SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning สะเต็มศึกษาสู่อาชีพเชิงพาณิชย์
ชื่อกิจกรรม ของใช้พูดได้
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 2 ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การบูรณาการตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education)
1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
1.1 วิทยาศาสตร์
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
1. เปรียบเทียบคุณสมบัติสารและแรงยึดเหนี่ยวของสีที่นามาใช้สกรีนได้
2. เลือกใช้วัสดุสกรีนได้อย่างเหมาะสมกับงานสกรีน
1.2 คณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ
ดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.4-6/1 เข้าใจความหมาย และหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ
การหาร จานวนจริง จานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ และจานวนจริงที่อยู่ใน
รูปกรณฑ์
1.3 เทคโนโลยี
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของ
เครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์
ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด ง 2.1 ม.4-6/3 สร้างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี
อย่างปลอดภัยโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายและแบบจาลองเพื่อนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือถ่ายทอด
ความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบหรือนาเสนอ
ผลงาน
ตัวชี้วัด ง 2.1 ม.4-6/4 มีความคิดสร้างสรรค์ใน การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในงานที่
ผลิตเอง หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผู้อื่นผลิต
ผลการเรียนรู้
2
1.นักเรียนสามารถตกแต่งภาพกราฟิกได้
2.นักเรียนสามารถออกแบบอักษรประกอบงานกราฟิกได้
3.นักเรียนสามารถกาหนดราคางานกราฟิกได้
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด ง 3.1 ม.4-6/12 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสานึกและความ
รับผิดชอบ
สาระที่ 4 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
ตัวชี้วัด ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ
2. สาระสาคัญ
วัสดุของใช้ สามารถตกแต่งแต้มสีสันเพื่อให้เกิดลวดลายหรือข้อความ เป็นผลจากคุณสมบัติของสารที่ทา
เกิดปฏิกิริยากันเพื่อให้สามารถแสดงสีบนวัสดุและมีแรงยึดเหนี่ยวอนุภาคอย่างคงทน ทาให้วัสดุสามารถมีลวดลาย
สีสันหรือข้อความตามที่ต้องการและถาวร
การสกรีนวัสดุต่าง ๆ อาศัยการศึกษาความเป็นไปได้ การวางแผนและออกแบบ เพื่อให้สามารถใช้
ทรัพยากรการที่คุ้มค่า และเหมาะสมกับลักษณะงานที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
ที่อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนในการผลิตที่จะสูงขึ้นตามมา
ในการสร้างลวดลายบนวัสดุนั้นจาเป็นต้องอาศัยการออกแบบทางคอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อสร้างสรรค์
ความดึงดูดทาให้ผลงานเกิดความน่าสนใจและมีสีสันที่สวยงาม และอาศัยความรู้ในการวัด และพื้นที่ในแนว 2 มิติ
เพื่อคานวณการออกแบบงานให้พอดีกับวัสดุ ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสกรีนวัสดุ เช่น เครื่อง
ตัดสติกเกอร์ใช้ในการสร้างบล็อกสกรีน เครื่องพิมพ์แบบพ่นน้าหมึกเพื่อใช้งานพิมพ์หมึกชนิดแห้งช้าบนกระดาษซับ
น้าหมึก เครื่องรีดร้อนใช้สาหรับอัดความร้อนคงที่เพื่อทาปฏิกิริยากับกระดาษซับน้าหมึกให้ถ่ายโอนลงบนวัสดุที่เรา
จะสกรีน
เมื่อเราได้สร้างสรรค์ผลงานสกรีนวัสดุแล้ว จะต้องคานวณราคาต้นทุนด้วยการบวกค่าวัสดุที่นาใช้ใน
กระบวนการผลิต รวมถึงค่าพลังงานไฟฟ้าที่อาศัยหลักการประมาณค่าเฉลี่ย เพื่อกาหนดราคาให้เหมาะสมในการ
จาหน่ายสินค้าเพื่อส่งเสริมอาชีพให้มีกาไรและอาจเป็นรายได้ในอนาคต
3. สาระการเรียนรู้
3.1 วิทยาศาสตร์:
- วัสดุและสารต่างชนิดมีสมบัติบางประการเหมือนกัน และบางประการแตกต่างกัน ดังนั้นการ
เลือกใช้วัสดุและสีที่นามาใช้ในงานสกรีนนั้น จึงต้องพิจารณาจากสมบัติของวัสดุและสีเพื่อความเหมาะสมและ
ความคงทนถาวร
3
3.2 เทคโนโลยี (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการออกแบบเทคโนโลยี):
1. การออกแบบลวดลายงานสกรีนอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์กราฟิกประกอบกันเช่น วาดรูปร่าง
ออกแบบข้อความ ตกแต่งสี โดยอาจจะวาดหรือออกแบบบนกระดาษหรือใช้ซอฟต์แวร์กราฟิก
2. การสร้างชิ้นงานสกรีนอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่กาหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม
ข้อมูล ออกแบบโดยวาดบนกระดาษหรือใช้ซอฟต์แวร์กราฟิก ก่อนลงมือสกรีนและประเมินผล จะทาให้ผู้เรียน
ทางานอย่างเป็นกระบวนการ
3. การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เช่น กรรไกร ไม้บรรทัด บล็อกสกรีน คัตเตอร์ เครื่องตัดสติ๊กเกอร์
ยางปาด ควรใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน หากนามาใช้โดยขาดความระมัดระวังและการใช้งาน
ที่ไม่ถูกวิธี จะทาให้เกิดอันตรายต่อตนเองและความเสียหายกับชิ้นงาน ดังนั้นการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกวิธีจะ
ทาให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
3.3 คณิตศาสตร์:
- การวัดสามารถวัดได้โดยใช้ไม้บรรทัด มีหน่วยเป็นเซนติเมตรหรือมิลลิเมตร การหาพื้นที่ของ
วัสดุโดยคานวณจากความกว้างคูณด้วยความยาว มีหน่วยเป็นตารางเซนติเมตร การประเมินราคาซึ่งคานวณจาก
ต้นทุนราคาด้วยการบวกค่าวัสดุที่นามาใช้ในการผลิตทั้งหมด มีหน่วยเป็นบาทหรือสตางค์
4. กรอบแนวคิด
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เลือกใช้วัสดุและสีที่เหมาะสมตามสมบัติในการสกรีน
2. วัดความยาวและหาพื้นที่ของวัสดุที่จะสกรีนเป็นตารางเซนติเมตร
3. ออกแบบลวดลายหรือข้อความด้วยความคิดสร้างสรรค์ โดยเขียนเป็นภาพร่างเพื่อถ่ายทอดความคิด
S: วิทยาศาสตร์
• สมบัติของวัสดุ
• สมบัติของสี
• แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาค
T: เทคโนโลยี
• การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก
• การใช้วัสดุ/อุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและปลอดภัย
E: วิศกรรมศาสตร์
• กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
• การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
• ความคงทนถาวร
M: คณิตศาสตร์
• การวัด
• การหาพื้นที่
• การประเมินราคา
ของใช้พูดได้
4
4. สร้างงานกราฟิกโดยใช้โปรแกรมประยุกต์บนคอมพิวเตอร์
5. ใช้อุปกรณ์ในการตัด ติดและยึดอย่างถูกต้องและปลอดภัยในการสร้างบล็อกสกรีน
6. ใช้อุปกรณ์สกรีนวัสดุหรือของใช้ให้มีลักษณะตามที่ได้ออกแบบไว้
7. ประเมินราคางานสกรีนโดยคานวณต้นทุนการผลิตทั้งหมด
6. วัสดุอุปกรณ์
1. วัสดุหรือของใช้สาหรับสกรีน เช่น เสื้อ กางเกง หมวก ผ้าพันคอ แก้วทนความร้อน อย่างน้อย 1 ชิ้น
2. วัสดุสาหรับสร้างบล็อกสกรีน ได้แก่ สติ๊กเกอร์ คัตเตอร์ บล็อกขึงผ้าสกรีนนาด A3 1 ชุด
กาวลอกสติ๊กเกอร์ ที่เป่าผม เทปกาวปะขอบ น้ายาเช็ดบล็อก
3. วัสดุสาหรับสกรีน ได้แก่ สียาง ยางปาด ช้อนตักสี แท่นสกรีนผิวเรียบ(ฟิวเจอร์บอร์ด) 1 ชุด
4. วัสดุสาหรับสกรีนแบบใช้ความร้อนพิมพ์ลาย ได้แก่ เครื่องรีดร้อน ปริ้นเตอร์หมึกซับบริเมนชั่น
กระดาบซับหมึก 1 ชุด
5. อุปกรณ์สาหรับวัด ตัด ติดยึด ได้แก่ ไม้บรรทัด กรรไกร คัตเตอร์ เทปกาว สติ๊กกี้(ทนร้อน) อย่างละ 1 ชิ้น
6. คอมพิวเตอร์สาหรับออกแบบกราฟิก 1 เครื่อง
7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
7.1 ขั้นระบุปัญหา
1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยเปิดวีดีทัศน์ข่าวเกิดเหตุปะทะกลุ่มเสื้อเหลืองและกลุ่มเสื้อแดง ให้นักเรียนดูและ
อภิปราย
• ข่าวนี้เป็นข่าวเกี่ยวกับอะไร
• นักเรียนคิดว่าอะไรคือสาเหตุที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ปะทะ
(แนวคาตอบ ความขัดแย้งทางการเมือง การแบ่งพรรคพวกโดยใช้สีเสื้อ)
• นักเรียนคิดว่าหากไม่มีฝ่ายใดยอมแพ้จะเกิดผลอย่างไรต่อประเทศของเรา
(แนวคาตอบ คนไทยขาดความสามัคคี ไม่รักกัน ทาร้ายกันเอง)
• นักเรียนคิดว่าหากจะสร้างความสามัคคีให้ประชาชนในประเทศไทย ควรจะทาอย่างไร
(แนวคาตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น สร้างจิตสานึกให้คนไทยรักกัน ฯลฯ
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน แล้วนาเข้าสู่สถานการณ์ว่า
“ถ้านักเรียนเป็นคนออกแบบของใช้ เช่น เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว ซึ่งได้รับความนิยมจากลูกค้า
เป็นจานวนมาก และเป็นบริษัทเดียวที่ผลิตสินค้าส่งทั่วประเทศไทย นักเรียนจะออกแบบและสกรีน
ลวดลายบนของใช้อย่างไร ให้สามารถส่งเสริมหรือปลูกจิตสานึกของคนไทยให้สามัคคีกัน”
3. ครูนาอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้
5
• ของใช้ที่นามาสกรีนข้อความหรือลวดลายมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ
แก้ว)
• วัสดุที่ใช้สกรีนมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ บล็อก สี ยางปาด)
• วัสดุที่เป็นผ้ากับวัสดุที่เป็นแก้วมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร (แนวคาตอบ สถานะของวัสดุ จุดเดือด
ความยืดหยุ่น)
4. ครูกาหนดเงื่อนไขในการออกแบบงานสกรีน โดยให้นักเรียนเลือกของใช้ที่จะสกรีนเพียง 1 ชนิด จานวน 2
ชิ้น ของใช้ที่กาหนดให้ ได้แก่ เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว
5. ครูอภิปรายว่าจากเงื่อนไขที่กาหนดให้นักเรียนจะต้องใช้ความรู้อะไรบ้างในการออกแบบสร้างงานสกรีน
(แนวคาตอบ สมบัติของใช้ สมบัติของสี การหาพื้นที่ ความยืดหยุ่น การออกแบบ การสกรีน การรีดร้อน)
6. ครูนาของใช้ เช่น เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว มาให้นักเรียนช่วยกันสังเกตและพิจารณา แล้วตั้ง
คาถามต่อไปนี้
• ของใช้แต่ละชนิดมีสมบัติอย่างไร
(แนวคาตอบ ผิวสัมผัสนุ่มลื่น ยืดหยุ่น แข็ง/อ่อน ดูดซับน้า/ไม่ดูดซับน้า ทนความร้อน/ไม่ทนความ
ร้อน)
• ต้องใช้วัสดุใดในการสกรีนของใช้แต่ละชนิด
(แนวคาตอบ สียาง สีซับลิเมนชั่น สีน้ามัน)
7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดว่าจะเลือกว่าจะสกรีนของใช้ใด และเพราะเหตุใด
8. ครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของสีที่ใช้สกรีนเสื้อโดยมีตัวอย่างการนาสีแต่ละชนิดมาแสดง
จากนั้นสรุปความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสี
9. ครูกระตุ้นความสนใจโดยการตั้งคาถามให้นักเรียนอภิปรายว่า จากสถานการณ์ นักเรียนจะออกแบบและ
สกรีนลวดลายบนของใช้อย่างไร โดยจะเลือกใช้วัสดุและสีอะไร โดยครูนาตัวอย่างของใช้ต่าง ๆ เช่น
หมวก เสื้อ แก้ว เป็นต้น ที่สกรีนแล้วมาแสดงให้นักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตอบคาถาม
10. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทและคุณสมบัติของสีสกรีน ซึ่งสามารถเลือกใช้โดย
พิจารณาถึงแรงยึดเหนี่ยวของสีให้เหมาะสมกับวัสดุที่จะนามาสกรีนเพื่อความคงทนถาวร จากนั้นครูสาธิต
โดยการสกรีนเสื้อด้วยสียางและสกรีนเสื้อด้วยสีซับริเมนชั่น
11. นักเรียนทาใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 และนาเสนอคาตอบ
12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุ สมบัติของสี และแรงยึดเหนี่ยวของอนุภาค
6
7.2 ขั้นออกแบบวิธีแก้ปัญหา
13. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการออกแบบงานสกรีนของใช้ โดยเน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญใน
การวางแผนและการออกแบบชิ้นงาน ซึ่งการออกแบบจะช่วยให้เห็นแนวทางในการสร้างชิ้นงาน และช่วย
ให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ง่ายขึ้น การสร้างชิ้นงานอาจไม่ประสบความสาเร็จหากไม่มีการวางแผนและการ
ออกแบบที่ชัดเจนหรือไม่ได้ทาตามแบบที่วางไว้
14. นักเรียนใช้ไม้บรรทัดวัดหาพื้นที่เพื่อระบุความกว้างและความยาวโดยย่อและวาดภาพร่างของวัสดุพร้อม
ออกแบบลายสกรีนลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ออกแบบสร้างสรรค์
15. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอภาพร่างที่ออกแบบไว้
7.3 ขั้นวางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา
16. ครูเน้นให้นักเรียนนึกถึงความสาคัญของการใช้วัสดุอย่างประหยัด โดยเมื่อเลือกวัสดุในการสกรีนแล้ว จะ
ไม่สามารถเปลี่ยนหรือขอเพิ่มอีก นอกจากวัสดุชารุดเสียหายโดยไม่ได้เจตนา และควรใช้อุปกรณ์ต่างๆ
อย่างระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย
17. ให้นักเรียนออกมาหยิบของใช้ที่จะนาไปสกรีน
18. ครูกระตุ้นความสนใจนักเรียนโดยการตั้งคาถามให้นักเรียนอภิปรายว่า เราจะสกรีนของใช้ให้มีขนาดงาน
สกรีนที่เหมาะสมกับพื้นที่บนของใช้และจัดวางในตาแหน่งที่สวยงานเป็นที่น่าสนใจโดย ครูนาตัวอย่างของ
ใช้ต่าง ๆ เช่น หมวก เสื้อ แก้ว เป็นต้น ที่สกรีนแล้วมาแสดงให้นักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตอบ
คาถาม
19. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การวัดและพื้นที่ ซึ่งสามารถใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้าง
และความยาว เพื่อหาขนาดพื้นที่บนของใช้สาหรับสกรีนลวดลายลงไป จากนั้นครูสาธิตโดยการใช้ไม้
บรรทัดวัดหาความกว้างและความยาวบนเสื้อเพื่อหาขนาดของพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับงานสกรีน
20. เมื่อทราบพื้นที่จากความกว้างและความยาวบนของใช้แล้ว นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ
กราฟิกในการสกรีนลายบนของใช้ โดยตั้งค่าความกว้างและความยาวให้สอดคล้องกัน
21. ให้นักเรียนสกรีนลายบนของใช้ตามที่ได้ออกแบบไว้ ครูติดตามตรวจสอบการทางานของแต่ละกลุ่มอย่าง
ใกล้ชิด
7.4 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
22. เมื่อสกรีนของใช้เสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มตรวจสอบของใช้ที่สกรีน โดยนาไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติและ
บันทึกผลการทดลอง
7
23. จากนั้นครูและนักเรียนพิจารณาผลการบันทึกเพื่อนามาปรับปรุงให้งานสกรีนมีคุณภาพดีขึ้น โดย
ตรวจสอบในประเด็นต่อไปนี้
• ของใช้ที่สกรีนนั้นสามารถใช้งานตามคุณสมบัติได้หรือไม่
• ของใช้ที่สกรีนเมื่อสัมผัสกับแสง ความร้อน ความชื้น งานสกรีนจะมีลักษณะคงเดิมหรือไม่
• หากของใช้นี้วางจาหน่าย จะเสนอราคาขายเท่าใด จะได้กาไรหรือขาดทุนเท่าไร
24. ครูแจกวัสดุเพื่อสกรีนครั้งที่ 2 โดยให้นักเรียนปรับปรุงวิธีการสกรีนให้ดีกว่าครั้งแรก นาไปทดลองและ
บันทึกผล จากนั้นแจกวัสดุเพิ่ม (หากนักเรียนต้องการ) เพื่อให้นักเรียนทดลองจนครบ 3 ครั้ง
7.5 ขั้นนาเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือชิ้นงาน
25. ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน และอธิบายในประเด็นต่อไปนี้
• งานสกรีนของใช้ของนักเรียนมีลักษณะอย่างไร
• นักเรียนแก้ไขงานสกรีนให้ดีขึ้นได้อย่างไร
• นักเรียนคิดว่าของใช้ที่นักเรียนสกรีนแล้วจะจาหน่ายในราคาเท่าไร
• นักเรียนคิดว่างานสกรีนที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
26. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าถ้าจะปรับปรุงผลงานให้ดีขึ้น ควรทาอย่างไร โดยพิจารณาทั้งผลงาน
ของตนเองและของเพื่อน
27. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของใช้พูดได้ ในประเด็นดังต่อไปนี้
• การเลือกของใช้ที่นามาสกรีน
• นอกจากของใช้ที่ครูเตรียมให้แล้ว นักเรียนสามารถเลือกใช้วัสดุอะไรมาสกรีนได้
• การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับการสกรีนของใช้
• การออกแบบโดยการวาดภาพร่าง
• การวัดและคานวณหาพื้นที่ในการสกรีนให้เหมาะสม
• การออกแบบงานกราฟิกสาหรับสกรีน
• การเลือกใช้อุปกรณ์สกรีนอย่างเหมาะสม
• การประเมินราคาขายที่ลูกค้าพึงพอใจซื้อ
• นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทากิจกรรมนี้
(แนวคาตอบ การเลือกของใช้ การเลือกใช้สี การออกแบบ อุปกรณ์สาหรับงานสกรีน การออกแบบ
กราฟิก การสกรีนตามแบบ การประเมินราคาขาย)
8
8. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ประเมิน คะแนน (ร้อยละ)
1.การระบุสมบัติของวัสดุ
2.การวัด และหาพื้นที่
3.การออกแบบลายสกรีน
4.การเลือกใช้สีสกรีน
5.การใช้อุปกรณ์ในงานสกรีน
6.การนาเสนอผลงาน
7.ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างชิ้นงาน
8.การทางานเป็นกลุ่ม
ใบบันทึกกิจกรรม
ใบบันทึกกิจกรรม
ใบบันทึกกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมินผลงาน
แบบประเมินผลงาน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
15
15
20
10
20
10
5
5
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
1.การระบุสมบัติของวัสดุ ระบุสมบัติของสีสกรีนได้
ถูกต้องมากกว่า 3
รายการ
ระบุสมบัติของสีสกรีนได้
ถูกต้อง 2-3 รายการ
ระบุสมบัติของสีสกรีนได้
ถูกต้องน้อยกว่า 2
รายการ
2.การวัด และหาพื้นที่ สามารถวัดหาพื้นที่ในการ
สร้างงานสกรีน และเขียน
ภาพร่างเพื่อจาลองขนาด
โดยย่อได้
สามารถวัดหาพื้นที่ในการ
สร้างงานสกรีน แต่ไม่
สามารถเขียนภาพร่าง
เพื่อจาลองขนาดโดยย่อ
ได้
สามารถวัดหาพื้นที่ในการ
สร้างงานสกรีนแต่ไม่
สามารถระบุหน่วยวัด
หรือไม่สามารถเขียนภาพ
ร่างเพื่อจาลองขนาดโดย
ย่อได้
3.การออกแบบลายสกรีน แบบร่างงานสกรีนมีความ
ชัดเจน สามารถสื่อสารให้
ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดง
เหตุผลในการออกแบบได้
อย่างชัดเจน
แบบร่างงานสกรีน
สามารถสื่อสารให้ผู้อื่น
เข้าใจได้ แต่แสดงเหตุผล
ในการออกแบบไม่ชัดเจน
แบบร่างงานสกรีนไม่
สามารถสื่อสารให้ผู้อื่น
เข้าใจได้ และไม่สามารถ
แสดงเหตุผลในการ
ออกแบบ
4.การเลือกใช้สีสกรีน เลือกสีสกรีนที่เหมาะสม
กับงานสกรีน และ
สามารถอธิบายเหตุผลใน
การเลือกใช้สีสกรีนได้
เลือกสีสกรีนที่เหมาะสม
กับงานสกรีน แต่ไม่
สามารถอธิบายเหตุผลใน
การเลือกใช้สีสกรีนได้
เลือกสีสกรีนไม่เหมาะสม
กับงานสกรีน
9
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
5.การใช้อุปกรณ์ในงาน
สกรีน
ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด
ในงานสกรีนอย่างถูกต้อง
และปลอดภัย
ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด
ในงานสกรีนได้แต่ไม่
ปลอดภัย
ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด
ในงานสกรีนไม่ถูกต้อง
และไม่ปลอดภัย
6.การนาเสนอผลงาน นาเสนองานที่ได้รับ
มอบหมายโดยสื่อ
ความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ถูกต้อง อธิบายเหตุผล
ของแนวคิดได้
นาเสนองานที่ได้รับ
มอบหมายโดยสื่อ
ความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ถูกต้อง อธิบายเหตุผล
ของแนวคิดได้บางส่วน
นาเสนองานที่ได้รับ
มอบหมายโดยสื่อ
ความหมายไม่ถูกต้อง
และไม่สามารถอธิบาย
เหตุผลของแนวคิดได้
7.ความคิดสร้างสรรค์ใน
การสร้างชิ้นงาน
มีความแปลกใหม่และ
ประณีต
มีความแปลกใหม่หรือ
ประณีตอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่มีความแปลกใหม่และ
ไม่ประณีต
8.การทางานเป็นกลุ่ม มีการวางแผนในการ
ทางานอย่างเป็นขั้นตอน
และสมาชิกทุกคนมีส่วน
ร่วมในการทางาน
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม
ในการทางาน แต่การ
วางแผนในการทางานยัง
ไม่เป็นขั้นตอน
สมาชิกบางส่วนมีส่วน
ร่วมในการทางาน และ/
หรือไม่มีการวางแผนใน
การทางาน
เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
คะแนน 19 – 27 คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน 10 – 18 คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 – 9 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. วีดีทัศน์เหตุการณ์เสื้อแดง ปะทะ เสื้อเหลือง
https://www.youtube.com/watch?v=EwPj8PaSV24
2. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 คุณสมบัติของสีสกรีน
3. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ออกแบบสร้างสรรค์
4. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทและคุณสมบัติของสีสกรีน

More Related Content

What's hot

142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 

What's hot (20)

142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
Din 1
Din 1Din 1
Din 1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning สะเต็มศึกษาสู่อาชีพเชิงพาณิชย์

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Lift Ohm'
 
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556Totsaporn Inthanin
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1Orapan Chamnan
 
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอส
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอสโครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอส
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอสTheyok Tanya
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...KruKaiNui
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ดวงหทัย ใจมุข
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson planskruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning สะเต็มศึกษาสู่อาชีพเชิงพาณิชย์ (20)

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1
 
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอส
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอสโครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอส
โครงร่าง จุ๊บๆๆ เสกบอส
 
A
AA
A
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson plans
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
K13
K13K13
K13
 
K13 tdj
K13 tdjK13 tdj
K13 tdj
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
K9
K9K9
K9
 
K9
K9K9
K9
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
Star 22 26 32
Star 22 26 32Star 22 26 32
Star 22 26 32
 

แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning สะเต็มศึกษาสู่อาชีพเชิงพาณิชย์

  • 1. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning สะเต็มศึกษาสู่อาชีพเชิงพาณิชย์ ชื่อกิจกรรม ของใช้พูดได้ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 2 ชั่วโมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การบูรณาการตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) 1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 1.1 วิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบคุณสมบัติสารและแรงยึดเหนี่ยวของสีที่นามาใช้สกรีนได้ 2. เลือกใช้วัสดุสกรีนได้อย่างเหมาะสมกับงานสกรีน 1.2 คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ ดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.4-6/1 เข้าใจความหมาย และหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร จานวนจริง จานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ และจานวนจริงที่อยู่ใน รูปกรณฑ์ 1.3 เทคโนโลยี สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของ เครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ง 2.1 ม.4-6/3 สร้างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัยโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายและแบบจาลองเพื่อนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือถ่ายทอด ความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบหรือนาเสนอ ผลงาน ตัวชี้วัด ง 2.1 ม.4-6/4 มีความคิดสร้างสรรค์ใน การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในงานที่ ผลิตเอง หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผู้อื่นผลิต ผลการเรียนรู้
  • 2. 2 1.นักเรียนสามารถตกแต่งภาพกราฟิกได้ 2.นักเรียนสามารถออกแบบอักษรประกอบงานกราฟิกได้ 3.นักเรียนสามารถกาหนดราคางานกราฟิกได้ สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ง 3.1 ม.4-6/12 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสานึกและความ รับผิดชอบ สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ตัวชี้วัด ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ 2. สาระสาคัญ วัสดุของใช้ สามารถตกแต่งแต้มสีสันเพื่อให้เกิดลวดลายหรือข้อความ เป็นผลจากคุณสมบัติของสารที่ทา เกิดปฏิกิริยากันเพื่อให้สามารถแสดงสีบนวัสดุและมีแรงยึดเหนี่ยวอนุภาคอย่างคงทน ทาให้วัสดุสามารถมีลวดลาย สีสันหรือข้อความตามที่ต้องการและถาวร การสกรีนวัสดุต่าง ๆ อาศัยการศึกษาความเป็นไปได้ การวางแผนและออกแบบ เพื่อให้สามารถใช้ ทรัพยากรการที่คุ้มค่า และเหมาะสมกับลักษณะงานที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ที่อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนในการผลิตที่จะสูงขึ้นตามมา ในการสร้างลวดลายบนวัสดุนั้นจาเป็นต้องอาศัยการออกแบบทางคอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อสร้างสรรค์ ความดึงดูดทาให้ผลงานเกิดความน่าสนใจและมีสีสันที่สวยงาม และอาศัยความรู้ในการวัด และพื้นที่ในแนว 2 มิติ เพื่อคานวณการออกแบบงานให้พอดีกับวัสดุ ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสกรีนวัสดุ เช่น เครื่อง ตัดสติกเกอร์ใช้ในการสร้างบล็อกสกรีน เครื่องพิมพ์แบบพ่นน้าหมึกเพื่อใช้งานพิมพ์หมึกชนิดแห้งช้าบนกระดาษซับ น้าหมึก เครื่องรีดร้อนใช้สาหรับอัดความร้อนคงที่เพื่อทาปฏิกิริยากับกระดาษซับน้าหมึกให้ถ่ายโอนลงบนวัสดุที่เรา จะสกรีน เมื่อเราได้สร้างสรรค์ผลงานสกรีนวัสดุแล้ว จะต้องคานวณราคาต้นทุนด้วยการบวกค่าวัสดุที่นาใช้ใน กระบวนการผลิต รวมถึงค่าพลังงานไฟฟ้าที่อาศัยหลักการประมาณค่าเฉลี่ย เพื่อกาหนดราคาให้เหมาะสมในการ จาหน่ายสินค้าเพื่อส่งเสริมอาชีพให้มีกาไรและอาจเป็นรายได้ในอนาคต 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 วิทยาศาสตร์: - วัสดุและสารต่างชนิดมีสมบัติบางประการเหมือนกัน และบางประการแตกต่างกัน ดังนั้นการ เลือกใช้วัสดุและสีที่นามาใช้ในงานสกรีนนั้น จึงต้องพิจารณาจากสมบัติของวัสดุและสีเพื่อความเหมาะสมและ ความคงทนถาวร
  • 3. 3 3.2 เทคโนโลยี (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการออกแบบเทคโนโลยี): 1. การออกแบบลวดลายงานสกรีนอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์กราฟิกประกอบกันเช่น วาดรูปร่าง ออกแบบข้อความ ตกแต่งสี โดยอาจจะวาดหรือออกแบบบนกระดาษหรือใช้ซอฟต์แวร์กราฟิก 2. การสร้างชิ้นงานสกรีนอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่กาหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม ข้อมูล ออกแบบโดยวาดบนกระดาษหรือใช้ซอฟต์แวร์กราฟิก ก่อนลงมือสกรีนและประเมินผล จะทาให้ผู้เรียน ทางานอย่างเป็นกระบวนการ 3. การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เช่น กรรไกร ไม้บรรทัด บล็อกสกรีน คัตเตอร์ เครื่องตัดสติ๊กเกอร์ ยางปาด ควรใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน หากนามาใช้โดยขาดความระมัดระวังและการใช้งาน ที่ไม่ถูกวิธี จะทาให้เกิดอันตรายต่อตนเองและความเสียหายกับชิ้นงาน ดังนั้นการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกวิธีจะ ทาให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน 3.3 คณิตศาสตร์: - การวัดสามารถวัดได้โดยใช้ไม้บรรทัด มีหน่วยเป็นเซนติเมตรหรือมิลลิเมตร การหาพื้นที่ของ วัสดุโดยคานวณจากความกว้างคูณด้วยความยาว มีหน่วยเป็นตารางเซนติเมตร การประเมินราคาซึ่งคานวณจาก ต้นทุนราคาด้วยการบวกค่าวัสดุที่นามาใช้ในการผลิตทั้งหมด มีหน่วยเป็นบาทหรือสตางค์ 4. กรอบแนวคิด 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เลือกใช้วัสดุและสีที่เหมาะสมตามสมบัติในการสกรีน 2. วัดความยาวและหาพื้นที่ของวัสดุที่จะสกรีนเป็นตารางเซนติเมตร 3. ออกแบบลวดลายหรือข้อความด้วยความคิดสร้างสรรค์ โดยเขียนเป็นภาพร่างเพื่อถ่ายทอดความคิด S: วิทยาศาสตร์ • สมบัติของวัสดุ • สมบัติของสี • แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาค T: เทคโนโลยี • การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก • การใช้วัสดุ/อุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและปลอดภัย E: วิศกรรมศาสตร์ • กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม • การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • ความคงทนถาวร M: คณิตศาสตร์ • การวัด • การหาพื้นที่ • การประเมินราคา ของใช้พูดได้
  • 4. 4 4. สร้างงานกราฟิกโดยใช้โปรแกรมประยุกต์บนคอมพิวเตอร์ 5. ใช้อุปกรณ์ในการตัด ติดและยึดอย่างถูกต้องและปลอดภัยในการสร้างบล็อกสกรีน 6. ใช้อุปกรณ์สกรีนวัสดุหรือของใช้ให้มีลักษณะตามที่ได้ออกแบบไว้ 7. ประเมินราคางานสกรีนโดยคานวณต้นทุนการผลิตทั้งหมด 6. วัสดุอุปกรณ์ 1. วัสดุหรือของใช้สาหรับสกรีน เช่น เสื้อ กางเกง หมวก ผ้าพันคอ แก้วทนความร้อน อย่างน้อย 1 ชิ้น 2. วัสดุสาหรับสร้างบล็อกสกรีน ได้แก่ สติ๊กเกอร์ คัตเตอร์ บล็อกขึงผ้าสกรีนนาด A3 1 ชุด กาวลอกสติ๊กเกอร์ ที่เป่าผม เทปกาวปะขอบ น้ายาเช็ดบล็อก 3. วัสดุสาหรับสกรีน ได้แก่ สียาง ยางปาด ช้อนตักสี แท่นสกรีนผิวเรียบ(ฟิวเจอร์บอร์ด) 1 ชุด 4. วัสดุสาหรับสกรีนแบบใช้ความร้อนพิมพ์ลาย ได้แก่ เครื่องรีดร้อน ปริ้นเตอร์หมึกซับบริเมนชั่น กระดาบซับหมึก 1 ชุด 5. อุปกรณ์สาหรับวัด ตัด ติดยึด ได้แก่ ไม้บรรทัด กรรไกร คัตเตอร์ เทปกาว สติ๊กกี้(ทนร้อน) อย่างละ 1 ชิ้น 6. คอมพิวเตอร์สาหรับออกแบบกราฟิก 1 เครื่อง 7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นระบุปัญหา 1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยเปิดวีดีทัศน์ข่าวเกิดเหตุปะทะกลุ่มเสื้อเหลืองและกลุ่มเสื้อแดง ให้นักเรียนดูและ อภิปราย • ข่าวนี้เป็นข่าวเกี่ยวกับอะไร • นักเรียนคิดว่าอะไรคือสาเหตุที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ปะทะ (แนวคาตอบ ความขัดแย้งทางการเมือง การแบ่งพรรคพวกโดยใช้สีเสื้อ) • นักเรียนคิดว่าหากไม่มีฝ่ายใดยอมแพ้จะเกิดผลอย่างไรต่อประเทศของเรา (แนวคาตอบ คนไทยขาดความสามัคคี ไม่รักกัน ทาร้ายกันเอง) • นักเรียนคิดว่าหากจะสร้างความสามัคคีให้ประชาชนในประเทศไทย ควรจะทาอย่างไร (แนวคาตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น สร้างจิตสานึกให้คนไทยรักกัน ฯลฯ 2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน แล้วนาเข้าสู่สถานการณ์ว่า “ถ้านักเรียนเป็นคนออกแบบของใช้ เช่น เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว ซึ่งได้รับความนิยมจากลูกค้า เป็นจานวนมาก และเป็นบริษัทเดียวที่ผลิตสินค้าส่งทั่วประเทศไทย นักเรียนจะออกแบบและสกรีน ลวดลายบนของใช้อย่างไร ให้สามารถส่งเสริมหรือปลูกจิตสานึกของคนไทยให้สามัคคีกัน” 3. ครูนาอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้
  • 5. 5 • ของใช้ที่นามาสกรีนข้อความหรือลวดลายมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว) • วัสดุที่ใช้สกรีนมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ บล็อก สี ยางปาด) • วัสดุที่เป็นผ้ากับวัสดุที่เป็นแก้วมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร (แนวคาตอบ สถานะของวัสดุ จุดเดือด ความยืดหยุ่น) 4. ครูกาหนดเงื่อนไขในการออกแบบงานสกรีน โดยให้นักเรียนเลือกของใช้ที่จะสกรีนเพียง 1 ชนิด จานวน 2 ชิ้น ของใช้ที่กาหนดให้ ได้แก่ เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว 5. ครูอภิปรายว่าจากเงื่อนไขที่กาหนดให้นักเรียนจะต้องใช้ความรู้อะไรบ้างในการออกแบบสร้างงานสกรีน (แนวคาตอบ สมบัติของใช้ สมบัติของสี การหาพื้นที่ ความยืดหยุ่น การออกแบบ การสกรีน การรีดร้อน) 6. ครูนาของใช้ เช่น เสื้อ หมวก กางเกง ผ้าพันคอ แก้ว มาให้นักเรียนช่วยกันสังเกตและพิจารณา แล้วตั้ง คาถามต่อไปนี้ • ของใช้แต่ละชนิดมีสมบัติอย่างไร (แนวคาตอบ ผิวสัมผัสนุ่มลื่น ยืดหยุ่น แข็ง/อ่อน ดูดซับน้า/ไม่ดูดซับน้า ทนความร้อน/ไม่ทนความ ร้อน) • ต้องใช้วัสดุใดในการสกรีนของใช้แต่ละชนิด (แนวคาตอบ สียาง สีซับลิเมนชั่น สีน้ามัน) 7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดว่าจะเลือกว่าจะสกรีนของใช้ใด และเพราะเหตุใด 8. ครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของสีที่ใช้สกรีนเสื้อโดยมีตัวอย่างการนาสีแต่ละชนิดมาแสดง จากนั้นสรุปความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสี 9. ครูกระตุ้นความสนใจโดยการตั้งคาถามให้นักเรียนอภิปรายว่า จากสถานการณ์ นักเรียนจะออกแบบและ สกรีนลวดลายบนของใช้อย่างไร โดยจะเลือกใช้วัสดุและสีอะไร โดยครูนาตัวอย่างของใช้ต่าง ๆ เช่น หมวก เสื้อ แก้ว เป็นต้น ที่สกรีนแล้วมาแสดงให้นักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตอบคาถาม 10. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทและคุณสมบัติของสีสกรีน ซึ่งสามารถเลือกใช้โดย พิจารณาถึงแรงยึดเหนี่ยวของสีให้เหมาะสมกับวัสดุที่จะนามาสกรีนเพื่อความคงทนถาวร จากนั้นครูสาธิต โดยการสกรีนเสื้อด้วยสียางและสกรีนเสื้อด้วยสีซับริเมนชั่น 11. นักเรียนทาใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 และนาเสนอคาตอบ 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุ สมบัติของสี และแรงยึดเหนี่ยวของอนุภาค
  • 6. 6 7.2 ขั้นออกแบบวิธีแก้ปัญหา 13. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการออกแบบงานสกรีนของใช้ โดยเน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญใน การวางแผนและการออกแบบชิ้นงาน ซึ่งการออกแบบจะช่วยให้เห็นแนวทางในการสร้างชิ้นงาน และช่วย ให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ง่ายขึ้น การสร้างชิ้นงานอาจไม่ประสบความสาเร็จหากไม่มีการวางแผนและการ ออกแบบที่ชัดเจนหรือไม่ได้ทาตามแบบที่วางไว้ 14. นักเรียนใช้ไม้บรรทัดวัดหาพื้นที่เพื่อระบุความกว้างและความยาวโดยย่อและวาดภาพร่างของวัสดุพร้อม ออกแบบลายสกรีนลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ออกแบบสร้างสรรค์ 15. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอภาพร่างที่ออกแบบไว้ 7.3 ขั้นวางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา 16. ครูเน้นให้นักเรียนนึกถึงความสาคัญของการใช้วัสดุอย่างประหยัด โดยเมื่อเลือกวัสดุในการสกรีนแล้ว จะ ไม่สามารถเปลี่ยนหรือขอเพิ่มอีก นอกจากวัสดุชารุดเสียหายโดยไม่ได้เจตนา และควรใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย 17. ให้นักเรียนออกมาหยิบของใช้ที่จะนาไปสกรีน 18. ครูกระตุ้นความสนใจนักเรียนโดยการตั้งคาถามให้นักเรียนอภิปรายว่า เราจะสกรีนของใช้ให้มีขนาดงาน สกรีนที่เหมาะสมกับพื้นที่บนของใช้และจัดวางในตาแหน่งที่สวยงานเป็นที่น่าสนใจโดย ครูนาตัวอย่างของ ใช้ต่าง ๆ เช่น หมวก เสื้อ แก้ว เป็นต้น ที่สกรีนแล้วมาแสดงให้นักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตอบ คาถาม 19. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การวัดและพื้นที่ ซึ่งสามารถใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้าง และความยาว เพื่อหาขนาดพื้นที่บนของใช้สาหรับสกรีนลวดลายลงไป จากนั้นครูสาธิตโดยการใช้ไม้ บรรทัดวัดหาความกว้างและความยาวบนเสื้อเพื่อหาขนาดของพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับงานสกรีน 20. เมื่อทราบพื้นที่จากความกว้างและความยาวบนของใช้แล้ว นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ กราฟิกในการสกรีนลายบนของใช้ โดยตั้งค่าความกว้างและความยาวให้สอดคล้องกัน 21. ให้นักเรียนสกรีนลายบนของใช้ตามที่ได้ออกแบบไว้ ครูติดตามตรวจสอบการทางานของแต่ละกลุ่มอย่าง ใกล้ชิด 7.4 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 22. เมื่อสกรีนของใช้เสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มตรวจสอบของใช้ที่สกรีน โดยนาไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติและ บันทึกผลการทดลอง
  • 7. 7 23. จากนั้นครูและนักเรียนพิจารณาผลการบันทึกเพื่อนามาปรับปรุงให้งานสกรีนมีคุณภาพดีขึ้น โดย ตรวจสอบในประเด็นต่อไปนี้ • ของใช้ที่สกรีนนั้นสามารถใช้งานตามคุณสมบัติได้หรือไม่ • ของใช้ที่สกรีนเมื่อสัมผัสกับแสง ความร้อน ความชื้น งานสกรีนจะมีลักษณะคงเดิมหรือไม่ • หากของใช้นี้วางจาหน่าย จะเสนอราคาขายเท่าใด จะได้กาไรหรือขาดทุนเท่าไร 24. ครูแจกวัสดุเพื่อสกรีนครั้งที่ 2 โดยให้นักเรียนปรับปรุงวิธีการสกรีนให้ดีกว่าครั้งแรก นาไปทดลองและ บันทึกผล จากนั้นแจกวัสดุเพิ่ม (หากนักเรียนต้องการ) เพื่อให้นักเรียนทดลองจนครบ 3 ครั้ง 7.5 ขั้นนาเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือชิ้นงาน 25. ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน และอธิบายในประเด็นต่อไปนี้ • งานสกรีนของใช้ของนักเรียนมีลักษณะอย่างไร • นักเรียนแก้ไขงานสกรีนให้ดีขึ้นได้อย่างไร • นักเรียนคิดว่าของใช้ที่นักเรียนสกรีนแล้วจะจาหน่ายในราคาเท่าไร • นักเรียนคิดว่างานสกรีนที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร 26. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าถ้าจะปรับปรุงผลงานให้ดีขึ้น ควรทาอย่างไร โดยพิจารณาทั้งผลงาน ของตนเองและของเพื่อน 27. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของใช้พูดได้ ในประเด็นดังต่อไปนี้ • การเลือกของใช้ที่นามาสกรีน • นอกจากของใช้ที่ครูเตรียมให้แล้ว นักเรียนสามารถเลือกใช้วัสดุอะไรมาสกรีนได้ • การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับการสกรีนของใช้ • การออกแบบโดยการวาดภาพร่าง • การวัดและคานวณหาพื้นที่ในการสกรีนให้เหมาะสม • การออกแบบงานกราฟิกสาหรับสกรีน • การเลือกใช้อุปกรณ์สกรีนอย่างเหมาะสม • การประเมินราคาขายที่ลูกค้าพึงพอใจซื้อ • นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทากิจกรรมนี้ (แนวคาตอบ การเลือกของใช้ การเลือกใช้สี การออกแบบ อุปกรณ์สาหรับงานสกรีน การออกแบบ กราฟิก การสกรีนตามแบบ การประเมินราคาขาย)
  • 8. 8 8. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ประเมิน คะแนน (ร้อยละ) 1.การระบุสมบัติของวัสดุ 2.การวัด และหาพื้นที่ 3.การออกแบบลายสกรีน 4.การเลือกใช้สีสกรีน 5.การใช้อุปกรณ์ในงานสกรีน 6.การนาเสนอผลงาน 7.ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างชิ้นงาน 8.การทางานเป็นกลุ่ม ใบบันทึกกิจกรรม ใบบันทึกกิจกรรม ใบบันทึกกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินผลงาน แบบประเมินผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน 15 15 20 10 20 10 5 5 เกณฑ์การวัดและประเมินผล รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1.การระบุสมบัติของวัสดุ ระบุสมบัติของสีสกรีนได้ ถูกต้องมากกว่า 3 รายการ ระบุสมบัติของสีสกรีนได้ ถูกต้อง 2-3 รายการ ระบุสมบัติของสีสกรีนได้ ถูกต้องน้อยกว่า 2 รายการ 2.การวัด และหาพื้นที่ สามารถวัดหาพื้นที่ในการ สร้างงานสกรีน และเขียน ภาพร่างเพื่อจาลองขนาด โดยย่อได้ สามารถวัดหาพื้นที่ในการ สร้างงานสกรีน แต่ไม่ สามารถเขียนภาพร่าง เพื่อจาลองขนาดโดยย่อ ได้ สามารถวัดหาพื้นที่ในการ สร้างงานสกรีนแต่ไม่ สามารถระบุหน่วยวัด หรือไม่สามารถเขียนภาพ ร่างเพื่อจาลองขนาดโดย ย่อได้ 3.การออกแบบลายสกรีน แบบร่างงานสกรีนมีความ ชัดเจน สามารถสื่อสารให้ ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดง เหตุผลในการออกแบบได้ อย่างชัดเจน แบบร่างงานสกรีน สามารถสื่อสารให้ผู้อื่น เข้าใจได้ แต่แสดงเหตุผล ในการออกแบบไม่ชัดเจน แบบร่างงานสกรีนไม่ สามารถสื่อสารให้ผู้อื่น เข้าใจได้ และไม่สามารถ แสดงเหตุผลในการ ออกแบบ 4.การเลือกใช้สีสกรีน เลือกสีสกรีนที่เหมาะสม กับงานสกรีน และ สามารถอธิบายเหตุผลใน การเลือกใช้สีสกรีนได้ เลือกสีสกรีนที่เหมาะสม กับงานสกรีน แต่ไม่ สามารถอธิบายเหตุผลใน การเลือกใช้สีสกรีนได้ เลือกสีสกรีนไม่เหมาะสม กับงานสกรีน
  • 9. 9 รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 5.การใช้อุปกรณ์ในงาน สกรีน ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด ในงานสกรีนอย่างถูกต้อง และปลอดภัย ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด ในงานสกรีนได้แต่ไม่ ปลอดภัย ใช้อุปกรณ์วัด ตัด ติด ยึด ในงานสกรีนไม่ถูกต้อง และไม่ปลอดภัย 6.การนาเสนอผลงาน นาเสนองานที่ได้รับ มอบหมายโดยสื่อ ความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ ถูกต้อง อธิบายเหตุผล ของแนวคิดได้ นาเสนองานที่ได้รับ มอบหมายโดยสื่อ ความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ ถูกต้อง อธิบายเหตุผล ของแนวคิดได้บางส่วน นาเสนองานที่ได้รับ มอบหมายโดยสื่อ ความหมายไม่ถูกต้อง และไม่สามารถอธิบาย เหตุผลของแนวคิดได้ 7.ความคิดสร้างสรรค์ใน การสร้างชิ้นงาน มีความแปลกใหม่และ ประณีต มีความแปลกใหม่หรือ ประณีตอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่มีความแปลกใหม่และ ไม่ประณีต 8.การทางานเป็นกลุ่ม มีการวางแผนในการ ทางานอย่างเป็นขั้นตอน และสมาชิกทุกคนมีส่วน ร่วมในการทางาน สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม ในการทางาน แต่การ วางแผนในการทางานยัง ไม่เป็นขั้นตอน สมาชิกบางส่วนมีส่วน ร่วมในการทางาน และ/ หรือไม่มีการวางแผนใน การทางาน เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ คะแนน 19 – 27 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 10 – 18 คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 – 9 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. วีดีทัศน์เหตุการณ์เสื้อแดง ปะทะ เสื้อเหลือง https://www.youtube.com/watch?v=EwPj8PaSV24 2. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 คุณสมบัติของสีสกรีน 3. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ออกแบบสร้างสรรค์ 4. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทและคุณสมบัติของสีสกรีน