SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ว 30284 ชื่อวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 4
ปีการศึกษา 2563
ชื่อโครงงาน เหยื่อเพศชายและการถูกประณาม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคพิษสุราเรื้อรัง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Alcoholism
ประเภทโครงงาน
โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
แต่ก่อนการดื่มสุราเป็นการดื่มเพื่อเข้าสังคมเพื่อพูดคุยหลังจากทางาน แตกต่างกับปัจจุบันที่เห็นว่าการดื่มเป็นเรื่องที่
ทาให้คนดื่มดูกล้าและเข้มแข็ง มองว่าคนที่ไม่ดื่มเป็นคนที่อ่อนแอ ไม่กล้า ในสังคมคนทางานการสังสรรค์เป็นเรื่องที่ทุก
คนทาเพื่อการทางานที่ราบรื่น นอกจากนี้ยังดื่มเพื่อคลายความเครียดลงด้วยผลที่ตามมาคือการขาดสติเกิดการใช้
ความรุนแรง เกิดอุบัติเห็น รวมถึงเสียสุขภาพในระยะยาว เมื่อดื่มมากเข้าส่งผลให้เกิดอาการเสพติด ทาให้เป็นโรคสุรา
เรื้อรังที่ยากจะรักษาในระยะสุดท้าย ในปัจจุบันวัยรุ่นนิยมกันดื่มสุรามากขึ้นเพื่อต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน
ผู้จัดทาต้องการศึกษาเกี่ยวกับโรคและวิธีรักษาอาการว่าสามารถเลิกได้จริงหรือไม่แล้วทาไมยังมีคนดื่ม หากสุราไม่มี
ข้อดีแล้วทาไมยังมีจาหน่ายอยู่ แสดงให้เห็นสุราไม่ใช่ปัญหาของโรคนี้ แต่ปัญหาคือตัวบุคคลที่ไม่สามารถคิดวิเคราะห์
เองได้ว่าควรบริโภคเท่าไหร่ และค่านิยมผิดๆในหมู่วัยรุ่นและกลุ่มคนทางานที่คิดว่าการเข้าสังคมต้องใช้สุราเข้าหากัน
เพื่อละลายพฤติกรรม
สุราไม่ปัญหาของโรคพิษสุราเรื้อรังผู้จัดทาเชื้อว่าการผู้บริโภคไม่รู้จักขีดจากัดของตนเองและไม่ได้มีคนให้
ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุราและผลที่ตามมาทาให้เกิดอาการเสพติดและเป็นโรคพิษสุราเรื้อรังตามมา ผู้จัดทาเชื้อว่า
มุกโรคย่อมมีวิธีรักษาแต่ขึ้นอยู่กับว่าเรารักษาถูกต้องหรือไม่เพื่อหาการรักษาและการป้องกันที่ถูกต้องผู้จัดทาจึงจัด
ทางานนี้ขึ้นมา
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคพิษสุราเรื้อรัง
2.เพื่อศึกษาวิธีรักษาอาการและโรคพิษสุราเรื้อรัง
3.เพื่อศึกษาโรคแทรกซ้อนของโรคพิษสุราเรื้อรัง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาเกี่ยวกับอาการและโรคแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้อง วิธีการรักษาและการป้องกัน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทัศนคติ ค่านิยม ในวงเหล้าเหล่านี้ เป็นการเสริมให้ทัศนคติแบบชายเป็นใหญ่ ให้มีความเข้มข้นขึ้น ผู้ชายส่วนใหญ่จึง
วนเวียนอยู่กับสังคมเพื่อน ความกล้าหาญ กล้าแสดงออกถึงความยิ่งใหญ่เมื่ออยู่ในวงเหล้า เพื่อให้ได้รับการยอมรับ
จากเพื่อนวานเป็นคนเก่ง กล้าหาญ ถ้าใครไม่ดื่มเหล้าก็จะถูกดูถูกว่าเป็นคนอ่อนแอเหมือนผู้หญิง ไม่มีศักดิ์ศรี ซึ่งเป็นที่
ผู้ชายกลัวมาก ดังนั้น ปัญหาการดื่มเหล้าของชายไทยจึงมีสาเหตุสาคัญมาจากการชักชวนของเพื่อน เพื่อการยอมรับ
และศักดิ์ศรีของระบบชายเป็นใหญ่ และนามาสู่ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และความรุนแรงทางเพศ
โรคพิษสุราเรื้อรัง เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากติดต่อกันเป็นเวลานานจนไม่สามารถเลิกดื่มได้ แม้รู้ว่าการ
ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจานั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพหรือกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันก็ตาม ซึ่งหากหยุดดื่มอาจ
ก่อให้เกิดอาการขาดสุรา เช่น มือสั่น หงุดหงิด อาเจียน สันสน หรือประสาทหลอน
ระยะแรก
หันไปพึ่งแอลกอฮอล์เมื่อต้องเผชิญกับปัญหา
ต้องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้ตัวเองรู้สึกมึนเมา
จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นขณะดื่มแอลกอฮอล์ไม่ได้
ไม่ต้องการแบ่งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับผู้อื่น
รู้สึกอยากดื่มแอลกอฮอล์ตลอดเวลา
รู้สึกผิดหลังจากดื่มแอลกอฮอล์
ระยะกลาง
ไม่สามารถควบคุมปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ได้ แม้รู้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจานั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพ หรือ
ส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในครอบครัว
ต้องใช้ความพยายามอย่างมากเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของตัวเองออกจากการดื่มแอลกอฮอล์
มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปและมีอารมณ์แปรปรวน
ระยะรุนแรง
มีอาการขาดสุราเมื่อหยุดดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหงื่อออก ตัวสั่น มือสั่น หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย สับสน
หัวใจเต้นเร็ว หรือประสาทหลอน เป็นต้น
สาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรัง
ปัจจุบันในทางการแพทย์ยังไม่สามารถสรุปสาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรังได้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าการดื่มแอลกอฮอล์
ปริมาณมากส่งผลให้สารเคมีในสมองเปลี่ยนแปลงและทาให้เกิดความรู้สึกสุขสมตามมา จนอาจทาให้ความรู้สึก
ดังกล่าวส่งผลต่อผู้บริโภคให้ต้องการดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ และเกิดการเสพติดในที่สุด ซึ่งหากหยุดดื่ม
อาจมีอาการขาดสุราตามมาจึงทาให้เลิกดื่มได้ยากไปด้วย
ผู้ที่อยู่ในกลุ่มต่อไปนี้ อาจเสี่ยงต่อโรคพิษสุราเรื้อรังมากกว่าคนทั่วไป
4
ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากเป็นประจา
มีปัญหาสุขภาพจิต เช่น โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า หรือโรคจิตเภท เป็นต้น
เผชิญกับแรงกดดัน หรือรู้สึกเครียดเป็นประจา
มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเองต่า
มีคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง
อยู่ในชุมชนที่คนส่วนใหญ่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจา
การวินิจฉัยโรคพิษสุราเรื้อรัง
การรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง
การรักษาโรคพิษสุราเรื้อรังมีจุดประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหยุดดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้
การถอนพิษสุราอาจเรียกว่าช่วงล้างพิษ จัดเป็นขั้นตอนแรกของการรักษาโรคนี้ โดยแพทย์จะแนะนาให้ผู้ป่วยหยุดดื่ม
หรือลดการดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับให้ยาบรรเทาอาการขาดสุราควบคู่ไปด้วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นการเข้ารับคาแนะนาจากแพทย์ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้จักควบคุมพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์
การให้คาปรึกษาทางจิต เพื่อบาบัดความผิดปกติทางจิตที่เป็นสาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรัง ซึ่งอาจเป็นการบาบัดแบบ
กลุ่มหรือการบาบัดรายบุคคล โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์
การรับประทานยา แพทย์อาจแนะนาให้ผู้ป่วยบางรายรับประทานยาที่มีฤทธิ์ช่วยให้ไม่อยากดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่
ยานาลเทรกโซน ช่วยลดความรู้สึกสุขสมจากการดื่มแอลกอฮอล์
ยาแอคแคมโพรเซส ช่วยปรับสารเคมีในสมองให้อยู่ในระดับปกติ จึงมีความรู้สึกอยากดื่มแอลกอฮอล์น้อยลง
ยาไดซัลฟิแรม ช่วยทาให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายเนื้อไม่สบายตัวเมื่อดื่มแอลกอฮอล์ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน และเวียนศีรษะ
เป็นต้น
ส่วนผู้ป่วยที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังขั้นรุนแรง แพทย์จะเฝ้าดูอาการขาดสุราตลอด 24 ชั่วโมง โดยให้ผู้ป่วยเข้ารับการ
บาบัดในโรงพยาบาลด้วย เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นแพทย์จึงจะอนุญาตให้กลับบ้านได้ แต่หลังจากนั้นผู้ป่วยจาเป็นต้อง
เข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องจนหายดี
ภาวะแทรกซ้อนของโรคพิษสุราเรื้อรัง
การดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ดังนี้
ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ เช่น โรคกระเพาะอาหารอักเสบ โรคตับอ่อนอักเสบ เกิดแผลในหลอดอาหารหรือ
กระเพาะอาหาร การดูดซึมวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ลดลง เป็นต้น
โรคตับ อาจเกิดโรคหรือความผิดปกติใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตับ อย่างไขมันพอกตับหรือตับอักเสบจากแอลกอฮอล์
รวมถึงโรคตับแข็งที่อาจส่งผลให้เกิดการสะสมของเสียจาพวกยูเรียจนเกิดพิษต่อสมองได้
โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจโต หัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพลิ้ว และโรคหลอด
เลือดสมอง เป็นต้น ภาวะน้าตาลในเลือดต่าแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกลูโคสของตับ และอาจก่อให้เกิดภาวะ
น้าตาลในเลือดต่าตามมา ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่กาลังใช้ยาอินซูลินเพื่อลดระดับน้าตาลในเลือดจึงควรหลีกเลี่ยงการดื่ม
แอลกอฮอล์ เพราะอาจทาให้ระดับน้าตาลยิ่งลดต่าลงจนเป็นอันตราย
พัฒนาการทางเพศผิดปกติ ผู้ป่วยชายอาจเสี่ยงต่อภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ส่วนผู้ป่วยหญิงอาจเสี่ยงต่อภาวะ
ประจาเดือนมาไม่ปกติ
5
ความพิการแต่กาเนิด หญิงตั้งครรภ์ที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจาอาจเสี่ยงต่อการแท้งบุตร หรือเผชิญกับกลุ่มอาการ
ทารกในครรภ์ได้รับแอลกอฮอล์ จนส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ผิดปกติ
กระดูกเกิดความเสียหาย อาจเกิดโรคกระดูกพรุน หรือไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดถูกทาลาย จนส่งผลให้
เกล็ดเลือดมีปริมาณลดลง ผู้ป่วยจึงเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกมากกว่าปกติ
ความผิดปกติทางระบบประสาท เช่น มือเท้าชา กระบวนการคิดผิดปกติ ภาวะสูญเสียความทรงจาชั่วคราว หรือโรค
สมองเสื่อม เป็นต้น
ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรังอาจเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อต่าง ๆ มากกว่าปกติ เช่น โรคปอดบวม เป็นต้น
มะเร็ง ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากอาจเสี่ยงต่อมะเร็งชนิดต่าง ๆ มากกว่าคนทั่วไป เช่น มะเร็งช่องปาก มะเร็ง
ลาคอ มะเร็งตับ มะเร็งลาไส้ มะเร็งเต้านม เป็นต้น
การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับแอลกอฮอล์ การดื่มแอลกอฮอล์อาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของยารักษาที่ผู้ป่วย
กาลังรับประทานอยู่ โดยฤทธิ์ของยาอาจลดลง มากขึ้น หรือกลายเป็นพิษต่อร่างกายได้
ปัญหาในการดาเนินชีวิต การดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวัน การเรียน การ
ทางาน และความสัมพันธ์กับผู้อื่น ทั้งยังเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุประเภทต่าง ๆ เช่น รถชน ตกจากที่สูง เป็นต้น
นอกจากนี้ อาจเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรม การข้องเกี่ยวกับอาชญากรรม หรือการตกเป็นเหยื่อของอาชญากร เช่น
การถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นต้น ตลอดจนเสี่ยงควบคุมตัวเองไม่ได้และนาไปสู่การฆ่าตัวตาย
การป้องกันโรคพิษสุราเรื้อรัง
โรคพิษสุราเรื้อรังสามารถป้องกันได้ เพียงจากัดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ของตัวเอง โดยทั่วไปเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
แต่ละชนิดมักมีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เท่ากัน โดย 1 ดื่มมาตรฐานของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะเท่ากับเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ผสมอยู่ 10 กรัม เฉลี่ยแล้ว 1 ดื่มอาจเท่ากับเบียร์ 360 มิลลิลิตร ไวน์ 150 มิลลิลิตร และสุรา 45
มิลลิลิตร จากคาแนะนาของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขประเทศไทย ผู้ชายไม่ควรดื่มเกิน 4 ดื่มมาตรฐาน/
วัน ส่วนผู้หญิงไม่ควรดื่มเกิน 2 ดื่มมาตรฐาน/วัน
วัยรุ่นอาจเป็นวัยที่เสี่ยงต่อโรคพิษสุราเรื้อรังค่อนข้างสูง ผู้ปกครองควรสังเกตความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับลูก และปฏิบัติ
ตามคาแนะนาต่อไปนี้ เพื่อป้องกันพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ที่ไม่เหมาะสมของลูก
พูดคุยและทากิจกรรมร่วมกับลูกเป็นประจา
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกในเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์
สร้างบรรทัดฐานที่เหมาะสม เพื่อให้ลูกปฏิบัติตามและเรียนรู้ว่าสิ่งใดควรทาหรือไม่ควรทา
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อที่สนใจศึกษา
2.นาเสนอหัวข้อต่อครูที่ปรึกษา
3.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
4.จัดทาเอกสารรายงาน
5.นาเสนอและปรับปุรงแกไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ และ iPad (โปรแกรม blogger.com google และFacebook)
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคพิษสุราเรื้อรัง
2.วิธีการรักษาและป้องกัน
3.โรคแทรกซ้อนจากโรคพิษสุราเรื้อรัง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และบ้าน
7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
-
https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9E%E0%B8%B4%
E0%B8%A9%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E
0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/7364/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84
%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%AE%E0%B8%AD
%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%B8%A1
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JPAT/article/view/243544

More Related Content

Similar to computer 2

2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
Bream Mie
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 

Similar to computer 2 (20)

2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Finalpro
FinalproFinalpro
Finalpro
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
Xxx66666
Xxx66666Xxx66666
Xxx66666
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 

computer 2

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ว 30284 ชื่อวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 4 ปีการศึกษา 2563 ชื่อโครงงาน เหยื่อเพศชายและการถูกประณาม ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคพิษสุราเรื้อรัง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Alcoholism ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธาริกา ใจวงค์ เลขที่ 36 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) แต่ก่อนการดื่มสุราเป็นการดื่มเพื่อเข้าสังคมเพื่อพูดคุยหลังจากทางาน แตกต่างกับปัจจุบันที่เห็นว่าการดื่มเป็นเรื่องที่ ทาให้คนดื่มดูกล้าและเข้มแข็ง มองว่าคนที่ไม่ดื่มเป็นคนที่อ่อนแอ ไม่กล้า ในสังคมคนทางานการสังสรรค์เป็นเรื่องที่ทุก คนทาเพื่อการทางานที่ราบรื่น นอกจากนี้ยังดื่มเพื่อคลายความเครียดลงด้วยผลที่ตามมาคือการขาดสติเกิดการใช้ ความรุนแรง เกิดอุบัติเห็น รวมถึงเสียสุขภาพในระยะยาว เมื่อดื่มมากเข้าส่งผลให้เกิดอาการเสพติด ทาให้เป็นโรคสุรา เรื้อรังที่ยากจะรักษาในระยะสุดท้าย ในปัจจุบันวัยรุ่นนิยมกันดื่มสุรามากขึ้นเพื่อต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน ผู้จัดทาต้องการศึกษาเกี่ยวกับโรคและวิธีรักษาอาการว่าสามารถเลิกได้จริงหรือไม่แล้วทาไมยังมีคนดื่ม หากสุราไม่มี ข้อดีแล้วทาไมยังมีจาหน่ายอยู่ แสดงให้เห็นสุราไม่ใช่ปัญหาของโรคนี้ แต่ปัญหาคือตัวบุคคลที่ไม่สามารถคิดวิเคราะห์ เองได้ว่าควรบริโภคเท่าไหร่ และค่านิยมผิดๆในหมู่วัยรุ่นและกลุ่มคนทางานที่คิดว่าการเข้าสังคมต้องใช้สุราเข้าหากัน เพื่อละลายพฤติกรรม สุราไม่ปัญหาของโรคพิษสุราเรื้อรังผู้จัดทาเชื้อว่าการผู้บริโภคไม่รู้จักขีดจากัดของตนเองและไม่ได้มีคนให้ ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุราและผลที่ตามมาทาให้เกิดอาการเสพติดและเป็นโรคพิษสุราเรื้อรังตามมา ผู้จัดทาเชื้อว่า มุกโรคย่อมมีวิธีรักษาแต่ขึ้นอยู่กับว่าเรารักษาถูกต้องหรือไม่เพื่อหาการรักษาและการป้องกันที่ถูกต้องผู้จัดทาจึงจัด ทางานนี้ขึ้นมา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคพิษสุราเรื้อรัง 2.เพื่อศึกษาวิธีรักษาอาการและโรคพิษสุราเรื้อรัง 3.เพื่อศึกษาโรคแทรกซ้อนของโรคพิษสุราเรื้อรัง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาเกี่ยวกับอาการและโรคแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้อง วิธีการรักษาและการป้องกัน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทัศนคติ ค่านิยม ในวงเหล้าเหล่านี้ เป็นการเสริมให้ทัศนคติแบบชายเป็นใหญ่ ให้มีความเข้มข้นขึ้น ผู้ชายส่วนใหญ่จึง วนเวียนอยู่กับสังคมเพื่อน ความกล้าหาญ กล้าแสดงออกถึงความยิ่งใหญ่เมื่ออยู่ในวงเหล้า เพื่อให้ได้รับการยอมรับ จากเพื่อนวานเป็นคนเก่ง กล้าหาญ ถ้าใครไม่ดื่มเหล้าก็จะถูกดูถูกว่าเป็นคนอ่อนแอเหมือนผู้หญิง ไม่มีศักดิ์ศรี ซึ่งเป็นที่ ผู้ชายกลัวมาก ดังนั้น ปัญหาการดื่มเหล้าของชายไทยจึงมีสาเหตุสาคัญมาจากการชักชวนของเพื่อน เพื่อการยอมรับ และศักดิ์ศรีของระบบชายเป็นใหญ่ และนามาสู่ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และความรุนแรงทางเพศ โรคพิษสุราเรื้อรัง เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากติดต่อกันเป็นเวลานานจนไม่สามารถเลิกดื่มได้ แม้รู้ว่าการ ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจานั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพหรือกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันก็ตาม ซึ่งหากหยุดดื่มอาจ ก่อให้เกิดอาการขาดสุรา เช่น มือสั่น หงุดหงิด อาเจียน สันสน หรือประสาทหลอน ระยะแรก หันไปพึ่งแอลกอฮอล์เมื่อต้องเผชิญกับปัญหา ต้องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้ตัวเองรู้สึกมึนเมา จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นขณะดื่มแอลกอฮอล์ไม่ได้ ไม่ต้องการแบ่งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับผู้อื่น รู้สึกอยากดื่มแอลกอฮอล์ตลอดเวลา รู้สึกผิดหลังจากดื่มแอลกอฮอล์ ระยะกลาง ไม่สามารถควบคุมปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ได้ แม้รู้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจานั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพ หรือ ส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในครอบครัว ต้องใช้ความพยายามอย่างมากเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของตัวเองออกจากการดื่มแอลกอฮอล์ มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปและมีอารมณ์แปรปรวน ระยะรุนแรง มีอาการขาดสุราเมื่อหยุดดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหงื่อออก ตัวสั่น มือสั่น หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย สับสน หัวใจเต้นเร็ว หรือประสาทหลอน เป็นต้น สาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรัง ปัจจุบันในทางการแพทย์ยังไม่สามารถสรุปสาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรังได้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าการดื่มแอลกอฮอล์ ปริมาณมากส่งผลให้สารเคมีในสมองเปลี่ยนแปลงและทาให้เกิดความรู้สึกสุขสมตามมา จนอาจทาให้ความรู้สึก ดังกล่าวส่งผลต่อผู้บริโภคให้ต้องการดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ และเกิดการเสพติดในที่สุด ซึ่งหากหยุดดื่ม อาจมีอาการขาดสุราตามมาจึงทาให้เลิกดื่มได้ยากไปด้วย ผู้ที่อยู่ในกลุ่มต่อไปนี้ อาจเสี่ยงต่อโรคพิษสุราเรื้อรังมากกว่าคนทั่วไป
  • 4. 4 ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากเป็นประจา มีปัญหาสุขภาพจิต เช่น โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า หรือโรคจิตเภท เป็นต้น เผชิญกับแรงกดดัน หรือรู้สึกเครียดเป็นประจา มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเองต่า มีคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง อยู่ในชุมชนที่คนส่วนใหญ่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจา การวินิจฉัยโรคพิษสุราเรื้อรัง การรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง การรักษาโรคพิษสุราเรื้อรังมีจุดประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหยุดดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ การถอนพิษสุราอาจเรียกว่าช่วงล้างพิษ จัดเป็นขั้นตอนแรกของการรักษาโรคนี้ โดยแพทย์จะแนะนาให้ผู้ป่วยหยุดดื่ม หรือลดการดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับให้ยาบรรเทาอาการขาดสุราควบคู่ไปด้วย การฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นการเข้ารับคาแนะนาจากแพทย์ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้จักควบคุมพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ การให้คาปรึกษาทางจิต เพื่อบาบัดความผิดปกติทางจิตที่เป็นสาเหตุของโรคพิษสุราเรื้อรัง ซึ่งอาจเป็นการบาบัดแบบ กลุ่มหรือการบาบัดรายบุคคล โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ การรับประทานยา แพทย์อาจแนะนาให้ผู้ป่วยบางรายรับประทานยาที่มีฤทธิ์ช่วยให้ไม่อยากดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ ยานาลเทรกโซน ช่วยลดความรู้สึกสุขสมจากการดื่มแอลกอฮอล์ ยาแอคแคมโพรเซส ช่วยปรับสารเคมีในสมองให้อยู่ในระดับปกติ จึงมีความรู้สึกอยากดื่มแอลกอฮอล์น้อยลง ยาไดซัลฟิแรม ช่วยทาให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายเนื้อไม่สบายตัวเมื่อดื่มแอลกอฮอล์ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน และเวียนศีรษะ เป็นต้น ส่วนผู้ป่วยที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังขั้นรุนแรง แพทย์จะเฝ้าดูอาการขาดสุราตลอด 24 ชั่วโมง โดยให้ผู้ป่วยเข้ารับการ บาบัดในโรงพยาบาลด้วย เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นแพทย์จึงจะอนุญาตให้กลับบ้านได้ แต่หลังจากนั้นผู้ป่วยจาเป็นต้อง เข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องจนหายดี ภาวะแทรกซ้อนของโรคพิษสุราเรื้อรัง การดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ เช่น โรคกระเพาะอาหารอักเสบ โรคตับอ่อนอักเสบ เกิดแผลในหลอดอาหารหรือ กระเพาะอาหาร การดูดซึมวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ลดลง เป็นต้น โรคตับ อาจเกิดโรคหรือความผิดปกติใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตับ อย่างไขมันพอกตับหรือตับอักเสบจากแอลกอฮอล์ รวมถึงโรคตับแข็งที่อาจส่งผลให้เกิดการสะสมของเสียจาพวกยูเรียจนเกิดพิษต่อสมองได้ โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจโต หัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพลิ้ว และโรคหลอด เลือดสมอง เป็นต้น ภาวะน้าตาลในเลือดต่าแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกลูโคสของตับ และอาจก่อให้เกิดภาวะ น้าตาลในเลือดต่าตามมา ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่กาลังใช้ยาอินซูลินเพื่อลดระดับน้าตาลในเลือดจึงควรหลีกเลี่ยงการดื่ม แอลกอฮอล์ เพราะอาจทาให้ระดับน้าตาลยิ่งลดต่าลงจนเป็นอันตราย พัฒนาการทางเพศผิดปกติ ผู้ป่วยชายอาจเสี่ยงต่อภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ส่วนผู้ป่วยหญิงอาจเสี่ยงต่อภาวะ ประจาเดือนมาไม่ปกติ
  • 5. 5 ความพิการแต่กาเนิด หญิงตั้งครรภ์ที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจาอาจเสี่ยงต่อการแท้งบุตร หรือเผชิญกับกลุ่มอาการ ทารกในครรภ์ได้รับแอลกอฮอล์ จนส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ผิดปกติ กระดูกเกิดความเสียหาย อาจเกิดโรคกระดูกพรุน หรือไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดถูกทาลาย จนส่งผลให้ เกล็ดเลือดมีปริมาณลดลง ผู้ป่วยจึงเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกมากกว่าปกติ ความผิดปกติทางระบบประสาท เช่น มือเท้าชา กระบวนการคิดผิดปกติ ภาวะสูญเสียความทรงจาชั่วคราว หรือโรค สมองเสื่อม เป็นต้น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรังอาจเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อต่าง ๆ มากกว่าปกติ เช่น โรคปอดบวม เป็นต้น มะเร็ง ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากอาจเสี่ยงต่อมะเร็งชนิดต่าง ๆ มากกว่าคนทั่วไป เช่น มะเร็งช่องปาก มะเร็ง ลาคอ มะเร็งตับ มะเร็งลาไส้ มะเร็งเต้านม เป็นต้น การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับแอลกอฮอล์ การดื่มแอลกอฮอล์อาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของยารักษาที่ผู้ป่วย กาลังรับประทานอยู่ โดยฤทธิ์ของยาอาจลดลง มากขึ้น หรือกลายเป็นพิษต่อร่างกายได้ ปัญหาในการดาเนินชีวิต การดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวัน การเรียน การ ทางาน และความสัมพันธ์กับผู้อื่น ทั้งยังเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุประเภทต่าง ๆ เช่น รถชน ตกจากที่สูง เป็นต้น นอกจากนี้ อาจเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรม การข้องเกี่ยวกับอาชญากรรม หรือการตกเป็นเหยื่อของอาชญากร เช่น การถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นต้น ตลอดจนเสี่ยงควบคุมตัวเองไม่ได้และนาไปสู่การฆ่าตัวตาย การป้องกันโรคพิษสุราเรื้อรัง โรคพิษสุราเรื้อรังสามารถป้องกันได้ เพียงจากัดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ของตัวเอง โดยทั่วไปเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ละชนิดมักมีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เท่ากัน โดย 1 ดื่มมาตรฐานของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะเท่ากับเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ผสมอยู่ 10 กรัม เฉลี่ยแล้ว 1 ดื่มอาจเท่ากับเบียร์ 360 มิลลิลิตร ไวน์ 150 มิลลิลิตร และสุรา 45 มิลลิลิตร จากคาแนะนาของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขประเทศไทย ผู้ชายไม่ควรดื่มเกิน 4 ดื่มมาตรฐาน/ วัน ส่วนผู้หญิงไม่ควรดื่มเกิน 2 ดื่มมาตรฐาน/วัน วัยรุ่นอาจเป็นวัยที่เสี่ยงต่อโรคพิษสุราเรื้อรังค่อนข้างสูง ผู้ปกครองควรสังเกตความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับลูก และปฏิบัติ ตามคาแนะนาต่อไปนี้ เพื่อป้องกันพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ที่ไม่เหมาะสมของลูก พูดคุยและทากิจกรรมร่วมกับลูกเป็นประจา เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกในเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ สร้างบรรทัดฐานที่เหมาะสม เพื่อให้ลูกปฏิบัติตามและเรียนรู้ว่าสิ่งใดควรทาหรือไม่ควรทา
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อที่สนใจศึกษา 2.นาเสนอหัวข้อต่อครูที่ปรึกษา 3.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต 4.จัดทาเอกสารรายงาน 5.นาเสนอและปรับปุรงแกไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ และ iPad (โปรแกรม blogger.com google และFacebook) งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคพิษสุราเรื้อรัง 2.วิธีการรักษาและป้องกัน 3.โรคแทรกซ้อนจากโรคพิษสุราเรื้อรัง สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และบ้าน
  • 7. 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9E%E0%B8%B4% E0%B8%A9%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E 0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87 http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/7364/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84 %E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%AE%E0%B8%AD %E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%B8%A1 https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JPAT/article/view/243544