเย็น
  • 17. ประโยชน์ทางด้านสังคม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย กติกา เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยขน์ ฝึกพื้นฐานการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเข้าสังคม
  • 18.
  • 19.  
  • 20.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 23.  
  • 24.  
  • 25.  
  • 26.  
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.  
  • 32.  
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. การปฏิบัติในการส่งลูก - ถ้าผู้ส่งถนัดมือขวา ก็จะต้องใช้เท้าซ้ายอยู่ข้างหน้าเท้าขวาในขณะส่งลูก - โน้มตัวไปด้านหน้า ถ่ายน้ำหนักตัวไปยังด้านหน้าเอเสริมแรงทำให้ลูกวิ่งได้เร็วและแรงมากยิ่งขั้ น
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50. การกระโดดส่งลูกบอล 1. กระโดดส่งลูกบอลมือเดียวตรงหน้า - กระโดดใช้เท้าด้านที่ตรงข้ามกับมือที่ถือลูก ( Take off ) ในขณะเดียวกันให้งอเข่าตรงข้าม - ขณะที่ตัวลอยอยู่ในอากาศ ส่งลูกบอลออกไป ในขณะเดียวกันให้บิดลำตัว เพื่อส่งกำลังติดตามด้วยไหล่ ข้อศอก และสุดท้ายที่ข้อมือจนตึงปลายนิ้ว
  • 51.
  • 52. 5. กระโดดสองเท้าส่งลูกบอลสองมือ - การกระโดดให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสอง - การส่งลูกบอลเป็นการส่งลูกบอลมือเหนือศีรษะ - มือทั้งสองถือลูกบอล เหยียดขึ้นไปเหนือศีรษะ เหยียดลำตัวมาทางด้านหลังเล็กน้อย - ส่งลูกบอลด้วยแรงจากลำตัว แขน และนิ้วมือ ให้เหวี่ยงแขนตามทิศทางการส่งลูกบอลด้วย
  • 53. ข้อเสนอแนะในการรับ - ส่งลูกบอล 1. อย่าแสดงอาการว่าจะส่งลูกไปในทิศทางใด 2. การหลอกคู่ต่อสู้ พยายามอย่าให้ข้างเดียวกันหลงทางไปด้วย 3. การส่งลูกระวังอย่าให้แรงหรือเบาเกินไป 4. เป้าหมายของการส่งลูกขณะผู้รับเคลื่อนที่ ประมาณข้างหน้าของผู้รับระยะ 1 ช่วงแขน ไม่ควรส่งย้อนหลัง สูงหรือต่ำเกินไป 5. การส่งลูกระยะไกล พยายามไม่ให้ลูกวิ่งเป็นวิถีโค้ง 6. ไม่ควรส่งลูกกระดอนบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น 7. ไม่ควรส่งลูกพลิกแพลงบ่อย ในขณะที่ไม่มีความชำนาญ จะเป็นการเสี่ยงโดยไม่จำเป็น 8. อย่าส่งลูกขณะที่ผู้รับยังวิ่งหันหลังให้ 9. อย่าส่งลูกข้ามคน เพราะอาจถูกคู่ต่อสู้ตัดแย่งเอาไปได้
  • 54. การเลี้ยงลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล คือ ในขณะยืนหรือเคลื่อนที่ พยายามบังคับลูกบอลให้กระทบพื้น หรือกลิ้งบนพื้นด้วยอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ผู้เล่นจะก้าวกี่ก้าวก็ได้ในระหว่างที่กำลังเลี้ยงลูกบอลอยู่
  • 55. ทักษะในการปฏิบัติ 1. ปัดลูกบอลไปบนพื้นสนาม ให้ผู้ฝึกกางนิ้วมือที่จะใช้เลี้ยงลูกบอลออกทุกนิ้ว เวลาผลักลูกบอลลงสู่พื้นนั้น ใช้เฉพาะนิ้วทั้งห้าเท่านั้น อย่าใช้ฝ่ามือผลักลูกบอลเป็นอันขาด 2. ตำแหน่งของร่างกายขณะเลี้ยงลูกบอล ให้ก้มตัวไปข้างหน้า ย่อเข่า แขนอีกข้างกางออกเพื่อการทรงตัว เท้าอยู่ในลักษณะมีเท้านำ และเท้าตาม 3. การเปลี่ยนตำแหน่งของลำตัว หรือทิศทางการเคลื่อนที่ หรือหลบหลีกคู่ต่อสู้ ผู้ที่เลี้ยงลูกบอล ต้องมีทักษะในการใช้มือเลี้ยงลูกเป็นอย่างดีและถูกต้อง 4. ลำตัวเอียงโน้มไปข้างหน้า หรือด้านข้างเพื่อช่วยในหารหลบหลีกและป้องกันคู่ต่อสู้ไปด้วย 5. เมื่อต้องการหยุด ให้ย่อตัวลงต่ำ และกดลูกให้ต่ำลง หรือจับลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือก็ได้
  • 56.
  • 57. การหมุนตัว เป็นทักษะที่ต้องการการฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง เพราะเป็นลักษณะการเล่นที่ต้องอาศัยความสามารถด้านต่างๆ มาประกอบด้วยกัน แยกได้เป็น 2 ลักษณะ 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ 2. การหลอกหมุนตัวกลับ
  • 58. 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ - ถือเป็นทักษะเริ่มต้น นำไปสู่การบังกติกาอนุญาตให้ผู้เล่นถือลูกบอลอยู่ สามารถกาวเท้าได้สูงสุด 3 ก้าว - การก้าวเท้าในหารหมุนตัวคือ ขณะยืนอยู่ด้วยเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกเท้าหนึ่งขึ้นแล้ววางเท้านั้นลงอีกครั้ง หรือเคลื่อนเท้าจากที่หนึ่งไปยังที่อื่นๆ โดยที่เท้าอีกเท้าหนึ่งเป็นเท้าหลักอยู่กับพื้น ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 3 วินาที
  • 59. วิธีการปฏิบัติ 1. หมุนตัวโดยใช้เท้าหนึ่งเท้าใดเป็นหลัก หมุนไปตามทิศทางที่ต้องการ 2. การหมุนให้ใช้เท้าที่ไม่ใช่เท้าหลัก เป็นเท้าหมุนดดยการเหวี่ยงไปรอบๆ 3. เท้าที่ใช้เป็นหลักจะต้องยึดมั่นอยู่กับพื้น โดยใช้เขย่งส้นเท้าขึ้นให้ปลายเท้าติดดิน 4. การหมุน ใช้อุ้งเท้าโดนหัวแม่เท้าเป็นจุดหมุน
  • 60.  
  • 61.  
  • 62.  
  • 63.  
  • 64.  
  • 65.  
  • 66. 1. 6 การยืนยิงประตูแบบกลับหลัง
  • 67.  
  • 68.  
  • 69.  
  • 70.  
  • 76.