SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน มะเร็ง (Cancer)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายดนุนัย อินทจักร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
มะเร็ง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Cancer
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดนุนัย อินทจักร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
มะเร็ง คือ โรคที่เกิดจากการที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตหรือการตายตามธรรมชาติของ
เซลล์ปรกติได้ (มีความผิดปรกติของพันธุกรรม ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการแบ่งตัวและ/หรือการตายของเซลล์ปรกติ)
ทาให้เซลล์เกิดการกลายพันธุ์ เจริญเติบโตอย่างผิดปรกติ ร่างกายควบคุมไม่ได้ เกิดเป็นก้อนเนื้อ แผลลุกลาม และ
แพร่กระจายไปทั่วร่างกายและเข้าทาลายอวัยวะต่างๆ ดังนั้น ก้อน/แผลมะเร็ง คือก้อนเนื้อ/แผล ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว
ไม่สามารถหายได้ด้วยการรักษาตามปรกติ ก้อน/แผลจะโตขึ้นเรื่อยๆ โตเร็ว ลุกลามทาลายเนื้อเยื่อ/อวัยวะต้น
กาเนิดและเนื้อเยื่อ/อวัยวะข้างเคียง ลุกลามเข้าต่อมน้าเหลืองใกล้เคียง ในที่สุดก็แพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด
กระแสน้าเหลือง แพร่กระจายไปทุกๆอวัยวะ และทุกๆต่อมน้าเหลือง ทาลายอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ทาให้เกิด
การล้มเหลวของอวัยวะนั้นๆ อวัยวะมักเกิดอาการและตรวจพบได้บ่อยคือ ปอด ตับ กระดูก ไขกระดูก สมอง และ
ต่อมน้าเหลือง ด้วยเหตุนี้โรคมะเร็งจึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต จากการล้มเหลวในการทางานของอวัยวะสาคัญ
ต่างๆ ได้แก่ ไขกระดูก ปอด ตับ ไต และสมอง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็ง
2.เพื่อเป็นแนวทางในการแนะนาผู้อื่นให้ลงความเสี่ยงมะเร็ง
3.เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองและคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็ง
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายดนุนัย อินทจักร
ขอบเขตโครงงาน
1. มะเร็ง (Cancer) คืออะไร
2. ประเภทของมะเร็ง
3. ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดมะเร็ง
4. อาการแสดงของโรคมะเร็ง
5. วิธีลดความเสี่ยงมะเร็ง
หลักการและทฤษฎี
มะเร็ง (Cancer) คืออะไร ?
มะเร็ง คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยมีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติ
เกิดเป็นก้อนเนื้อที่มีการลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียง หรือกระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ ผ่านทาง
ระบบเลือด หรือระบบทางเดินน้าเหลือง โรคมะเร็งมีหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่เป็นจุดกาเนิดของ
โรค และชนิดของเซลล์มะเร็ง
ประเภทของมะเร็ง
Carcinoma มะเร็งคาซิโนมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากผิวหนัง หรือ เนื้อเยื่อบุอวัยวะ
Sarcoma มะเร็งซาโคมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากกระดูก กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเนื้อ หรือเส้นเลือด
Leukemia มะเร็งลิวคีเมีย คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก ทาให้มีความ
ผิดปกติของเม็ดเลือด
Lymphoma and myeloma มะเร็งลิมโฟมา และ ไมอีโลมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ของ
ระบบภูมิคุ้มกัน
Central nervous system cancers มะเร็งระบบสมอง และไขสันหลัง
ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดมะเร็ง
โดยทั่วไปแพทย์ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่ามะเร็งในแต่ละบุคคลเกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงสาเหตุ
เดียว อย่างไรก็ตามข้อมูลในปัจจุบันพบว่ามีปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้โอกาสในการเกิดมะเร็งเพิ่มมากขึ้น
 อายุ อายุที่เพิ่มขึ้นมีโอกาสเกิดมะเร็งได้มากขึ้น
 บุหรี่ มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งหลายชนิด เช่น มะเร็งปอด, มะเร็งกล่องเสียง, มะเร็งช่องปาก
และลาคอ, มะเร็งหลอดอาหาร, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งไต, มะเร็งกระเพาะอาหาร, มะเร็ง
ตับอ่อน และมะเร็งปากมดลูก
 แสงแดด หรือแสงอัลตร้าไวโอเลต (UV) สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งผิวหนัง
 รังสีในธรรมชาติ หรือเอกซเรย์ รังสีนิวเคลียร์ แก๊ซเรดอน หากได้รับปริมาณสูงเกินกาหนด สัมพันธ์
กับการเกิดมะเร็งลิวคีเมีย มะเร็งไทรอยด์ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร
 สารเคมี เช่น asbestos, benzene, benzidine, cadmium, nickel หรือ vinyl chloride
 เชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่น เอชพีวี ไวรัส, ไวรัสตับอักเสบบี ซี, ไวรัสเอชไอวี เป็นต้น
 การได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจน สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งเต้านม
 ประวัติครอบครัวเป็นมะเร็ง มะเร็งบางชนิดสัมพันธ์กับความผิดปกติของสารพันธุกรรม ที่เรียกว่า
“ยีน” อย่างไรก็ดีมะเร็งที่ถ่ายทอดในครอบครัวพบได้เป็นสัดส่วนน้อย
 แอลกอฮอล์ สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งช่องปากและลาคอ มะเร็งทางเดินอาหาร มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งตับ และมะเร็งเต้านม
วิถีการดาเนินชีวิตบางอย่าง เช่นการกินอาหารไขมันสูง สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งลาไส้ มะเร็งโพรงมดลูก
และมะเร็งต่อมลูกหมาก ความอ้วนหรือออกกาลังกายน้อย สัมพันธ์กับมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ใหญ่ มะเร็ง
หลอดอาหาร มะเร็งไต และ มะเร็งโพรงมดลูก
อย่างไรก็ตาม การมีปัจจัยเสี่ยงไม่ได้จาเป็นต้องเป็นมะเร็ง ในขณะเดียวกันผู้ไม่มีปัจจัยเสี่ยงก็สามารถเกิด
มะเร็งได้เช่นเดียวกัน, มะเร็งไม่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บ, มะเร็งไม่สามารถติดต่อกันเหมือน
การติดเชื้อโรค
อาการแสดงของโรคมะเร็ง
อาการที่ควรให้ความสนใจในการค้นหาสาเหตุ เนื่องจากอาจเป็นอาการแสดงของโรคมะเร็ง ได้แก่
 ตรวจพบการหนาตัวหรือก้อนที่ผิวหนัง เต้านม หรือส่วนใดๆ ของร่างกาย
 ไฝเกิดขึ้นใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงของไฝเดิม เช่น ขยายขนาดโตขึ้น คัน แตกเป็นแผล เลือดออก
 เจ็บปวดที่บริเวณต่างๆ ของร่างกายเรื้อรัง
 เสียงแหบหรือไอเรื้อรัง
 มีความเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะปนเลือด
ถ่ายอุจจาระลาเล็กลง อุจจาระลาบาก อุจจาระปนเลือด ปวดหน่วงทวารหนักเวลาขับถ่าย
 มีความเปลี่ยนแปลงในการรับประทานอาหาร เช่น กลืนติด กลืนลาบาก กลืนเจ็บ อิ่มเร็ว คลื่นไส้
อาเจียน
 การเปลี่ยนแปลงของน้าหนัก เช่น น้าหนักลดมากโดยไม่มีสาเหตุอันควร
 มีสารคัดหลั่งออกผิดปกติหรือเลือดออก เช่น ตกขาวผิดปกติ ตกขาวปนเลือด เลือดออกทางช่อง
คลอดผิดปกติภายหลังการมีเพศสัมพันธ์
 อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวข้างต้นอาจไม่ได้มีสาเหตุมาจากมะเร็งเสมอไป ดังนั้นหากท่านมีอาการ
ผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยให้แน่ชัด โดยทั่วไปมะเร็งในระยะเริ่มแรกมัก
ไม่แสดงอาการเจ็บปวดอย่างเด่นชัด หากท่านมีอาการข้างต้นจึงไม่ควรเพิกเฉย ควรพบแพทย์แต่
เนิ่นๆ
วิธีลดความเสี่ยงมะเร็ง
เลิกบุหรี่
ในแต่ละปี มะเร็งปอดคร่าชีวิตผู้คนไปมากที่สุดในบรรดามะเร็งชนิดต่าง ๆ ทั้งหมด ดังนั้นหากคุณติดบุหรี่
การเลิกสูบเสียแต่วันนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมครั้งสาคัญ ที่สุดที่จะลดความเสี่ยงจากมะเร็งปอด
และโรคอื่น ๆ ที่มีสาเหตุมาจากบุหรี่ เลิกบุหรี่อาจไม่ใช่เรื่องง่าย แต่คุณสามารถขอคาปรึกษาถึงวิธีการเลิก
แบบต่างๆ จากแพทย์ได้ ทั้งการรักษาด้วยยาหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งวิธีการเหล่านี้ จะช่วยทาให้
คุณเลิกบุหรี่ได้อย่างถาวร
ทานอาหารที่มีประโยชน์
หลายคนคงยังจาได้ดีเวลา ถูกพ่อแม่บังคับให้กินผักและก็คง ไม่ได้คิดว่า พวกท่านจะทราบอะไรดี ๆ ที่พวก
เราไม่รู้ แต่การถูกบังคับให้กินผักนี้ กลับเป็นประโยชน์ล้นเหลือ ต่อตัวเราเอง เพราะผักจาพวก บร็อคโคลี่
กะหล่าดอก กะหล่าปลี และกะหล่าดาวที่น้อยคนจะโปรดปรานนั้น กลับอุดม ไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่
จาเป็นในการต่อสู้กับมะเร็ง รวมทั้งเป็นส่วน ประกอบสาคัญในตารับอาหารต้านมะเร็ง นอกจากนี้ ผลเบอร์รี่
ถั่วแดง และชาเขียวก็ได้ชื่อว่าอุดมไปด้วยสาร ต้านอนุมูลอิสระ เช่นเดียวกับ ไวน์แดง ช็อกโกแลต และถั่วพี
แกน ซึ่งสาร ต้านอนุมูลอิสระเหล่านี้ช่วย ร่างกายต่อต้านปฏิกิริยาเคมีที่ส่งผลร้ายต่อเซลล์ปกติ ซึ่งใน
ท้ายที่สุดอาจ กลายเป็นเซลล์มะเร็ง อย่างไรก็ตาม ควรเลือกรับประทานแต่พอประมาณ
ออกกาลังกายให้มากขึ้น
การออกกาลังกายนานครั้งละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งหลายชนิด อาทิ
มะเร็งปอด มะเร็ง เต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งลาไส้ การออกกาลังกาย ในที่นี้ไม่จาเป็น ต้อง
เป็นการออกกาลังกายอย่างหนักหน่วงแบบนักกีฬาการเล่นโยคะ เดินหรือเต้นแอโรบิก ก็ถือเป็นการ ออก
กาลังกายที่ช่วยต่อสู้กับ มะเร็งได้ดีที่สุดเช่นกัน นอกจากนี้การออกกาลังกายยังช่วยไม่ให้คุณเป็น โรคอ้วน
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งหลายชนิด
ตรวจและหาให้เจอแต่เนิ่นๆ
มีหลักฐานยืนยันมากมายจนไม่อาจปฏิเสธว่า ยิ่งตรวจพบมะเร็งเร็วขึ้นเท่าไร โอกาสที่จะ รักษาจนหายก็มี
มากขึ้นเท่านั้น และ การตรวจเจอแต่เนิ่นๆ ก็ยังช่วยให้ การรักษาฟื้นฟู ทาได้เร็วขึ้นโดย มีผลข้างเคียง
น้อยลง ดังนั้น เพื่อเพิ่มโอกาสในการเอาชนะมะเร็งควร ตรวจร่างกายอย่าง สม่าเสมอและขอคาแนะนา
จากแพทย์เรื่องการตรวจ คัดกรองมะเร็ง ที่เหมาะกับวัยของคุณ (เช่น ผู้หญิงในวัย 40 ปีขึ้นไปควร
ทาแมมโมแกรมเพื่อตรวจหามะเร็งเต้านม) แม้มะเร็งอาจไม่แสดงอาการใน ระยะเริ่มแรก แต่การตรวจคัด
กรองที่ เหมาะสมช่วยให้สามารถพบมะเร็งได้เกือบทุกชนิด
ดื่มแต่พอดี
การดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินไปเป็นผลร้ายต่อตับมากเป็นพิเศษ การดื่มแอลกอฮอล์ (โดย เฉพาะหากคู่มา
กับการสูบบุหรี่)เป็นสาเหตุ หลักในการเกิดมะเร็งช่องปากและลาคอ อีก ทั้งมีส่วนเกี่ยวพันกับมะเร็งชนิด
อื่นๆ ด้วย แม้แพทย์จะแนะนาให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค หัวใจดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่พอเหมาะ แต่
หากคุณสามารถจากัดการดื่มลงให้เหลือ แค่ 2 แก้วต่อวันจะเป็นการดีที่สุด
มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยไม่เพียงช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เท่านั้น แต่ยังเป็นกุญแจสาคัญ ในการ
ลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยและผู้หญิงทั่ว
โลก เชื่อกันว่ ประมาณร้อยละ 70 ของมะเร็งปากมดลูกมีสาเหตุมาจาก Human Papillomavirus (HPV)
ที่สาคัญ เชื้อ HPV นี้ยังเพิ่มความเสี่ยงในการเป็น มะเร็งที่ทวารหนักและอวัยวะเพศอีกด้วย แต่ปัจจุบันมี
การพัฒนา วัคซีนชนิดใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อ HPV และได้รับการ รับรองให้ใช้ได้
หลีกเลี่ยงแสงแดด
รังสีอัลตร้าไวโอเล็ต (ยูวี) ในแสงแดดเป็นสาเหตุหลักของ มะเร็งผิวหนัง ซึ่งส่วนมากแล้วสามารถป้องกันได้
ง่ายๆ 2 วิธี คือ ใช้ครีมกันแดดที่มีค่า SPF ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่กลางแจ้งและพยายามหลีกเลี่ยงการ
เผชิญแสง แดดโดยตรงในช่วง เวลา 10.00 - 16.00 น. ซึ่งเป็นช่วงที่รังสียูวีมีความเข้ม สูงสุด
นอนหลับให้สนิท
ผลการศึกษาพบว่าสารเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมน ที่สมองผลิตใน ระหว่าง การนอนหลับมีคุณสมบัติในการ
ต่อสู้กับมะเร็ง แต่เมลาโทนินจะช่วยป้องกัน มะเร็งได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ต่อเมื่อการนอนนั้นเป็นการ
นอนหลับอย่าง สนิทต่อเนื่องในห้องมืดเท่านั้น
สืบสาวเรื่องราวครอบครัว
มะเร็งหลายชนิดมักเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม หรือพูดง่ายๆ ก็คือ โรคมะเร็ง สามารถสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้
ดังนั้น การได้ทราบว่าคนในครอบครัวของคุณ มีประวัติเจ็บป่วยด้วยมะเร็ง ชนิดใดถือเป็นก้าวแรกที่สาคัญ
ในการป้องกันมะเร็ง โดยการพยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง และควรแจ้งประวัติการเจ็บป่วย ของคนใน
ครอบครัวให้แพทย์ทราบ เพื่อ แพทย์จะสามารถให้คาแนะนา และดูแลคุณได้อย่างเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการเผชิญกับสารเคมีอันตราย
สารจาพวก ยาฆ่าแมลง น้ายาทาความสะอาด น้ามันเบนซินนั้นเต็มไปด้วย สารเคมีอันตรายที่เกี่ยวโยงกับ
การเกิดมะเร็ง แม้การควบคุมสิ่งแวดล้อม รอบตัวจะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่การจากัดหรือหลีกเลี่ยงการใช้สาร
เคมีเหล่านี้ ในบ้านหรือที่ทางาน ย่อมเป็นการลดโอกาสในการ สัมผัสกับสารก่อมะเร็ง นอกจากนี้ ควร
หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารกันไฟ หรือ PBDE ซึ่งมักจะใช้ กับผ้าเฟอร์นิเจอร์และสินค้า อิเล็กโทรนิกต่างๆ
ด้วยเช่นกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา

More Related Content

Similar to Cancer

computer 2
computer 2 computer 2
computer 2 MEMImi
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpaLomipNekcihc
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10ssuser692fda
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพCheeses 'Zee
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมParida Rakraj
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39ssuser5d7fc5
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)KUMBELL
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวPhimwaree
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectnnichasom
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 

Similar to Cancer (20)

computer 2
computer 2 computer 2
computer 2
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
At22
At22At22
At22
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิว
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Finalpro
FinalproFinalpro
Finalpro
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 

Cancer

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน มะเร็ง (Cancer) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดนุนัย อินทจักร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) มะเร็ง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Cancer ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดนุนัย อินทจักร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน มะเร็ง คือ โรคที่เกิดจากการที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตหรือการตายตามธรรมชาติของ เซลล์ปรกติได้ (มีความผิดปรกติของพันธุกรรม ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการแบ่งตัวและ/หรือการตายของเซลล์ปรกติ) ทาให้เซลล์เกิดการกลายพันธุ์ เจริญเติบโตอย่างผิดปรกติ ร่างกายควบคุมไม่ได้ เกิดเป็นก้อนเนื้อ แผลลุกลาม และ แพร่กระจายไปทั่วร่างกายและเข้าทาลายอวัยวะต่างๆ ดังนั้น ก้อน/แผลมะเร็ง คือก้อนเนื้อ/แผล ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ไม่สามารถหายได้ด้วยการรักษาตามปรกติ ก้อน/แผลจะโตขึ้นเรื่อยๆ โตเร็ว ลุกลามทาลายเนื้อเยื่อ/อวัยวะต้น กาเนิดและเนื้อเยื่อ/อวัยวะข้างเคียง ลุกลามเข้าต่อมน้าเหลืองใกล้เคียง ในที่สุดก็แพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด กระแสน้าเหลือง แพร่กระจายไปทุกๆอวัยวะ และทุกๆต่อมน้าเหลือง ทาลายอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ทาให้เกิด การล้มเหลวของอวัยวะนั้นๆ อวัยวะมักเกิดอาการและตรวจพบได้บ่อยคือ ปอด ตับ กระดูก ไขกระดูก สมอง และ ต่อมน้าเหลือง ด้วยเหตุนี้โรคมะเร็งจึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต จากการล้มเหลวในการทางานของอวัยวะสาคัญ ต่างๆ ได้แก่ ไขกระดูก ปอด ตับ ไต และสมอง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็ง 2.เพื่อเป็นแนวทางในการแนะนาผู้อื่นให้ลงความเสี่ยงมะเร็ง 3.เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองและคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็ง สมาชิกในกลุ่ม 1. นายดนุนัย อินทจักร
  • 3. ขอบเขตโครงงาน 1. มะเร็ง (Cancer) คืออะไร 2. ประเภทของมะเร็ง 3. ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดมะเร็ง 4. อาการแสดงของโรคมะเร็ง 5. วิธีลดความเสี่ยงมะเร็ง หลักการและทฤษฎี มะเร็ง (Cancer) คืออะไร ? มะเร็ง คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยมีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติ เกิดเป็นก้อนเนื้อที่มีการลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียง หรือกระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ ผ่านทาง ระบบเลือด หรือระบบทางเดินน้าเหลือง โรคมะเร็งมีหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่เป็นจุดกาเนิดของ โรค และชนิดของเซลล์มะเร็ง ประเภทของมะเร็ง Carcinoma มะเร็งคาซิโนมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากผิวหนัง หรือ เนื้อเยื่อบุอวัยวะ Sarcoma มะเร็งซาโคมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากกระดูก กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเนื้อ หรือเส้นเลือด Leukemia มะเร็งลิวคีเมีย คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก ทาให้มีความ ผิดปกติของเม็ดเลือด Lymphoma and myeloma มะเร็งลิมโฟมา และ ไมอีโลมา คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ของ ระบบภูมิคุ้มกัน Central nervous system cancers มะเร็งระบบสมอง และไขสันหลัง ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดมะเร็ง โดยทั่วไปแพทย์ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่ามะเร็งในแต่ละบุคคลเกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงสาเหตุ เดียว อย่างไรก็ตามข้อมูลในปัจจุบันพบว่ามีปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้โอกาสในการเกิดมะเร็งเพิ่มมากขึ้น  อายุ อายุที่เพิ่มขึ้นมีโอกาสเกิดมะเร็งได้มากขึ้น  บุหรี่ มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งหลายชนิด เช่น มะเร็งปอด, มะเร็งกล่องเสียง, มะเร็งช่องปาก และลาคอ, มะเร็งหลอดอาหาร, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งไต, มะเร็งกระเพาะอาหาร, มะเร็ง ตับอ่อน และมะเร็งปากมดลูก
  • 4.  แสงแดด หรือแสงอัลตร้าไวโอเลต (UV) สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งผิวหนัง  รังสีในธรรมชาติ หรือเอกซเรย์ รังสีนิวเคลียร์ แก๊ซเรดอน หากได้รับปริมาณสูงเกินกาหนด สัมพันธ์ กับการเกิดมะเร็งลิวคีเมีย มะเร็งไทรอยด์ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร  สารเคมี เช่น asbestos, benzene, benzidine, cadmium, nickel หรือ vinyl chloride  เชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่น เอชพีวี ไวรัส, ไวรัสตับอักเสบบี ซี, ไวรัสเอชไอวี เป็นต้น  การได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจน สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งเต้านม  ประวัติครอบครัวเป็นมะเร็ง มะเร็งบางชนิดสัมพันธ์กับความผิดปกติของสารพันธุกรรม ที่เรียกว่า “ยีน” อย่างไรก็ดีมะเร็งที่ถ่ายทอดในครอบครัวพบได้เป็นสัดส่วนน้อย  แอลกอฮอล์ สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งช่องปากและลาคอ มะเร็งทางเดินอาหาร มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งตับ และมะเร็งเต้านม วิถีการดาเนินชีวิตบางอย่าง เช่นการกินอาหารไขมันสูง สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งลาไส้ มะเร็งโพรงมดลูก และมะเร็งต่อมลูกหมาก ความอ้วนหรือออกกาลังกายน้อย สัมพันธ์กับมะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ใหญ่ มะเร็ง หลอดอาหาร มะเร็งไต และ มะเร็งโพรงมดลูก อย่างไรก็ตาม การมีปัจจัยเสี่ยงไม่ได้จาเป็นต้องเป็นมะเร็ง ในขณะเดียวกันผู้ไม่มีปัจจัยเสี่ยงก็สามารถเกิด มะเร็งได้เช่นเดียวกัน, มะเร็งไม่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บ, มะเร็งไม่สามารถติดต่อกันเหมือน การติดเชื้อโรค อาการแสดงของโรคมะเร็ง อาการที่ควรให้ความสนใจในการค้นหาสาเหตุ เนื่องจากอาจเป็นอาการแสดงของโรคมะเร็ง ได้แก่  ตรวจพบการหนาตัวหรือก้อนที่ผิวหนัง เต้านม หรือส่วนใดๆ ของร่างกาย  ไฝเกิดขึ้นใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงของไฝเดิม เช่น ขยายขนาดโตขึ้น คัน แตกเป็นแผล เลือดออก
  • 5.  เจ็บปวดที่บริเวณต่างๆ ของร่างกายเรื้อรัง  เสียงแหบหรือไอเรื้อรัง  มีความเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะปนเลือด ถ่ายอุจจาระลาเล็กลง อุจจาระลาบาก อุจจาระปนเลือด ปวดหน่วงทวารหนักเวลาขับถ่าย  มีความเปลี่ยนแปลงในการรับประทานอาหาร เช่น กลืนติด กลืนลาบาก กลืนเจ็บ อิ่มเร็ว คลื่นไส้ อาเจียน  การเปลี่ยนแปลงของน้าหนัก เช่น น้าหนักลดมากโดยไม่มีสาเหตุอันควร  มีสารคัดหลั่งออกผิดปกติหรือเลือดออก เช่น ตกขาวผิดปกติ ตกขาวปนเลือด เลือดออกทางช่อง คลอดผิดปกติภายหลังการมีเพศสัมพันธ์  อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวข้างต้นอาจไม่ได้มีสาเหตุมาจากมะเร็งเสมอไป ดังนั้นหากท่านมีอาการ ผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยให้แน่ชัด โดยทั่วไปมะเร็งในระยะเริ่มแรกมัก ไม่แสดงอาการเจ็บปวดอย่างเด่นชัด หากท่านมีอาการข้างต้นจึงไม่ควรเพิกเฉย ควรพบแพทย์แต่ เนิ่นๆ วิธีลดความเสี่ยงมะเร็ง เลิกบุหรี่ ในแต่ละปี มะเร็งปอดคร่าชีวิตผู้คนไปมากที่สุดในบรรดามะเร็งชนิดต่าง ๆ ทั้งหมด ดังนั้นหากคุณติดบุหรี่ การเลิกสูบเสียแต่วันนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมครั้งสาคัญ ที่สุดที่จะลดความเสี่ยงจากมะเร็งปอด และโรคอื่น ๆ ที่มีสาเหตุมาจากบุหรี่ เลิกบุหรี่อาจไม่ใช่เรื่องง่าย แต่คุณสามารถขอคาปรึกษาถึงวิธีการเลิก แบบต่างๆ จากแพทย์ได้ ทั้งการรักษาด้วยยาหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งวิธีการเหล่านี้ จะช่วยทาให้ คุณเลิกบุหรี่ได้อย่างถาวร ทานอาหารที่มีประโยชน์ หลายคนคงยังจาได้ดีเวลา ถูกพ่อแม่บังคับให้กินผักและก็คง ไม่ได้คิดว่า พวกท่านจะทราบอะไรดี ๆ ที่พวก เราไม่รู้ แต่การถูกบังคับให้กินผักนี้ กลับเป็นประโยชน์ล้นเหลือ ต่อตัวเราเอง เพราะผักจาพวก บร็อคโคลี่
  • 6. กะหล่าดอก กะหล่าปลี และกะหล่าดาวที่น้อยคนจะโปรดปรานนั้น กลับอุดม ไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่ จาเป็นในการต่อสู้กับมะเร็ง รวมทั้งเป็นส่วน ประกอบสาคัญในตารับอาหารต้านมะเร็ง นอกจากนี้ ผลเบอร์รี่ ถั่วแดง และชาเขียวก็ได้ชื่อว่าอุดมไปด้วยสาร ต้านอนุมูลอิสระ เช่นเดียวกับ ไวน์แดง ช็อกโกแลต และถั่วพี แกน ซึ่งสาร ต้านอนุมูลอิสระเหล่านี้ช่วย ร่างกายต่อต้านปฏิกิริยาเคมีที่ส่งผลร้ายต่อเซลล์ปกติ ซึ่งใน ท้ายที่สุดอาจ กลายเป็นเซลล์มะเร็ง อย่างไรก็ตาม ควรเลือกรับประทานแต่พอประมาณ ออกกาลังกายให้มากขึ้น การออกกาลังกายนานครั้งละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งหลายชนิด อาทิ มะเร็งปอด มะเร็ง เต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งลาไส้ การออกกาลังกาย ในที่นี้ไม่จาเป็น ต้อง เป็นการออกกาลังกายอย่างหนักหน่วงแบบนักกีฬาการเล่นโยคะ เดินหรือเต้นแอโรบิก ก็ถือเป็นการ ออก กาลังกายที่ช่วยต่อสู้กับ มะเร็งได้ดีที่สุดเช่นกัน นอกจากนี้การออกกาลังกายยังช่วยไม่ให้คุณเป็น โรคอ้วน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งหลายชนิด ตรวจและหาให้เจอแต่เนิ่นๆ มีหลักฐานยืนยันมากมายจนไม่อาจปฏิเสธว่า ยิ่งตรวจพบมะเร็งเร็วขึ้นเท่าไร โอกาสที่จะ รักษาจนหายก็มี มากขึ้นเท่านั้น และ การตรวจเจอแต่เนิ่นๆ ก็ยังช่วยให้ การรักษาฟื้นฟู ทาได้เร็วขึ้นโดย มีผลข้างเคียง น้อยลง ดังนั้น เพื่อเพิ่มโอกาสในการเอาชนะมะเร็งควร ตรวจร่างกายอย่าง สม่าเสมอและขอคาแนะนา จากแพทย์เรื่องการตรวจ คัดกรองมะเร็ง ที่เหมาะกับวัยของคุณ (เช่น ผู้หญิงในวัย 40 ปีขึ้นไปควร ทาแมมโมแกรมเพื่อตรวจหามะเร็งเต้านม) แม้มะเร็งอาจไม่แสดงอาการใน ระยะเริ่มแรก แต่การตรวจคัด กรองที่ เหมาะสมช่วยให้สามารถพบมะเร็งได้เกือบทุกชนิด ดื่มแต่พอดี การดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินไปเป็นผลร้ายต่อตับมากเป็นพิเศษ การดื่มแอลกอฮอล์ (โดย เฉพาะหากคู่มา กับการสูบบุหรี่)เป็นสาเหตุ หลักในการเกิดมะเร็งช่องปากและลาคอ อีก ทั้งมีส่วนเกี่ยวพันกับมะเร็งชนิด อื่นๆ ด้วย แม้แพทย์จะแนะนาให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค หัวใจดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่พอเหมาะ แต่ หากคุณสามารถจากัดการดื่มลงให้เหลือ แค่ 2 แก้วต่อวันจะเป็นการดีที่สุด มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยไม่เพียงช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เท่านั้น แต่ยังเป็นกุญแจสาคัญ ในการ ลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยและผู้หญิงทั่ว โลก เชื่อกันว่ ประมาณร้อยละ 70 ของมะเร็งปากมดลูกมีสาเหตุมาจาก Human Papillomavirus (HPV)
  • 7. ที่สาคัญ เชื้อ HPV นี้ยังเพิ่มความเสี่ยงในการเป็น มะเร็งที่ทวารหนักและอวัยวะเพศอีกด้วย แต่ปัจจุบันมี การพัฒนา วัคซีนชนิดใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อ HPV และได้รับการ รับรองให้ใช้ได้ หลีกเลี่ยงแสงแดด รังสีอัลตร้าไวโอเล็ต (ยูวี) ในแสงแดดเป็นสาเหตุหลักของ มะเร็งผิวหนัง ซึ่งส่วนมากแล้วสามารถป้องกันได้ ง่ายๆ 2 วิธี คือ ใช้ครีมกันแดดที่มีค่า SPF ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่กลางแจ้งและพยายามหลีกเลี่ยงการ เผชิญแสง แดดโดยตรงในช่วง เวลา 10.00 - 16.00 น. ซึ่งเป็นช่วงที่รังสียูวีมีความเข้ม สูงสุด นอนหลับให้สนิท ผลการศึกษาพบว่าสารเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมน ที่สมองผลิตใน ระหว่าง การนอนหลับมีคุณสมบัติในการ ต่อสู้กับมะเร็ง แต่เมลาโทนินจะช่วยป้องกัน มะเร็งได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ต่อเมื่อการนอนนั้นเป็นการ นอนหลับอย่าง สนิทต่อเนื่องในห้องมืดเท่านั้น สืบสาวเรื่องราวครอบครัว มะเร็งหลายชนิดมักเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม หรือพูดง่ายๆ ก็คือ โรคมะเร็ง สามารถสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้ ดังนั้น การได้ทราบว่าคนในครอบครัวของคุณ มีประวัติเจ็บป่วยด้วยมะเร็ง ชนิดใดถือเป็นก้าวแรกที่สาคัญ ในการป้องกันมะเร็ง โดยการพยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง และควรแจ้งประวัติการเจ็บป่วย ของคนใน ครอบครัวให้แพทย์ทราบ เพื่อ แพทย์จะสามารถให้คาแนะนา และดูแลคุณได้อย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงการเผชิญกับสารเคมีอันตราย สารจาพวก ยาฆ่าแมลง น้ายาทาความสะอาด น้ามันเบนซินนั้นเต็มไปด้วย สารเคมีอันตรายที่เกี่ยวโยงกับ การเกิดมะเร็ง แม้การควบคุมสิ่งแวดล้อม รอบตัวจะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่การจากัดหรือหลีกเลี่ยงการใช้สาร เคมีเหล่านี้ ในบ้านหรือที่ทางาน ย่อมเป็นการลดโอกาสในการ สัมผัสกับสารก่อมะเร็ง นอกจากนี้ ควร หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารกันไฟ หรือ PBDE ซึ่งมักจะใช้ กับผ้าเฟอร์นิเจอร์และสินค้า อิเล็กโทรนิกต่างๆ ด้วยเช่นกัน
  • 8. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา