SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
- ภาวะโภชนาการในวัยรุ่น -
ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่น
หลักการและทฤษฏี
ขอบเขตของโครงงาน
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสาคัญ
การเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ปัญหาหลักที่พบจากข้อมูลของ WHO
ภาวะนาหนักเกินและโรคอ้วน
วัยรุ่นที่เล่นกีฬา
การตังครรภ์ในวัยรุ่น
ความต้องการอาหารของวัยรุ่น
วัยรุ่นกับโภชนาการบัญญัติ ประการ “4 อย่า 5 อยาก”
แนวทางปฏิบัติและแก้ไขด้านโภชนาการสาหรับการมีสุขภาพที่ดี
วิธีการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้จัดทา แหล่งอ้างอิง
ที่มาและความสาคัญ
อาหารและโภชนาการนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่งอย่างหนึ่งใน
ชีวิตประจาวัน โดยปกติแล้วในวันหนึ่งหนึ่งคนเราจะปรับประทานอาหาร 3 มื้อต่อ
วันโดยที่ในแต่ละมื้อนั้นต้องประกอบไปด้วยสารอาหารที่ครบถ้วน5หมู่ ซึ่งได้แก่
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่หรือแร่ธาตุและวิตามิน โดยที่เราต้องมีการ
รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับช่วงไวไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป เพื่อไม่ให้ส่งผล
เสียแก่ร่างกาย ซึ่งโดยปกติแล้วนั้นวัยรุ่นเป็นอีกช่วงวัยหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจเป็นอย่างมากทาให้มีการเจริญเติบโตในด้าน
ต่างๆอย่างเห็นได้ชัด และที่สาคัญรวมไปถึงการรับประทานอาหารด้วยซึ่งอาจไม่
เหมาะสมแก่ช่วงวันทั้งการทานมากเกินไป การลืมรับประทานอาหารให้ตรงมื้อ
การเลือกทาน เป็นต้น จึงทาให้เกิดโภชนาการขึ้นเพื่อเป็นการระบุถึงสิ่งที่เหมาะสม
แก่ร่างกายของมนุษย์ซึ่งมีสภาพร่างกายที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล เช่น
เพศชาย เพศหญิง วัยรุ่นที่เล่นกีฬา วัยรุ่นที่อ้วน เป็นต้น จึงมีแนวคิดขึ้นเพื่อทา
โครงงานนี้ให้แก่วัยรุ่นได้รู้ถึงโภชนาการที่ควรได้รับในแต่ละมื้อตามความเหมาะสม
ของตนเอง
เพื่อศึกษาโภชนาการที่เหมาะสมในวัยรุ่นในแต่ละ
เพศ
เพื่อศึกษาผลเสีย/ผลดีของโภชนาการที่ได้รับใน
ปริมาณที่มาก/น้อยเกินไป
เพื่อหาปริมาณสารอาหารต่างๆที่วัยรุ่นควรได้รับ
ประจาวัน
เพื่อให้ทราบว่าโภชนาการคืออะไร
วัตถุประสงค์(Purpose)
หลักการและทฤษฎี
วัยรุ่น หมายถึง ผู้ทีมีอายุ 12-20 ปี เป็นระยะทีร่างกายมีการเจริญเติบโต
อย่างเต็มทีและรวดเร็ว รวมถึง มีการเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดโครงสร้างดังนั้นการ
ส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นได้รับอาหารทีถูกหลักโภชนาการ เหมาะ สมกับความต้องการ
และมีปริมาณเพียงพอเพื่อใช้สาหรับการเจริญเติบโตและเป็นพลังงานเพื่อการประกอบ
กิจกรรม ในแต่ละวัน
ความสาคัญของอาหารกับวัยรุ่น
1. เพื่อใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาระบบต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึงสร้างพลังงาน
สาหรับการใช้ประกอบกิจกรรมต่างๆในแต่ละวัน
2. เพื่อให้ได้รับอาหารทีเหมาะสมกับความต้องการของช่วงวัย
การเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ด้านสรีระร่างกายจะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับช่วงวัยอื่น ทั้งขนาด โครงสร้าง
ของร่างกาย ซึ่งแสดงออกทางน้าหนักและความสูง เป็นช่วงที่ร่างกายมีการสร้างเนื้อกระดูก และความ
แข็งแกร่งของกระดูก นับเป็นช่วงสุดท้ายของชีวิตเด็กที่สามารถเจริญเติบโตและพัฒนาการได้เต็ม
ศักยภาพตามพันธุกรรม โดยเฉพาะความสูงที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ถึง 4 นิ้ว ในเด็กผู้หญิงการพัฒนาของ
ทรวงอกซึ่งเริ่มตั้งแต่อายุ 8 ปี จะสามารถขยายขนาดของหน้าอกจนสมบูรณ์ในอายุระหว่าง 12-18
ปี ขนตามส่วนต่างๆ ที่แสดงลักษณะทางเพศจะเริ่มพบอายุ 9-10 ปี ประจาเดือนจะมีช่วงอายุ 10 ปี
หรืออย่างช้าอายุ 15 ปี น้าหนักตัวจะเพิ่มเป็นสองเท่า เด็กผู้ชายอายุประมาณ 9 ปีจะเริ่มมีการพัฒนา
ของขนาด อวัยวะเพศ ขนตามที่ต่างๆ เริ่มขึ้นอายุประมาณ 12 ปี เสียงเริ่มเปลี่ยน แตกพร่า และห้าว
ขึ้นเมื่ออายุ ประมาณ 14 ปี เป็นอยู่ราวๆ 1-2 ปี จึงจะบังคับเสียงได้
การเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
คลิปตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=_cJePa5pQ5M
ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่นมีได้หลายรูปแบบทั้งทาให้การเจริญเติบโตล่าช้า เจ็บป่วยบ่อย
ความสามารถในการเรียนรู้ ผลการเรียน สมรรถภาพในการทากิจกรรมและการเล่นกีฬาด้อย
หรือถดถอยลง ในขณะเดียวกันปัญหาด้านโภชนาการเกินก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ
ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่น
(malnutrition)
ปัญหาหลักที่พบจากข้อมูล
ของ WHO
1. Micronutrient
deficiency เช่น การขาดธาตุ
เหล็กจนทาให้เกิดโรคโลหิตจาง
คือ ภาวะที่ร่างกาย มีจานวน
เม็ดเลือดแดงต่ากว่าปกติ
เนื่องจากมีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
ที่จะนาไปสร้างเม็ดเลือด และโรค
ขาดธาตุไอโอดีน โรคขาด
วิตามินเอ.
2. Macronutrient
deficiency เช่น ภาวะของการ
ขาดโปรตีนและพลังงาน เมื่อ
ร่างกายได้รับพลังงานและโปรตีน
ไม่เพียงพอ ก็จะมีผลต่อการ
เจริญเติบโตของวัยรุ่น เช่นตัวเตี้ย
ผอม น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์และ
สติปัญญาการเรียนรู้ซึ่งมักพบใน
ชนบท
3. Malnutrition and
stunting
ภาวะที่ร่างกายได้รับ
สารอาหารน้อยไปจากปกติ
ส่งผลให้การเจริญเติบโต
ทางด้านสรีระเจริญไม่เต็มที่
จนก่อให้เกิดการแคระเกร็
นของร่างกายขึ้น หรือตัว
เตี้ยได้
ปัญหาหลักที่พบจากข้อมูล
ของ WHO
5. Nutrition in relation to
early pregnancy การที่
ตั้งครรภ์เมื่ออยู่ในวัยรุ่นของหญิง
พบภาวะขาดอาหารเนื่องจากขาด
ความรู้ทาให้รับประทานอาหารไม่
เหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้ผลิตน้านมได้
น้อยและได้ทารกที่มีน้าหนักตัวต่า
กว่าเกณฑ์ เป็นต้น
4. Obesity and other nutrition
related chronic diseases ภาวะ
โภชนาการเกินที่ก่อให้เกิดโรคอ้วนและนามาซึ่ง
โรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคความดันโลหิตสูง โรคเกาต์ โรคมะเร็งเต้า
นม, เป็นต้น รวมทั้งการก่อให้เกิดโรคทั้งทาง
ร่างกายและทางจิตใจด้วย
ภาวะนาหนักเกินและโรคอ้วน
การได้รับปริมาณอาหารที่มากเกินพอ การเคลื่อนไหวในการทากิจกรรม
ต่างๆ ลดลง นาไปสู่ความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับ
โคเลสเตอรอลในเลือดสูง ปัญหาเกี่ยวกับข้อต่อและสุขภาพไม่ดี จากการศึกษา
พบว่าถ้ามีภาวะน้าหนักเกินในวัยรุ่นก็จะพบต่อเนื่องในวัยผู้ใหญ่ได้และเป็นปัจจัย
บ่งชี้ของการเกิดโรคต่างๆ.
ในประเทศสหรัฐอเมริกาภาวะน้าหนักเกินเพิ่ม ขึ้นเป็น
สองเท่าในเด็กอายุ 6-11 ปี และเพิ่มขึ้นถึงสามเท่าในวัยรุ่น
12-19 ปี เมื่อเทียบกับ 20 ปีที่ผ่านมา ได้มีการทาวิจัยและ
แนะนาว่าการรับประทานอาหารเช้าจะมีผลต่อการเรียน และ
พบการรับประทานอาหารเช้าลดลงตามช่วงอายุที่มากขึ้น
โดยอายุระหว่าง 6-11 ปี จะรับประทานอาหารเช้า ร้อยละ
92 ในวัยรุ่น 12-19 ปี รับประทานอาหารเช้าร้อยละ
75-78 นอกจากนี้ มีรายงานที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารว่างพบว่าเด็กมัธยมปลาย
-รับประทานปริมาณไขมันอิ่มตัวตามที่กาหนดไว้น้อย
กว่าร้อยละ 40
-รับประทานผักผลไม้น้อยกว่า 5 ครั้งต่อวัน ร้อยละ
80
-รับประทานใยอาหารตามที่กาหนดไว้ ร้อยละ 39
-วัยรุ่นผู้หญิงไม่ได้รับแคลเซียมเพียงพอร้อยละ 85
-การดื่มน้าอัดลม น้าหวานพบเพิ่มขึ้นในผู้หญิง จาก 6
ออนซ์ เป็น 11 ออนซ์ และในผู้ชายเพิ่มจาก 7 ออนซ์
เป็น 19 ออนซ์
นักเรียนมัธยมปลายจานวนมากใช้วิธีการลดหรือควบคุมน้าหนักที่ไม่ถูกต้อง โดย
-ใช้วิธีอดอาหาร มากกว่าร้อยละ 12.3
-ใช้วิธีอาเจียนอาหารหรือใช้ยาระบาย ร้อยละ 4.5
-ใช้ยาลดน้าหนักแบบเม็ด แบบผงหรือแบบน้าร้อยละ 6.3 โดยที่ไม่ได้อยู่ในการควบคุมดูแลของแพทย์
ข้อมูลจากกองโภชนาการ กรมอนามัย สารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนวัยรุ่นไทย อายุ
12-18 ปี จานวน 900 คน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2545 พบว่า ส่วนใหญ่มีภาวะ
โภชนาการปกติร้อยละ 85.4 (ตามเกณฑ์น้าหนัก ส่วนสูง) ภาวะโภชนาการต่ากว่ามาตรฐานร้อยละ 4.3 ภาวะ
โภชนาการเกินมาตรฐานร้อยละ 10.2 โดยพบพฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อหลัก ครบ 3 มื้อ ทุกวัน บริโภคผัก
ทุกมื้อร้อยละ 40.1 บริโภคผลไม้ทุกวันร้อยละ 40.6 ดื่มนมเป็นประจาทุกวันร้อยละ 39.4 ดื่มนมในเวลาอาหาร
ว่างร้อยละ 41.4 ดื่มน้าเปล่าในเวลาอาหารว่างร้อยละ 57.0 ดื่มน้าผลไม้เป็นอาหารว่างร้อยละ 14.9
พบพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ คือ การบริโภค น้าอัดลมทุกวัน ดื่มน้าอัดลมเป็นอาหารว่างร้อยละ 23.2 และการ
บริโภคอาหารวันละ 2 มื้อ คือ กลางวัน และเย็นร้อยละ 16.5 (จันทร์-ศุกร์)
วัยรุ่นที่เล่นกีฬา
วัยรุ่นที่เล่นกีฬาต้องการพลังงานสูงเป็นพิเศษ ซึ่งบางกรณีอาจจะส่งผลเสียแก่การเจริญเติบโตและสภาพจิตใจจนอาจทาให้มี
พฤติกรรมการบริโภคที่ผิดปกติของวัยรุ่นกลุ่มนี้ได้ และปริมาณแคลเซียมและธาตุเหล็กที่อาจไม่เพียงพอ ดังนั้นอาหารที่เลือก
รับประทานควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษว่าครบถ้วน เพียงพอและสร้างสมดุลแก่ร่างกาย ควรเน้นเรื่องปริมาณ คาร์โบไฮเดรทเพื่อให้ได้
พลังงานและการดื่มน้า ที่เพียงพอในช่วงเล่นกีฬา อาหารว่างที่รับประทานควรย่อยและสามารถดูดซึมได้ง่าย ควรมีการเสริม ทั้ง
ปริมาณแคลเซียมสาหรับสุขภาพกระดูกที่แข็งแรงและปริมาณธาตุเหล็ก
การตังครรภ์ในวัยรุ่น
ในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ปกติ น้าหนักจะเพิ่มขึ้น 12 กิโลกรัม ( 10-14 กก.) ปัญหาที่มักจะพบในวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์คือ
โดยมากจะเป็นแบบไม่ได้ตั้งใจ และส่งผลดังนี้
คลิปตัวอย่าง การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=sl4OdrEDNbI
การตังครรภ์ในวัยรุ่น
วัยรุ่นที่รับประทานมังสวิรัติ
การรับประทานมังสวิรัติมีหลายแบบว่าจะจากัดอาหารประเภทใด ถ้าวางแผนดีก็จะไม่ขาดสารอาหาร
แต่ถ้าจากัดประเภทอาหารในการเลือกรับประทานมากไป อาจทาให้ขาดพลังงานและสารอาหาร
บางอย่างได้ กลุ่มที่รับประทานผักเป็นส่วนใหญ่พบว่ามีโฟเลต เส้นใยอาหาร สารแอนติออกซิเดนซ์ แค
โรทีนอยด์และสารโฟโตเคมีมากกว่ากลุ่มที่ไม่รับประทานแบบมังสวิรัติแต่ปริมาณวิตามินบี 12 วิตามินดี
แคลเซียมและไอโอดีน อาจพบน้อยไป.
อาหารมังสวิรัติแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ตามแต่ความสะดวกและความประสงค์ของผู้บริโภคจะเลือก
รับประทาน เช่น
• มังสวิรัติบริสุทธิ์ (Pure Vegetarian หรือ Vegan) เน้นรับประทานอาหารจาพวกพืช ผัก ผลไม้เพียงอย่างเดียว
โดยงดเว้นการรับประทานเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากสัตว์ทุกชนิด
• มังสวิรัตินม (Lacto Vegetarian) เน้นรับประทานอาหารจาพวกผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว ธัญพืชต่าง ๆ รวมทั้ง
นม ชีส และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ทาจากนม
• มังสวิรัติไข่ (Ovo Vegetarian) เน้นรับประทานอาหารจาพวกผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว ธัญพืชต่าง ๆ และไข่
• มังสวิรัตินมและไข่ (Lacto-ovo Vegetarian) เน้นรับประทานอาหารจาพวกผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว ธัญพืช
ต่าง ๆ รวมทั้งนม ชีส ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากนม และไข่ต่าง ๆ
• มังสวิรัติปลา (Pescatarian หรือ Pesco-vegetarian) เน้นรับประทานอาหารจาพวกผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว
ธัญพืชต่าง ๆ รวมทั้งเนื้อปลา และอาหารทะเล
• กึ่งมังสวิรัติ (Semi-vegetarians) เน้นรับประทานอาหารจาพวกผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว ธัญพืชต่าง ๆ โดยไม่
รับประทานเนื้อสัตว์สีแดงหรือสัตว์ใหญ่ต่าง ๆ แต่รับประทานเนื้อปลาและเนื้อไก่ รวมทั้งนม ชีส ผลิตภัณฑ์ที่ทาจาก
นม และไข่ต่าง ๆ
- พลังงาน
วัยรุ่นชาย 1,700 –2,300 กิโลแคลอรี
วัยรุ่นหญิง 1,600 –1,850 กิโลแคลอรี
- คาร์โบไฮเดรต
ให้พลังงานควรได้รับ 55 –60 % ของพลังงานทั้งหมด ได้แก่ ข้าว แป้ง เผือก มัน ข้าวโพด ธัญพืช แนะนาข้าวไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง
- โปรตีน
เสริมสร้างกล้ามเนื้อ สร้างภูมิคุ้มกันและฮอร์โมนควรได้รับ 10–15 % ของพลังงานทั้งหมด ได้แก่ เนื้อสัตว์ต่าง ๆ แนะนาเนื้อสัตว์
ไขมันต่า เช่น ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมันและหนัง นม ถัวเมล็ดแห้ง ผลิตภัณฑ์ จากถัวต่าง ๆ เช่น เต้าหู้โปรตีนเกษตร
- ไขมัน
ให้พลังงานและความอบอุ่น รวมถึงกรดไขมันที่จาเป็นต่อระบบประสาท และช่วยในการ ละลายและดูดซึมวิตามินทีละลายได้ในไขมัน ควร
ได้รับ 30% ของพลังงานทั้งหมด ได้แก่ ไขมันจากพืชและ จากสัตว์ น้ามันปลา เนย งา เน้นไขมันจากพืช
ความต้องการอาหารของวัยรุ่น
ความต้องการอาหารของวัยรุ่น
- วิตามิน
สาคัญต่อปฏิกิริยาสการสลายอาหารให้ได้พลังงานมีมากในธัญพืช ผักและผลไม้ นอกจากนี้ ผัก และผลไม้ยังช่วย
ลดการดูดซึมน้าตาลและโคเลสเตอรอล ช่วยเสริมสร้างระบบขับถ่าย
- แร่ธาตุ
เป็นองค์ประกอบของเซลล์และกล้ามเนื้อ แร่ธาตุทีสาคัญกับวัยรุ่น คือ แคลเซียม ช่วยสร้าง กระดูก แหล่งแคลเซียม
ได้แก่ นม ผลิตภัณฑ์จากนม ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งเล็ก กะปิ ปลากระป๋อง และผักใบ เขียว ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบ
ของกระดูก แหล่งอาหาร ได้แก่ ถัว ไข่ ปลา เนื้อสัตว์เป็ด ไก่ นม และเนย แข็ง เหล็ก เป็นองค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง
ผู้หญิงมีความต้องการมากกว่าผู้ชาย เนืองจากเสียไปกับ ประจาเดือน แหล่งอาหาร ได้แก่ เครื่องในสัตว์ ตับ เลือด และ
เนื้อสัตว์ทีมีสีแดง
- น้า
เป็นส่วนประกอบของเซลล์ น้าย่อย ฮอร์โมนน้าป็นตัวละลาย ช่วยรักษาความสมดุลและ อุณหภูมิของร่างกาย โดย
ปกติร่างกายต้องการน้าวันละประมาณ 8-10 แก้ว
1. อยากให้กินอาหารครบ หมู่ หลากหลายไม่ซ้าซาก และดูแลน้าหนักตัวอย่างเสมอ
2. อยากให้กินข้าวเป็นหลัก สลับกับแป้งบ้างเน้นกินข้าวกล้องข้าวโพด ลูกเดือย หรืออาหารไม่ขัดขาว
3. อยากให้กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้ตามธรรมชาติ เน้นกินพืชผัก สี เพื่อให้ได้รับใยอาหารและ
สารไฟโตเอสโทรเจนอย่างเพียงพอ
4. อยากให้กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถัว เมล็ดแห้ง เน้นกินปลา ไข่ และเนื้อแดง
5. อยากให้ดื่มนมทีเหมาะสมกับวัย เน้นการดื่มนมรสธรรมชาติ (รสจืด) และนมขาดมันเนยสาหรับวัน
รุ่นทีต้องการควบคุมน้าหนัก
วัยรุ่นกับโภชนาการบัญญัติ ประการ “4 อย่า 5 อยาก”
ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่นมีได้หลายรูปแบบทั้งทาให้การเจริญเติบโตล่าช้า เจ็บป่วยบ่อย
ความสามารถในการเรียนรู้ ผลการเรียน สมรรถภาพในการทากิจกรรมและการเล่นกีฬาด้อย
หรือถดถอยลง ในขณะเดียวกันปัญหาด้านโภชนาการเกินก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ
6. อย่ากินอาการทีมีไขมันสูง เน้นวิธีการประกอบอาหารแบบไม่ใช้น้ามันและใช้น้ามัน
น้อย ต้ม นึ่ง ลวก อบและลดการกินอาหารขนมอบทีมีไขมันทรานส์ประกอบ เช่น
โดนัท คุกกี้ เป็นต้น
7. อย่ากินอาหารรสจัด เน้นกินอาหารรสจืดและชิมก่อนเติม ลดเครื่องดื่มรสหวาน
8. อย่ากินอาหารทีปนเปื้อน เน้นกินอาหารสุกใหม่ ๆ เลือกร้านค้าทีได้มาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหาร
9. อย่าดื่มน้าทีมีแอลกอฮอล์ เน้นดื่มน้าเปล่า วันละ 6-8 แก้ว
วัยรุ่นกับโภชนาการบัญญัติ ประการ “4 อย่า 5 อยาก”
ควรส่งเสริมให้รับประทานอาหารอย่างน้อย 3 มื้อให้ครบ 5 หมู่ และมีความหลากหลายในปริมาณที่เพียงพอกับ
ความต้องการของร่างกาย
รับประทานอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เช่น นม ผักและผลไม้ เพื่อเพิ่มเส้นใย ให้วิตามิน แร่ธาตุ อีกทั้ง
สารอาหารอื่นๆ ตามที่ร่างกายต้องการ เลือกรับประทานอาหารที่มีปริมาณไขมันและมีโคเลสเตอรอลต่า อาหารที่วัยรุ่น
ควรหลีกเลี่ยง คือ พวกที่มีปริมาณน้าตาลสูงและเกลือโซเดียมสูงถ้ารับประทานเป็นประจาจะส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะ
ยาวได้. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีสารกาเฟอีน เช่น กาแฟ ชาและน้าอัดลม ขนมขบเคี้ยวต่างๆ ซึ่งให้แต่พลังงานแต่
ขาดสารอาหารได้.
วัยรุ่นปัจจุบันนิยมอาหารประเภทฟาสต์ฟูด ซึ่งเป็นอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กวัย
เรียนและวัยรุ่นมีการเปลี่ยนมารับประทานอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียมและธาตุเหล็กที่ดี นอกจากจะส่งเสริมการเจริญเติบโต
และสุขภาพที่ดีให้แก่วัยรุ่นในปัจจุบันแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้วัยรุ่นมีสุขภาพที่ดีในระยะยาวและช่วยป้องกันการเกิดโรค
เรื้อรังต่างๆ ในวัยผู้ใหญ่ต่อไป เช่น ภาวะไขมันสูงในเลือด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรค
กระดูกพรุน เป็นต้น.
คลิปตัวอย่าง การ์ตูนให้ความรู้ เรื่อง ฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=uPzQMjH0Ywk
วิธีการดาเนินงาน
ปรึกษาเลือกหัวข้อและนาเสนอหัวข้อ
กับครูผู้สอน
ศึกษารวบรวมข้อมูล
จัดทารายงาน
นาเสนอครูผู้สอน
ปรับปรุง แก้ไขและนาไปปฏิบัติและเผยแพร่
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์มือถือ
-สมุด
-ดินสอ
-ปากกา
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ศิรินภำ
ปรมพร
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
ศิรินภำ
ปรมพร
3 จัดทาโครงร่าง
งาน
ศิรินภำ
ปรมพร
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ศิรินภำ
ปรมพร
5 ปรับปรุงทดสอบ ศิรินภำ
ปรมพร
6 การทา
เอกสารรายงาน
ศิรินภำ
ปรมพร
7 ประเมินผลงาน ศิรินภำ
ปรมพร
8 นำเสนอโครงงำน ศิรินภำ
ปรมพร
วิธีการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทราบถึงความหมายของโภชนาการมากขึ้น
2.ทราบถึงประโยชน์ของโภชนาการต่างๆที่ได้รับประทานไป
3.ทราบถึงการบริโภคอาหารที่มากและน้อยเกินไปจะส่งผลต่อสุขภารและ
ร่างกายอย่างไร
4.ทราบถึงโภชนาการที่ควรได้รับในแต่ละเพศและแต่ละบุคคลตามสภาพร่างกาย
5.นาความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ได้มาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
6.นาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเผยแพร่สู่ผู้อื่นได้
โภชนาการในวัยรุ่น (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.doctor.or.th/clinic/detail/7378
(วันที่ค้นข้อมูล : 29 กันยายน 2562)
โภชนาการสาหรับวัยรุ่น (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/1287_1.pdf
(วันที่ค้นข้อมูล : 29 กันยายน 2562)
แหล่งอ้างอิง
นางสาวศิรินภา ปิ่นพรหม
เลขที่ 33 ม.6/6
นางสาวปรมพร แดงสากล
เลขที่ 47 ม.6/6
ผู้จัดทา
Thanks! -

More Related Content

Similar to Duo project computer

อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคJimmy Pongpisut Santumpol
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนPraexp
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนPanwad PM
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxtangsaykangway
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนmonthirs ratt
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...Prachoom Rangkasikorn
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...Prachoom Rangkasikorn
 
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพchuraratsutthasin
 
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุกชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุกTeacherKorkaewJa
 
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาว
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาวโครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาว
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาวKrittanut Thumsatsarn
 

Similar to Duo project computer (20)

อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุกชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
 
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาว
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาวโครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาว
โครงงานกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ม.1/8 กลุ่ม กระเพราไก่ไข่ดาว
 

Duo project computer