SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
นวัตกรรมทางการศึกษา
รวบรวมโดย นางสาวลัดดา ทองแสน
สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน รุ่นที่ 15/1
นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum
Society) ได้เสนอกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์
ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม เป็น
ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle
หรือ 5Es มีขั้นตอนดังนี้ (BSCS. 1997 ; อ้างอิงมาจาก ชุติมา โรจนสโรจน์,
2555 : 36 - 42)
การจัดการเรียนการสอนด้วยวงจรการเรียนรู้แบบ 5E
รูปแบบการสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle)
ขั้นตอนการสอน Inquiry cycle หรือ 5Es
1. การสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกของ
กระบวนการเรียนรู้ที่จะนาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้
คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะนาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยง
ประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมที่คาดว่ากาลัง
จะเกิดขึ้น ซึ่งทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะศึกษาความคิดรวบยอด
กระบวนการ หรือทักษะ และเริ่มคิดเชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ
หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม
2. การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้เรียนมี
ประสบการณ์ร่วมกันในการสร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ
และทักษะ โดยการให้เวลาและโอกาสแก่ผู้เรียนในการทากิจกรรมการสารวจ
และค้นหาสิ่งที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็นผู้เรียนแต่ละคน
หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการ
คิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่ผู้เรียนทากิจกรรมสารวจ
และค้นหา เป็นโอกาสที่ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
ความคิดรวบยอดของผู้เรียนที่ยังไม่ถูกต้องและยังไม่สมบูรณ์ โดยการให้
ผู้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ครูควรระลึกอยู่
เสมอเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียน
มีใจจดจ่อในการทากิจกรรม ผู้เรียนควรจะสามารถเชื่อมโยงการสังเกต การ
จาแนกตัวแปร และคาถามเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นได้
3. การอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ
สามารถในการอธิบายความคิดรวบยอดที่ได้จากการสารวจและค้นหา ครูควรให้
โอกาสแก่ผู้เรียนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับทักษะหรือ
พฤติกรรมการเรียนรู้ การอธิบายนั้นต้องการให้ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการ
เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมนี้ครูควรชี้แนะผู้เรียนเกี่ยวกับการ
สรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอว่ากิจกรรม
เหล่านี้ยังคงเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นั่นคือ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถใน
การอธิบายด้วยตัวผู้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม
เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบ
ยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้อย่าง
เข้าใจ โดยเชื่อมโยงประสบการณ์ ความรู้เดิมและสิ่งที่เรียนรู้เข้าด้วยกัน
4. การขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้ยืนยัน
และขยายหรือเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวาง
และลึกซึ้งยิ่งขึ้น และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติตามที่
ผู้เรียนต้องการ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรืออาจจะเข้าใจ
เฉพาะข้อสรุปที่ได้จากการปฏิบัติการสารวจและค้นหาเท่านั้น ควรให้
ประสบการณ์ใหม่ผู้เรียนจะได้พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอด
ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น เป้ าหมายที่สาคัญของขั้นนี้ คือ ครูควรชี้แนะให้
ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จะทาให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบ
ยอด กระบวนการ และทักษะเพิ่มขึ้น
5. การประเมินผล (Evaluate) ขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้รับข้อมูล
ย้อนกลับเกี่ยวกับการอธิบายความรู้ความเข้าใจของตนเอง
ระหว่างการเรียนการสอนในขั้นนี้ของรูปแบบการสอน ครูต้อง
กระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินความรู้ความเข้าใจและ
ความสามารถของตนเอง และยังเปิดโอกาสให้ครูได้ประเมิน
ความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะของผู้เรียนด้วย
รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบเสาะการเรียนรู้ 5 ขั้น
ภาพวงจรของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E – Learning Cycle) ที่มา (สสวท., 2549 : 10 - 11)
แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ของนักเรียนที่ครูต้องสร้าง
ขึ้นให้ครอบคลุมจุดประสงค์ของการเรียนรู้ และการฝึกการมองเห็นปัญหา
นับเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญ ผู้เรียนจะเกิดปัญหาได้จากการสังเกตหรือการ
ได้รับข้อเท็จจริงบางประการ ฉะนั้น ถ้าต้องการให้นักเรียนเกิดปัญหาอย่างไร
ก็ต้องให้นักเรียนได้สังเกตหรือได้ข้อเท็จจริงที่สัมพันธ์กับปัญหาที่ต้องการ
หน้าที่ของครูคือการเสนอข้อเท็จจริง หรือจัดสถานการณ์ของการเรียน ให้
นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาข้อเท็จจริงเพื่อนาไปสู่การตั้งปัญหาและแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยตัวเอง
ชุดฝึก/แบบฝึก
องค์ประกอบของแบบฝึก
แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานมีองค์ประกอบ
ที่สาคัญ (แก้วอุดร เชื้อหาญ, 2545 : 5 และนุจรี เทียมลม, 2542 : 5) ดังนี้
1. ชื่อแบบฝึก
2. คาชี้แจงการทาแบบฝึกทักษะ
3. รายละเอียดทักษะที่ใช้ในการฝึก
4. จุดประสงค์
5. สื่อ
6. ใบความรู้
7. กิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
8. แบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะ
หลักการนาแบบฝึกไปใช้ในการเรียนการสอน
บัทท์ส (Butts. 1974 : 2) ได้เสนอแนะหลักในการนาแบบฝึกไปใช้ในการเรียน
การสอน ดังนี้
1. อ่านและศึกษาวัตถุประสงค์ให้เข้าใจก่อน
2. ลองทากิจกรรมในแบบฝึกดูว่าทาได้หรือไม่
3. พิจารณาเนื้อหาและกิจกรรมของแบบฝึกว่าสอดคล้องกันหรือไม่
4. พิจารณาจุดประสงค์แบบแบบฝึกและกิจกรรมการเรียนการสอนว่า
สอดคล้องกันหรือไม่
5. แบบฝึกนั้นเหมาะสมกับผู้เรียนหรือไม่
6. เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในแบบฝึกว่าเหมาะสมหรือไม่
7. พิจารณาเวลาที่จะใช้ในแบบฝึกว่าเหมาะสมหรือไม่
8. อภิปรายร่วมกันกับนักเรียนหลังจากที่นักเรียนได้ทาแบบฝึกแล้วเพื่อศึกษา
ปฏิกิริยาตอบสนองของนักเรียนว่าเข้าใจหรือไม่
การประเมินผล การฝึกปฏิบัติกิจกรรม มีลาดับในการฝึก ดังนี้
1. นักเรียนอ่านรายละเอียดของแบบฝึกก่อนฝึกปฏิบัติกิจกรรม
ทุกครั้ง
2. นักเรียนปฏิบัติตามคาสั่งและคาถามในกิจกรรมทุกข้อ
3. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมแล้ว ครูเฉลยและร่วมอภิปรายกับ
นักเรียนเกี่ยวกับคาตอบของแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5E
เสริมด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
วัฏจักรการเรียนรู้ 5E ตามแนวทางของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เสริมด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้จัด
กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี 5 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
เป็นขั้นที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น สนใจในสิ่งที่จะ
เรียนรู้ในหัวข้อใหม่ ใช้การสนทนาเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เดิม
ของนักเรียนและเสนอสถานการณ์ปัญหา เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อ
สงสัย เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม และกระตุ้นให้นักเรียนคิด เพื่อให้
นักเรียนเกิดความขัดแย้งทางความคิด ซึ่งจะนาไปสู่การระบุปัญหาหรือหัวข้อที่จะ
เรียน และการคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้สารวจ ตรวจสอบ เพื่อค้นพบ
ข้อมูลสารสนเทศในการแก้ปัญหา ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการค้นคว้าหา
ความรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ทางานร่วมกัน และลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมที่ออกแบบเอาไว้
เพื่อเก็บรวมรวมข้อมูล
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายลงข้อสรุป (Explanation)
เป็นขั้นที่นักเรียนและครูนาข้อมูล ที่ได้จากขั้นการสารวจและค้นพบมาวิเคราะห์
ข้อมูล และส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายสิ่งที่ได้จากการสารวจ โดยมีเหตุผล หลักการหรือ
หลักฐานประกอบ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลแปลผลจากการศึกษาค้นคว้า ตามกิจกรรมที่
ออกแบบและเชื่อมโยงผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ากับความรู้เดิม เพื่อสรุปเป็นความรู้ที่ได้
อย่างถูกต้อง ชัดเจน สมเหตุสมผล และให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลในการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
เป็นขั้นที่ครูผู้สอนเสนอสถานการณ์ปัญหาใหม่ให้นักเรียนศึกษาร่วมกัน
โดยเชื่อมโยงความรู้เดิมกับสถานการณ์ใหม่ เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง
4.1 ขั้นขยายแนวคิดวิทยาศาสตร์
ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ครู
อธิบายความหมายของศัพท์ (เนื้อหา) ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาให้
นักเรียนเข้าใจ
4.2 ขั้นนาความรู้ไปใช้กับชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นขั้นที่ครู ใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อ
ขยายความรู้ให้กับนักเรียน โดยดาเนินการดังนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน
2. ศึกษาเนื้อหา (ใบความรู้) ให้เข้าใจ
3. ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐาน
4. ทาแบบทดสอบย่อย
5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมแต่ละกิจกรรมเสร็จแล้ว ประเมินผลงานร่วมกับ
เพื่อน และครู
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation)
เป็นการประเมินการจัดกิจกรรมของแต่ละแผนการเรียนรู้ดังนี้
5.1 ครูประเมินการทางานของนักเรียนหลังกิจกรรมการเรียนแต่ละแผนการ
เรียนรู้และอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง
5.2 ครูประเมินผลการทางาน
1.1 ครูใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดหรือใช้การสนทนานาเข้าสู่บทเรียน
1.2 ครูเสนอสถานการณ์ปัญหาเพื่อนาเข้าสู่หัวข้อที่จะเรียน เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย
1.3 ครูทบทวนความรู้เดิม/เชื่อมโยงเรื่องที่จะเรียนเข้ากับความรู้เดิม
2.1 ครูพานักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ เช่น ใบความรู้และกาหนดวิธีการสืบค้นข้อมูล/เพื่อ
ค้นพบข้อมูลสารสนเทศ ในการแก้ปัญหา
2.2 ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการค้นคว้าหาความรู้ รวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา
2.3 ครูและนักเรียนดาเนินการตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้และเก็บรวบรวมข้อมูล
3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล และอธิบายสิ่งที่ได้จากขั้นตอนการสารวจในการแก้ปัญหา
3.2 ครูและนักเรียนสรุปผลตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้ เพื่อเป็นความรู้ที่ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
สมเหตุสมผล และให้นักเรียนนาเสนอข้อมูล
4.1 ขั้นขยายแนวคิดวิทยาศาสตร์
ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ครูอธิบายความหมายของศัพท์ (เนื้อหา) ที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาให้นักเรียนเข้าใจ
4.2 ขั้นนาความรู้ไปใช้กับชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นขั้นที่ครู ใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อขยายความรู้ให้กับนักเรียน
5.1 ครูประเมินการทางานของนักเรียนหลังกิจกรรมการเรียนแต่ละแผนการเรียนรู้และอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง
5.2 ครูประเมินการทางานจากชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นสร้างความสนใจ
ขั้นสารวจและค้นหา
ขั้นอธิบายและสร้าง
ความสนใจ
ขั้นประเมิน
ขั้นขยายความรู้
1. ขั้นสร้างความสนใจ
2. ขั้นสารวจและค้นหา
3.ขั้นอธิบายและ
สร้างความสนใจ
4.ขั้นขยายความรู้
(เสริมด้วยชุดฝึก
ทักษะฯ)
5.ขั้นประเมิน
นำเสนองานวิจัย บทที่ 1

More Related Content

Viewers also liked

สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Stylesแบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Stylestassanee chaicharoen
 
สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟังMaeying Thai
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยsavokclash
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 

Viewers also liked (17)

สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
Learning Style
Learning StyleLearning Style
Learning Style
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Stem education by IPST
Stem education by IPSTStem education by IPST
Stem education by IPST
 
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Stylesแบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟัง
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 

Similar to นำเสนองานวิจัย บทที่ 1

การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาPakakul Budken
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2Kobwit Piriyawat
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมktiz0123
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาearnchaBU
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1kaminthamonwan
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 

Similar to นำเสนองานวิจัย บทที่ 1 (20)

การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
C2
C2C2
C2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Pornpawee
PornpaweePornpawee
Pornpawee
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 

นำเสนองานวิจัย บทที่ 1

  • 2. นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Society) ได้เสนอกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ ความรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้เดิม เป็น ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle หรือ 5Es มีขั้นตอนดังนี้ (BSCS. 1997 ; อ้างอิงมาจาก ชุติมา โรจนสโรจน์, 2555 : 36 - 42) การจัดการเรียนการสอนด้วยวงจรการเรียนรู้แบบ 5E รูปแบบการสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle)
  • 3. ขั้นตอนการสอน Inquiry cycle หรือ 5Es 1. การสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกของ กระบวนการเรียนรู้ที่จะนาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้ คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะนาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยง ประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมที่คาดว่ากาลัง จะเกิดขึ้น ซึ่งทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะ และเริ่มคิดเชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม
  • 4. 2. การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้เรียนมี ประสบการณ์ร่วมกันในการสร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให้เวลาและโอกาสแก่ผู้เรียนในการทากิจกรรมการสารวจ และค้นหาสิ่งที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็นผู้เรียนแต่ละคน หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการ คิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่ผู้เรียนทากิจกรรมสารวจ และค้นหา เป็นโอกาสที่ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดของผู้เรียนที่ยังไม่ถูกต้องและยังไม่สมบูรณ์ โดยการให้ ผู้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ครูควรระลึกอยู่ เสมอเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียน มีใจจดจ่อในการทากิจกรรม ผู้เรียนควรจะสามารถเชื่อมโยงการสังเกต การ จาแนกตัวแปร และคาถามเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นได้
  • 5. 3. การอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการอธิบายความคิดรวบยอดที่ได้จากการสารวจและค้นหา ครูควรให้ โอกาสแก่ผู้เรียนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับทักษะหรือ พฤติกรรมการเรียนรู้ การอธิบายนั้นต้องการให้ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการ เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมนี้ครูควรชี้แนะผู้เรียนเกี่ยวกับการ สรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอว่ากิจกรรม เหล่านี้ยังคงเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นั่นคือ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถใน การอธิบายด้วยตัวผู้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบ ยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้อย่าง เข้าใจ โดยเชื่อมโยงประสบการณ์ ความรู้เดิมและสิ่งที่เรียนรู้เข้าด้วยกัน
  • 6. 4. การขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้ยืนยัน และขยายหรือเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวาง และลึกซึ้งยิ่งขึ้น และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติตามที่ ผู้เรียนต้องการ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรืออาจจะเข้าใจ เฉพาะข้อสรุปที่ได้จากการปฏิบัติการสารวจและค้นหาเท่านั้น ควรให้ ประสบการณ์ใหม่ผู้เรียนจะได้พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอด ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น เป้ าหมายที่สาคัญของขั้นนี้ คือ ครูควรชี้แนะให้ ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จะทาให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบ ยอด กระบวนการ และทักษะเพิ่มขึ้น
  • 7. 5. การประเมินผล (Evaluate) ขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้รับข้อมูล ย้อนกลับเกี่ยวกับการอธิบายความรู้ความเข้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขั้นนี้ของรูปแบบการสอน ครูต้อง กระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินความรู้ความเข้าใจและ ความสามารถของตนเอง และยังเปิดโอกาสให้ครูได้ประเมิน ความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะของผู้เรียนด้วย
  • 9. แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ของนักเรียนที่ครูต้องสร้าง ขึ้นให้ครอบคลุมจุดประสงค์ของการเรียนรู้ และการฝึกการมองเห็นปัญหา นับเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญ ผู้เรียนจะเกิดปัญหาได้จากการสังเกตหรือการ ได้รับข้อเท็จจริงบางประการ ฉะนั้น ถ้าต้องการให้นักเรียนเกิดปัญหาอย่างไร ก็ต้องให้นักเรียนได้สังเกตหรือได้ข้อเท็จจริงที่สัมพันธ์กับปัญหาที่ต้องการ หน้าที่ของครูคือการเสนอข้อเท็จจริง หรือจัดสถานการณ์ของการเรียน ให้ นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาข้อเท็จจริงเพื่อนาไปสู่การตั้งปัญหาและแนวทาง แก้ปัญหาด้วยตัวเอง ชุดฝึก/แบบฝึก
  • 10. องค์ประกอบของแบบฝึก แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานมีองค์ประกอบ ที่สาคัญ (แก้วอุดร เชื้อหาญ, 2545 : 5 และนุจรี เทียมลม, 2542 : 5) ดังนี้ 1. ชื่อแบบฝึก 2. คาชี้แจงการทาแบบฝึกทักษะ 3. รายละเอียดทักษะที่ใช้ในการฝึก 4. จุดประสงค์ 5. สื่อ 6. ใบความรู้ 7. กิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 8. แบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะ
  • 11. หลักการนาแบบฝึกไปใช้ในการเรียนการสอน บัทท์ส (Butts. 1974 : 2) ได้เสนอแนะหลักในการนาแบบฝึกไปใช้ในการเรียน การสอน ดังนี้ 1. อ่านและศึกษาวัตถุประสงค์ให้เข้าใจก่อน 2. ลองทากิจกรรมในแบบฝึกดูว่าทาได้หรือไม่ 3. พิจารณาเนื้อหาและกิจกรรมของแบบฝึกว่าสอดคล้องกันหรือไม่ 4. พิจารณาจุดประสงค์แบบแบบฝึกและกิจกรรมการเรียนการสอนว่า สอดคล้องกันหรือไม่ 5. แบบฝึกนั้นเหมาะสมกับผู้เรียนหรือไม่ 6. เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในแบบฝึกว่าเหมาะสมหรือไม่ 7. พิจารณาเวลาที่จะใช้ในแบบฝึกว่าเหมาะสมหรือไม่ 8. อภิปรายร่วมกันกับนักเรียนหลังจากที่นักเรียนได้ทาแบบฝึกแล้วเพื่อศึกษา ปฏิกิริยาตอบสนองของนักเรียนว่าเข้าใจหรือไม่
  • 12. การประเมินผล การฝึกปฏิบัติกิจกรรม มีลาดับในการฝึก ดังนี้ 1. นักเรียนอ่านรายละเอียดของแบบฝึกก่อนฝึกปฏิบัติกิจกรรม ทุกครั้ง 2. นักเรียนปฏิบัติตามคาสั่งและคาถามในกิจกรรมทุกข้อ 3. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมแล้ว ครูเฉลยและร่วมอภิปรายกับ นักเรียนเกี่ยวกับคาตอบของแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • 13. ขั้นตอนการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5E เสริมด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วัฏจักรการเรียนรู้ 5E ตามแนวทางของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เสริมด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้จัด กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นขั้นที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น สนใจในสิ่งที่จะ เรียนรู้ในหัวข้อใหม่ ใช้การสนทนาเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เดิม ของนักเรียนและเสนอสถานการณ์ปัญหา เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อ สงสัย เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม และกระตุ้นให้นักเรียนคิด เพื่อให้ นักเรียนเกิดความขัดแย้งทางความคิด ซึ่งจะนาไปสู่การระบุปัญหาหรือหัวข้อที่จะ เรียน และการคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า
  • 14. ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้สารวจ ตรวจสอบ เพื่อค้นพบ ข้อมูลสารสนเทศในการแก้ปัญหา ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการค้นคว้าหา ความรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ทางานร่วมกัน และลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมที่ออกแบบเอาไว้ เพื่อเก็บรวมรวมข้อมูล ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายลงข้อสรุป (Explanation) เป็นขั้นที่นักเรียนและครูนาข้อมูล ที่ได้จากขั้นการสารวจและค้นพบมาวิเคราะห์ ข้อมูล และส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายสิ่งที่ได้จากการสารวจ โดยมีเหตุผล หลักการหรือ หลักฐานประกอบ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลแปลผลจากการศึกษาค้นคว้า ตามกิจกรรมที่ ออกแบบและเชื่อมโยงผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ากับความรู้เดิม เพื่อสรุปเป็นความรู้ที่ได้ อย่างถูกต้อง ชัดเจน สมเหตุสมผล และให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลในการแก้ปัญหา
  • 15. ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นขั้นที่ครูผู้สอนเสนอสถานการณ์ปัญหาใหม่ให้นักเรียนศึกษาร่วมกัน โดยเชื่อมโยงความรู้เดิมกับสถานการณ์ใหม่ เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง 4.1 ขั้นขยายแนวคิดวิทยาศาสตร์ ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ครู อธิบายความหมายของศัพท์ (เนื้อหา) ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาให้ นักเรียนเข้าใจ 4.2 ขั้นนาความรู้ไปใช้กับชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นขั้นที่ครู ใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อ ขยายความรู้ให้กับนักเรียน โดยดาเนินการดังนี้
  • 16. 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน 2. ศึกษาเนื้อหา (ใบความรู้) ให้เข้าใจ 3. ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐาน 4. ทาแบบทดสอบย่อย 5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมแต่ละกิจกรรมเสร็จแล้ว ประเมินผลงานร่วมกับ เพื่อน และครู ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) เป็นการประเมินการจัดกิจกรรมของแต่ละแผนการเรียนรู้ดังนี้ 5.1 ครูประเมินการทางานของนักเรียนหลังกิจกรรมการเรียนแต่ละแผนการ เรียนรู้และอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง 5.2 ครูประเมินผลการทางาน
  • 17. 1.1 ครูใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดหรือใช้การสนทนานาเข้าสู่บทเรียน 1.2 ครูเสนอสถานการณ์ปัญหาเพื่อนาเข้าสู่หัวข้อที่จะเรียน เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 1.3 ครูทบทวนความรู้เดิม/เชื่อมโยงเรื่องที่จะเรียนเข้ากับความรู้เดิม 2.1 ครูพานักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ เช่น ใบความรู้และกาหนดวิธีการสืบค้นข้อมูล/เพื่อ ค้นพบข้อมูลสารสนเทศ ในการแก้ปัญหา 2.2 ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการค้นคว้าหาความรู้ รวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา 2.3 ครูและนักเรียนดาเนินการตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้และเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล และอธิบายสิ่งที่ได้จากขั้นตอนการสารวจในการแก้ปัญหา 3.2 ครูและนักเรียนสรุปผลตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้ เพื่อเป็นความรู้ที่ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน สมเหตุสมผล และให้นักเรียนนาเสนอข้อมูล 4.1 ขั้นขยายแนวคิดวิทยาศาสตร์ ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ครูอธิบายความหมายของศัพท์ (เนื้อหา) ที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาให้นักเรียนเข้าใจ 4.2 ขั้นนาความรู้ไปใช้กับชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นขั้นที่ครู ใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อขยายความรู้ให้กับนักเรียน 5.1 ครูประเมินการทางานของนักเรียนหลังกิจกรรมการเรียนแต่ละแผนการเรียนรู้และอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง 5.2 ครูประเมินการทางานจากชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสารวจและค้นหา ขั้นอธิบายและสร้าง ความสนใจ ขั้นประเมิน ขั้นขยายความรู้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ 2. ขั้นสารวจและค้นหา 3.ขั้นอธิบายและ สร้างความสนใจ 4.ขั้นขยายความรู้ (เสริมด้วยชุดฝึก ทักษะฯ) 5.ขั้นประเมิน