SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
อาหารที่ดีตอสุขภาพ
Computer Project
contents
วัตถุประสงค
ที่มาและความสําคัญ
ผลที่คาดวาจะไดรับ
อาหารสุขภาพ คือ?
โภชนบัญญัติ" 9 ประการ
โรครายจากพฤติกรรมการกินที่ไมเหมาะสม
contents
VIDEO FROM YOUTUBE
ปญหาการรับประทานอาหารในไทย
วิธีเลือกเครื่องปรุงมาทําอาหาร
ที่มาและความสําคัญ
อาหารเพื่อสุขภาพเปนอาหารที่มีประโยชนแรงสมดุลไมหนักไปทางใดทางหนึ่งและเปนอาหาร
ที่ปลอดสารพิษหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและรับประทานพวกผักผลไมพืชเพิ่มมากขึ้น
ในปจจุบันคนไทยอายุตั้งแต 40 ปขึ้นไปเริ่มหันมาดูแลเรื่องอาหารและสุขภาพมากขึ้นวัยรุน
ยังไมคอยใหความสนใจจะทานอะไรงายๆและรวดเร็วบางคนมักจะไมชอบทานผักและผลไม
นานไปอาจจะเกิดอาการทองผูกหรือโรคอื่นๆตามมาไดผลที่จัดทําโครงงานนี้เพราะใหคนไทย
หันมารับประทานอาหารที่ดีตอสุขภาพ
วัตถุประสงค
1 เพื่อสงเสริมการรับ
ประทานอาหารที่ดีตอ
สุขภาพสะอาดปลอดภัย
และมีประโยชน
2 เพื่อกระตุนใหคนไทยหัน
มารับประทานอาหารที่ดีตอ
สุขภาพและใสใจในสุขภาพ
ของตนเอง
3 เพื่อแบงปนความรูแกผูที่
สนใจ
ผลที่คาดวาจะไดรับ
ไดรับความรูเกี่ยวกับการรับ
ประทานอาหารที่ดีตอสุขภาพ
ไปศึกษาพฤติกรรมในการรับ
ประทานอาหาร
1.
2.
อาหารเพื่อสุขภาพหมายถึง
มนุษยเราตองบริโภคอาหารเพื่อใหไดพลังงานและสาร
อาหารตาง ๆ ที่จําเปนตอ
การทํางานของรางกาย ซึ่งการบริโภคอาหารนี้คนเรา
ตองไดรับในสัดสวนที่เหมาะสมจึงจะ
เกิดประโยชนตอรางกาย และทําใหมีภาวะโภชนาการและ
สุขภาพที่ดีดวย ดังนั้น อาหาร
สุขภาพ จึงหมายถึงอาหารที่เราบริโภคเพื่อวัตถุประสงค
นี้ อันประกอบไปดวยอาหารที่เปน
แหลงของสารอาหารทั้งหลายที่จําเปน ตอรางกาย
รวมทั้งพลังงาน ซึ่งก็ไดแก อาหารหลัก
5 หมูนั่นเอง นักโภชนาการไดจัดทําขอปฏิบัติการกิน
อาหารเพื่อสุขภาพที่ดี โดยเรียกวา
"โภชนบัญญัติ" 9 ประการ
อาหารสุขภาพคือ?
โภชนบัญญัติ" 9 ประการ ดังนี้
1. กินอาหารครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลาย และหมั่นดูแลนํ้าหนักตัว
2. กินขาวเปนอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ
3. กินพืชผักใหมากและกินผลไม เปนประจํา
4. กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน และถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา
5. ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย
6. กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร
7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
8. กินอาหารที่สะอาด และปราศจากการปนเปอน
9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
โรครายจากพฤติกรรมการกินที่ไมเหมาะสม
มีคนจํานวนมากยังไมรูถึงอันตรายที่ซอนอยูในพฤติกรรมการกินของตัวเองและกําลังสราง
โรคตางๆแบบไมรูตัว เราจึงควรรูวากินอยางไรที่จะกอภัยเงียบ กินอยางไรถึงดีตอสุขภาพ
แลวควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารอยางไรจึงจะไมทํารายรางกาย
เกิดจากพฤติกรรมการกิน ดังนี้
1. ติดรสหวาน นํ้าตาลตกคางในกระแสเลือดมากเกินไป เปนสาเหตุ
ของโรคเบาหวาน
2. ชอบกินอาหารไขมันสูง หากรางกายสะสมไขมันสวนเกินไวมาก
เผาผลาญไมหมด จะทําใหเซลลดื้อตออินซูลิน
3. สูบบุหรี่ สารในบุหรี่ทําใหการทํางานของอินซูลินที่ทําหนาที่ดูดซับ
นํ้าตาลไปใชลดลง
4. ดื่มเหลา-เบียร เซลลตับออนอาจระคายเคืองจนอักเสบ สราง
อินซูลินไดลดลง
1.โรคเบาหวาน
2.โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
เกิดจากพฤติกรรมการกิน ดังนี้
1. กินอาหารไขมันสูง กอใหเกิดไขมันอุดตันในเสนเลือด
หลอดเลือดจะตีบ ทําใหเลือดไปเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจได
นอย เกิดอาการกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด กลามเนื้อหัวใจ
อาจตายเฉียบพลันได
2. ดื่มแอลกอฮอลเปนประจํา สารในแอลกอฮอลทุก
ชนิดมีผลโดยตรงทําใหผนังหลอดเลือดบาง ยิ่งกินเพราะ
ความเครียดจะยิ่งสงผลใหเสนเลือดสมองแตกเฉียบพลัน
ได
3.โรคความดันโลหิตสูง
เกิดจากพฤติกรรมการกิน ดังนี้
1. ชอบกินรสเค็ม รสเค็มเต็มไปดวยโซเดียม เมื่อเขาสูรางกาย หากมี
ความเขมขนของโซเดียมในหลอดเลือดมากจะทําใหมีการดูดนํ้ากลับเขา
หลอดเลือด เกิดแรงดันเพิ่มมากขึ้น ทําใหความดันโลหิตสูงขึ้น
2. กินอาหารฟาสตฟูดเปนประจํา เชนมันฝรั่งทอดกรอบ พิซซา ไกทอด
จะทําใหไขมันเกาะอยูตามผนังหลอดเลือดจนหนา หัวใจจึงตองทํางาน
หนักในการสูบฉีดเลือด นําไปสูโรคความดันโลหิตสูงได
เกิดจากพฤติกรรมการกินดังนี้
1. ปงยางทุกสัปดาห ไมเขมาควันไฟที่ติดกับไขมัน เนื้อสัตว หรือในนํ้ามันมีสารโพลี-ไซคลิกอะโรมาติก
ไฮโดรคารบอน รวมถึงเครื่องปรุงรสที่อยูในเนื้อสัตวเมื่อถูกความรอนจะเปนสารกอมะเร็งไดในระยะยาว
2. กินอาหารแปรรูป หรืออาหารกึ่งสําเร็จรูป ของหมักดอง เปนประจํา ลวนแตเปนอาหารที่ไมดีตอ
สุขภาพในระยะยาว เนื่องจากมักมีสวนประกอบที่ไมใชอาหารตามธรรมชาติ เชน การเติมสารใหความหวาน
การแตงกลิ่น หรือรสสังเคราะห หรือสารถนอมอาหาร
3. ของทอดนํ้ามันซํ้า เพราะในนํ้ามันที่ทอดซํ้าเกิน 2 ครั้ง กอใหเกิดลุมสารโพลาร สงผลใหเกิดโรค
ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได
4.โรคมะเร็ง
เกิดจากพฤติกรรมการกิน ดังนี้
1. ไมกินมื้อเชา ถาไมกินอาหารเชานั้น นํ้าตาลในเลือดจะตํ่าลง
สมองจึงสั่งใหกินมื้อถัดไปมากขึ้นเปนการชดเชย ทําใหอยากกินของ
หวาน จึงเกิดเปนไขมันสะสมรอบเอว
2. กินเบเกอรี่เปนประจํา ไขมัน นํ้าตาลและครีมเทียมในเบเกอรี่เปนไข
มันทรานส (ไขมันชนิดไมดี) ซึ่งเปนตนเหตุหลักของไขมันทพุง ทําให
รอบเอวเกินได
3. ดื่มเครื่องดื่มรสหวาน เครื่องดื่มรสหวานใหสารอาหารนอย แถม
ใหพลังงานสูง สวนใหญมีสวนผสมของนํ้าตาลฟรุกโทสที่เปน
อันตรายตอรางกายในระยะยาว
5.โรคอวนลงพุง
Videofrom
youtube!
Videofrom
youtube!
ปจจุบันสถานการณแนวโนมสุขภาพของประชาชนมีความเสี่ยงมากขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของประชากรและสิ่งแวดลอม
สงผลใหพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กไมถูกตอง ทําใหเด็กขาดสารอาหารและมีภาวะโภชนาการเกิน การเจริญเติบโตชา
เจ็บปวยบอย ความสามารถในการเรียนรูดอย ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนตํ่า และสมรรถภาพในการทํากิจกรรมและการเลนกีฬา
ตํ่า
นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ขานรับนโยบายอยางเครงครัด และเรง
ดําเนินการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคเด็กไทย โดยกลาววา ปจจุบันเด็กสวนใหญมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม จาก
ขอมูลรายงานการสํารวจสุขภาพเด็กไทย พบวา เด็กไทยที่มีภาวะโภชนาการเกินและเปนโรคอวนรุนแรง โดยเด็กทุกกลุมอายุมี
ภาวะนํ้าหนักเกินและอวนสูงกวาภาวะผอม โดยเด็กอายุ 12-14 ป มีภาวะนํ้าหนักเกินและอวนรวมกันสูงสุด รอยละ 11.9 รอง
ลงมาเปนเด็กอายุ 6-11 ปรอยละ 8.7 และ 1-5 ป รอยละ 8.5 ตามลําดับ ทําใหพบปญหาโรคไมติดตอเรื้อรังเพิ่มขึ้น ทั้งใน
เด็กและผูใหญ ซึ่งปจจัยดังกลาวลวนแตบั่นทอนคุณภาพของทรัพยากรมนุษยภายในประเทศอยางยิ่ง
ปญหาการรับประทานอาหารในไทย
แนวทางการแกปญหา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะองคกรหลักที่ใหการคุมครองผูบริโภคทุกกลุมวัย จึงมี
แนวทางในการสงเสริมใหเด็กมีพฤติกรรมการบริโภคที่พึงประสงค โดยมุงปลูกฝงพฤติกรรมสุขภาพพื้นฐานดานการบริโภคให
ถูกตองและยั่งยืน ดวยการสงเสริมการพัฒนาความรอบรูดานสุขภาพ ควบคูกับการสรางเสริมพฤติกรรมสุขภาพตางๆอยาง
ตอเนื่อง ไมวาจะเปนการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรูเรื่องการบริโภคและโภชนาการของสถานศึกษาทั้งกิจกรรมการเรียนรู
ในหลักสูตร สอนเนื้อหาสุขบัญญัติ 10 ประการ ในการเรียนการสอนปกติและสอดแทรกในวิชาตางๆที่เกี่ยวของ สงเสริม
การเรียนการสอนในชั่วโมงเรียนพิเศษ หรือชั่วโมงกิจกรรมของโรงเรียน ฝกใหนักเรียนดูแลสุขภาพเปนประจํากินอาหารที่ถูก
ตองเหมาะสม ออกกําลังกาย ลางมือกอนรับประทานอาหาร และหลังจากสัมผัสสิ่งสกปรก
ขณะเดียวกันไดมีการเฝาระวังพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนเพื่อใหทราบสภาวะสุขภาพของนักเรียนในการแกไขปญหาสุขภาพเฝา
ระวังพฤติกรรมสุขภาพ หรือการปฏิบัติของนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการกระทําที่มีความเสี่ยงตอปญหาสุขภาพเพื่อ
ใหทราบวานักเรียนมีการปฏิบัติตัวถูกตองในเรื่องใดและหาแผนสงเสริมดูแลนักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสราง
แกนนําสุขบัญญัติ หรือชมรมสุขบัญญัติในโรงเรียนเพื่อเปนผูดําเนินงานพัฒนาสุขภาพรวมกัน เพื่อใหเกิดกิจกรรมที่
สรางสรรคและเปนประโยชนตอการดูแลสุขภาพ และการจัดสภาพแวดลอมของโรงเรียนใหเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติตาม
สุขบัญญัติแหงชาติ เนื่องจากสิ่งแวดลอมเปนปจจัยสําคัญในการสงเสริมใหเกิดพฤติกรรมตางๆ ดังนั้นโรงเรียนจึงควรจัด
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมและเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแหงชาติใหแกนักเรียน เชน สงเสริมใหมีแปลงปลูก
ผักผลไมปลอดสารพิษ ฯลฯ
ทริคในการทํา
อาหารเพื่อ
สุขภาพ
1. หัวใจหลักคือผักและโปรตีนที่ดี
ในมื้ออาหารมื้อหลักๆ หากคุณรูสึกวาอาหารที่รับประทานในชวงไดเอทนั้นไมเพียงพอตอความตองการของ
รางกาย ใหเพิ่มผักสดและเนื้อสัตวไมติดมัน ( เชน เนื้ออกไก ) ลงไปในจาน หากลดแปงดวยการหันมารับ
ประทานธัญพืช หรือขาวไมขัดสี หรือแปงเฉพาะอยางที่ไมใชขาวขัดสีในการผลิตก็จะชวยใหรางกายไดรับสาร
อาหารครบถวนในชวงไดเอท
ขอควรระวัง : เนื้อสัตวใหญ เชน เนื้อหมู เนื้อวัว มักจะมีไขมันแทรกอยูมาก ใหระมัดระวังและเลือกหาเนื้อที่ไม
ติดมันมากจนเกินไป และนํามาปรุงอาหารดวยตัวเอง เพื่อเลือกสิ่งดีๆ ใหกับตัวคุณ เนื้ออกไกเปนทางเลือก
ที่ดี แตใหระวังสําหรับคนที่มีอาการของโรคเกาตหรือไขขออักเสบ
2. เตรียมไวกอน จัดการงายกวา
เตรียมสวนผสมและเครื่องปรุงตางๆ ของแตละมื้อไวในถุงซิปล็อก แบงเปนมื้อๆ หรือเปนวันๆ เพื่อความ
สะดวกในการทําอาหาร คุณอาจจะเขียนสูตรและขั้นตอนการปรุงติดถุงไวดวย และแชมันเอาไวในตูเย็น
หรือไมอยางนั้นก็หั่นวัตถุดิบตางประเภทกัน เก็บแยกกันไวในแตละถุง เพื่อความสะดวกในการนํามาปรุง
อาหาร
ขอควรระวัง : การลางและหั่นผักผลไมทิ้งไวจะทําใหสูญเสียวิตามิน โดยเฉพาะผักผลไมที่มีวิตามินซีสูง
เพราะวิตามินซีสามารถละลายไดในนํ้า ดังนั้น ถาสาวๆ อยากจะเตรียมผักผลไมไวลวงหนา ก็ควรจะกะระยะ
เวลาการใชงานใหพอดี ระวังอยาใหหมดอายุเสียกอนละ
3. ตรวจดูสวนผสมที่มีคุณประโยชน
ควรเลือกใชสวนผสมที่มีคุณคาทางอาหารสูง และใหพลังงานเพียงพอตอการใชงานของรางกาย หากคุณ
จะเตรียมอาหารเชาแบบ on-the-go ( พกพาไปรับประทานได ) ก็ใหลองใชแปงปลอดกลูเตน
( Gluten-Free ) ผสมกับธัญพืชและเนยถั่ว อบแลวจะไดมัฟฟนหอมกรุนแบบรักสุขภาพสุดๆ
ขอควรระวัง : แปงปลอดกลูเตนเปนวัตถุดิบที่คอนขางมีประโยชน เพราะมีงานวิจัยหลายสํานักที่บอกวากลู
เตนอาจเปนสาเหตุของอาการแพหลายประการ และกอใหเกิดอาการปวยแตกตางกันไปตามบุคคลที่รับ
ประทาน ระวังไวไมเสียหายนะ!
4. รูสึกไมคอยดีเหรอ? ซุปผักรอนๆ ชวยคุณได
ซุปผักรอนๆ ในวันที่รูสึกไมอยากอาหาร แคคิดก็นํ้าลายสอแลว รสชาติหวานๆ ของผักที่ตมจนเปอย
ผสมกับธัญพืชอยางขาวโพด ลูกเดือย หรือขาวบารเลย ผสมกับนํ้าซุปที่เต็มไปดวยคุณคาทางอาหาร หาก
กลัววาจะไมอยูทองก็สามารถจะเพิ่มเนื้อสัตว อยางเนื้ออกไก หรือกุงลงไปได โอย พิมพไปก็หิวไป ขอตัว
ไปทําซุปผักรอนๆ ทานซักชามนะ!
ขอควรระวัง : เนื่องจากผักสูญเสียวิตามินไดรวดเร็วมากจากความรอนในการปรุงอาหาร ดังนั้นคุณควรทํา
ซุปผักเปนครั้งๆ ไป และรับประทานใหหมดในเวลาอันสั้น
5. สลัดแสนอรอย
กลัววาสลัดผักจะหกเลอะเทอะถาเตรียมใสกลองไปจากบานอยางนั้นเหรอ? หากคุณมีโหลแกวสักใบก็ไม
ตองกังวลแลวละ แคใสสวนผสมของสลัดจากเปยกไปแหงตามลําดับ โดยใหนํ้าสลัดเปนสิ่งแรกที่ใส
ลงไปในโหล ( ลางสุด ) และท็อปปงอยางธัญพืชตางๆ ผักสดหลากหลายชนิดคอยๆ เรียงขึ้นมาจนถึง
ดานบน อาจท็อปดวยขนมปงกรอบสักหยิบมือ เมื่อถึงเวลาก็จับมาเขยาๆ เปดฝา ใชสอมจิ้มผักใสปาก
อืมมมม ฟนและไมเลอะเทอะ!
ขอควรระวัง : คุณควรแนใจวานํ้าสลัดจะไมผสมคลุกเคลากับผักกอนเวลาอันควร เพราะแนนอนวานี่คือ
สิ่งที่จะทําใหสลัดของคุณหมดความอรอยเมื่อถึงเวลารับประทาน เพราะนํ้าสลัดจะทําใหผักสดสลบ
เหมือด ไรความกรุบกรอบยามเคี้ยว!
คุณอาจจะเบื่อกับมื้อที่ตองกินขาวโอตผสมนม หรือทําเปนขาวตมเละๆ เปลี่ยนใหมื้อที่นาเบื่อเหลานั้นมี
สีสันมากขึ้นดวยการเติมผักสดสีสันสดใส ธัญพืชที่ใหสัมผัสแตกตางจากขาวโอต และลองกินคูกับไข
ดาว ( แนนอนวาทอดแบบไมใชนํ้ามัน ) ที่ไขแดงไมสุกดูสิ โอย สัมผัสใหมแหงการกิน!
ขอควรระวัง : หากคุณกะปริมาณนํ้าไดพอเหมาะ ขาวโอตของคุณจะไมออกมาเละเปนโจกจนเกินไป ยังคงมี
สัมผัสนุมเหนียวคลายขาวสวยอยูบาง เพราะฉะนั้น ใหทดลองหุงขาวโอตในระดับนํ้าที่คุณพอใจดู
6. ขาวโอตธัญพืช
7. รีดนํ้ามันออกจากอาหาร
หากตองการใชนํ้ามันเพื่อผัดผัก หรือประกอบอาหารในขณะที่คุณอยูในชวงไดเอท ก็คงตองใชนํ้ามันพืช
หรือนํ้ามันสัตวใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได เพราะฉะนั้น หากคุณตองปรุงอาหารประเภทผัด ยาง ทอด ที่มี
เนื้อสัตว ก็ใหนําเนื้อสัตวนั้นวางบนกระทะกอน เพื่อใชนํ้ามันที่ออกมาจากเนื้อสัตวในการประกอบอาหาร
จานอื่นๆ
ขอควรระวัง : นี่ไมใชโอกาสที่คุณจะเอาหมูสามชั้นมาทอดเพื่อนํานํ้ามันมาใช หรือเอาเบคอนมากริลลให
กรอบเพื่อเคี้ยวเลนนะ! หากมีนํ้ามันสวนเกินที่ไมตองการใชงานก็ใหทิ้งไปซะ อยาไปเสียดาย ลองคิดถึง
พุงนอยๆ ของตัวเองดู แลวเซฟรางกายใหมากๆ
วิธีเลือก
เครื่องปรุงมา
ทําอาหาร
รสเค็ม
ซอสหอยนางรม
มักเปนเครื่องปรุงที่ขาดไมไดในเมนูผัดผักหรือหมักเนื้อตางๆ โดยตัววัตถุดิบของซอสหอยนางรมนั้นอาจไมถือวาคลีน เพราะในซอสหอย
นางรมนั้นประกอบไปดวย หอยนางรมสกัด ซีอิ๊ว นํ้า นํ้าตาล แปงดัดแปร แตเราสามารถใชในปริมาณพอเหมาะสําหรับการทําอาหารคลีน
ได โดยลดปริมาณลง ระวังเรื่องโซเดียม ควรเลือกชนิดที่เปน Low sodium
ซีอิ๊ว
ทั้งซีอิ๊วขาว ซีอิ๊วดํา ซีอิ๊วหวาน เหลานี้ลวนทํามาจากถั่วเหลือง ซึ่งผานการบมเพาะหมักดวยกรรมวิธีจนออกมาในรูปแบบตางๆ ซึ่งก็ถือวาไม
คลีนเชนกัน แตก็สามารถใสไดใหพอมีรสชาติ ซึ่งในซีอิ๊วจะมีโซเดียมอยูในปริมาณสูงมาก ก็ควรตองเลือกซื้อแบบ Low sodium เชน
เดียวกัน และทางที่ดีก็ควรใชซีอิ๊วแทนนํ้าปลาไปเลยก็ได เพราะนํ้าปลาจะใหรสชาติที่เค็มมากเกินไปนั่นเอง
เกลือ
เกลือถือเปนเครื่องปรุงรสที่แนะนําใหนํามาใชปรุงอาหารมากที่สุดในบรรดาเครื่องปรุงที่ใหรสเค็ม ซึ่งเกลือมีทั้งเกลือปนธรรมดา เกลือ
Low sodium เกลือทะเล เปนตน หากเราสามารถหาเกลือทะเลแบบธรรมชาติ หรือเกลือพิเศษๆ อยางเชน เกลือสีชมพู (หิมาลายัน) ก็
จะยิ่งดี เพราะเกลือเหลานี้มีแรธาตุอาหาร เอนไซมที่ดีตอรางกาย และชวยใหรสชาติอาหารคลีนของเรามีความกลมกลอมมากขึ้น
รสเปรี้ยว
มะนาว
ไมวาจะเปนอาหารคลีนหรืออาหารปกติ ไมมีรสเปรี้ยวไหนสูมะนาวไดอีกแลว ถือเปนวัตถุดิบหลักของรสเปรี้ยวเลยทีเดียว ใหทั้งความ
เปรี้ยว หอม ละมุน ซึ่งรสเปรี้ยวจากมะนาวนั้นนอกจากจะทําใหอาหารอรอยแลว ยังมีแคลอรี่ตํ่า วิตามินซีสูงอีกดวย
นํ้าสมสายชู
นํ้าสมสายชูที่แนะนํามาทําอาหารคลีนคือนํ้าสมสายชูที่หมักโดยธรรมชาติ ไมไดมีรสเปรี้ยวจากกรดซิตริกเปนหลัก เชน นํ้าสมสายชูหมัก
ไวนขาว นํ้าสมบัลซามิก แอปเปลไซเดอร ซึ่งแอปเปลไซเดอรนี้มีประโยชนกับรางกายมากหากนํามารับประทานใหถูกตอง
ผลไมรสเปรี้ยว
บางเมนูเราสามารดัดแปลงนําผลไมที่มีรสเปรี้ยวมาใชเปนเครื่องปรุงไดแตอาจติดรสหวานมาดวย เชน สม สับปะรด กีวี แอปเปล
เสาวรส ขึ้นอยูกับผลไมที่เรานํามาใช
รสเผ็ด
พริกสด
พริกสดถือเปนเครื่องปรุงที่ดีที่สุดสําหรับการใหรสเผ็ด เปนวัตถุดิบพื้นฐานในการทําอาหารไทยเลยก็วาได จะเปนพริกขี้หนู พริกเขียว พริก
แดง พริกหยวก พริกเหลือง ก็สามารถนํามาทําอาหารคลีนกันไดเลย เพราะพริกทุกชนิดลวนมีประโยชน จะทําพริกเหลืองผัดฉา พริกหยวก
ผัดพริก หรือพริกหวานในเมนูผัดที่ตองการเผ็ดนอย ก็สามารถเลือกทําไดตามใจชอบ
พริกปน
บางเมนูอาจไมเหมาะสําหรับการใชพริกสดมาทํา ก็ควรเลือกซื้อพริกปนมาแตพอใช ไมตองซื้อมาเก็บไวนานๆ หรือไมก็ตําพริกแหงเองเลย
พริกปนที่ดีตองสะอาด ไมชื้น ไมมีกลิ่นหืน ไมเกา พริกปนหากเก็บไมดีมักจะมีเชื้อราปะปนอยูสูงมาก ไมควรใสเยอะ หรือถาเปนไปไดก็ควร
เลือกใชพริกปนที่บรรจุซองสําเร็จรูปที่มีวางขาย จะปลอดภัยกวา
พริกไทย
พริกไทยจะใหรสเผ็ดรอน ฉุนๆ ใสไดไมยั้งเลย นอกจากจะนํามาเติมเพื่อความเผ็ดรอนแลว ยังนิยมนํามาหมักเนื้อสัตว คลุกกับเนื้อ หรือ
ผักกอนจะนําไปยางก็ยังใหความหอมอีกดวย ซึ่งมีใหเลือกทั้งพริกไทยขายและพริกไทยดํา ก็เลือกนํามานําปรุงไดตามใจชอบเลย
นอกจากนี้กระเทียม ขิง ขา กระชาย ขมิ้น และเครื่องเทศอื่นๆ ที่ใหรสเผ็ดรอนก็สามารถใชไดกับหลายเมนู และใหประโยชนเชนกัน โดยสวน
ใหญเครื่องปรุงที่ใหความเผ็ดมักไมคอยมีปญหาในการเลือกนํามาปรุงอาหารคลีน เนื่องจากโดยสวนใหญจะเปนวัตถุดิบจากธรรมชาติและมี
ประโยชนตอรางกาย
รสหวาน
นํ้าผึ้ง
สําหรับเมนูคลีนนั้นการใชนํ้าผึ้งแทนนํ้าตาลถือดีวาดีมาก ดวยรสชาติที่ไมหวานแหลมจนเกินไป กลิ่นหอม และสรรพคุณตอรางกาย
มากมาย ทั้งตอตานอนุมูลอิสระ วิตามินและแรธาตุที่เปนประโยชนหลายชนิด แตถึงประโยชนจะมากแคไหน ก็ตองควบคุมปริมาณอยูดี ใส
ในปริมาณที่เหมาะสม ไมมากเกินไป
เมเปลไซรับ
เมเปลไซรับหรือนํ้าเชื่อมเมเปล เปนอีกหนึ่งวัตถุดิบที่ใหความหวานที่มีประโยชนสูงมาก แตมีราคาคอนขางสูง นํ้าเชื่อมเมเปลคือนํ้าเลี้ยง
จากตนเมเปล คุณสมบัติสําคัญ คือ มีสารโพลิฟนอล ชวยชะลอการเปลี่ยนคารโบไฮเดรตเปนนํ้าตาล และมีสารตานอนุมูลอิสระที่
ชวยยับยั้งการเสื่อมของเซลลในรางกาย
นํ้าหวานดอกมะพราว
เปนนํ้าหวานที่ไดจากเกสรดอกมะพราว อุดมไปดวยแรธาตุและวิตามิน มีคา G.I. ( Glycemic Index) ที่ตํ่า ทําใหนํ้าตาลที่ไดจากนํ้า
หวานดอกมะพราวดูดซึมเขาสูรางกายอยางชาๆ ไมเหมือนกับเครื่องปรุงที่ใหความหวานอื่นๆ
หญาหวาน
เปนนํ้าตาลเทียมชนิดหนึ่งที่สกัดมาจากธรรมชาติโดยตรง ใหความหวานกวานํ้าตาลประมาณ 300 เทา มีคุณสมบัติสําคัญคือ ไมมี
แคลอรี่ แตจะใหรสหวานเพียงแคปลายลิ้นเทานั้น

More Related Content

What's hot

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59Nickson Butsriwong
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาSura Lika
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพsivakorn35
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นNamfon fon
 
The health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthThe health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthUtai Sukviwatsirikul
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพSurapee Sookpong
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Channawat
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointnin261
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 

What's hot (19)

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Duo project computer
Duo project computerDuo project computer
Duo project computer
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
The health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthThe health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student health
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Baby food
Baby foodBaby food
Baby food
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
คุณทานข้าวเช้าหรือไม่?
คุณทานข้าวเช้าหรือไม่?คุณทานข้าวเช้าหรือไม่?
คุณทานข้าวเช้าหรือไม่?
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 

Similar to Presentation final project

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Pavit Tansakul
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคpawineeyooin
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคJimmy Pongpisut Santumpol
 

Similar to Presentation final project (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 

Presentation final project