SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
Ch 3 Steady State
Heat Conduction
(Part 1)
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
1
Objectives
 เพื่อให้เข้าใจหลักการของความต้านทานทางความร้อน (Thermal resistance)
รวมทั้งความต้านทานทางความร้อนของวัตถุ 2 ชนิดที่สัมผัสกัน (Thermal
contact resistance) และสามารถเขียน Thermal resistance networks ของ
ระบบที่มีการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อน (Heat conduction) ได้
 เพื่อให้สามารถแก้ปัญหา Heat conduction แบบ Steady ได้ ทั้งรูปร่างที่เป็น
Plane wall, Cylindrical และ Sphere
 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความหนาวิกฤตของฉนวน เพื่อนามาใช้ในการออกแบบ
ฉนวนสาหรับรูปร่างที่เป็นทรงกระบอกหรือทรงกลมได้
 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนโดยใช้ครีบ (Fin surface) เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการถ่ายเทความร้อน
 เพื่อให้สามารถแก้ปัญหา Heat conduction แบบหลายทิศทาง โดยใช้ Shape
factors
2
Contents
 Steady State Heat Conduction in Plane Walls
 Thermal Contact Resistance
 Generalized Thermal Resistance Networks
 Heat Conduction in Cylinders and spheres
 Critical Radius of Insulation
 Heat Transfer from Finned Surfaces
 Heat Transfer in Common Configuration
3
Steady Heat Conduction in Plane Walls
 พิจารณา Heat conduction ผ่านกาแพง ดังแสดงในรูป
 สาหรับ ระบบแบบ Steady state ที่เป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางใน
แกน x
4
Steady Heat Conduction in Plane Walls
 จากสมการ Fourier’s Law การกระจายตัวของอุณหภูมิตามระยะ x ของ Plane
wall จะมีลักษณะเป็นเส้นตรง
 ที่ x = 0, T(x=0) = T1 และ ที่ x = L, T(x=L) = T2
 อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนจะหาได้จาก
5
1 2
, (W)cond wall
T T
Q kA
L


Steady Heat Conduction in Plane Walls
 อัตราการการถ่ายเทความร้อนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้
 Thermal conductivity (k)
 พื้นที่หน้าตัดที่ตั้งฉากกับทิศทางการถ่ายเทความร้อน (A)
 ผลต่างของอุณหภูมิ (∆T)
 ความหนาของ Plane wall (L)
 โดยอัตราการถ่ายเทความร้อนจะเพิ่มขึ้น เมื่อ
 ค่า k, A และ ∆T มีค่าเพิ่มขึ้น
 ค่า L มีค่าลดลง
6
Thermal Resistance Concept
 นิยาม: Rwall หรือ Rcond คือ ค่าความต้านทานการนาความร้อน (Conduction
resistance)
 จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน เทียบกับสมการทางไฟฟ้า
 จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W
 โดยที่ค่าความต้านทานการนาความร้อน จะขึ้นอยู่กับชนิดและรูปร่างของตัวกลาง
7
1 2
, (W)cond wall
T T
Q kA
L


kA
L
Rwall 
wall
wallcond
R
T
Q

,

 นิยาม: RConv คือ ค่าความต้านทานการพาความร้อน (Convection resistance)
 จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน
 จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W
 หากค่า h มีค่ามากๆ จะทาให้ค่า Rconv  0 และทาให้
Thermal Resistance Concept
8
s
conv
hA
R
1

conv
s
conv
R
TT
Q 

 conv s sQ hA T T 
 TTs
 นิยาม: RRad คือ ค่าความต้านทานการแผ่รังสีความร้อน (Radiation resistance)
 จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน
 จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W
Thermal Resistance Concept
9
srad
conv
Ah
R
1

rad
surrs
rad
R
TT
Q


 4 4
( ) (W)s surr
rad s s surr rad s s surr
rad
T T
Q A T T h A T T
R


    
  2 2 2
(W/m K)
( )
rad
rad s surr s surr
s s surr
Q
h T T T T
A T T
    

Thermal Resistance Concept
 พื้นผิวที่มีการยื่นออกไปสู่ Surroundings และมีของไหลไหลผ่าน จะมีการทั้งการ
ถ่ายเทความร้อนแบบ Radiation และ Convection เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน
 ความต้านทานการถ่ายเทความร้อนของ Convection และ Radiation จะมี
ลักษณะขนานกัน ดังแสดงในรูป
 โดยที่สัมประสิทธิ์การถ่ายเท
ความร้อนรวมสามารถหาได้จาก
hcombined = hconv + hrad
(W/m2K)
10
Thermal Resistance Network
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Plane wall แบบ 1 ทิศทาง Steady state
 ถ้ามีของไหลไหลผ่านพื้นผิวทั้ง 2 ด้านของ Plane wall โดย T∞1 > T∞2
11
Rate of
heat convection
into the wall
Rate of
heat conduction
through the wall
Rate of
heat convection
from the wall
= =
 
 
1 ,1 1
1 2
2 2 ,2
Q h A T T
T T
kA h A T T
L


  

 
Thermal Resistance Network
12
AhkA
L
Ah
RRRR
R
TT
R
TT
R
TT
R
TT
Q
Ah
TT
kAL
TT
Ah
TT
Q
TTAh
L
TT
kATTAhQ
convwallconvtotal
totalconvwallconv
21
21
21
2
2221
1
11
2
2221
1
11
222
21
111
11
11





















,,
,,
///
)()(



 ความต้านทานทางความร้อนแต่ละตัวจะต่อกันแบบอนุกรม และความต้านทาน
การถ่ายเทความร้อนรวม (Total thermal resistance) จะมีค่าเท่ากับผลรวม
ของความต้านทางแต่ละตัว
 อัตรการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady state จะมีค่าเท่ากับผลต่างของอุณหภูมิ
ที่ผิวหารด้วยความต้านทานการถ่ายเทความร้อนรวม
Overall Heat Transfer Coefficient
 อัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านตัวกลาง จะสามารถอธิบายได้โดยใช้
Newton’s law of cooling ดังแสดงด้านล่าง
 นิยาม: U คือ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวม (Overall Heat Transfer
Coefficient)
13
total
totalconvwallconv
R
UA
R
TT
R
TT
R
TT
R
TT
Q
TUAQ
1
21
2
2221
1
11











,,


Multilayer Plane Wall
 ในกรณีที่ Plane wall ทาจาก Composite material คือ ประกอบด้วยวัสดุ
หลายชนิด ดังแสดงในรูป จะสามารถหาอัตราการถ่ายเทความร้อนได้จาก
14
AhAk
L
Ak
L
Ah
R
RRRRR
R
TT
Q
total
convwallwallconvtotal
total
22
2
1
1
1
2211
21
11



 
,,,,

Example Heat Loss through Wall
15
Consider a 3 m high, 3 m wide and 0.17 m thick wall whose thermal conductivity k =
0.9 W/m K. On the certain day, the temperature of the inner and outer surfaces of the
wall are measured to be 16°C and 2°C, respectively. Determine the rate of heat loss
through the wall on that day.
Example Heat Loss through a Single-Pane Window
16
Example (Cont.)
17
Example Heat Loss through a Double-Pane Window
18
Example (Cont.)
19
Thermal Contact Resistance
 ในกรณีที่ Plane wall เป็นวัสดุหลายชนิด ที่บริเวณผิวสัมผัสของวัสดุจะมี
Surface roughness เกิดขึ้น เนื่องจากความไม่เรียบของพื้นผิวของแต่ละวัสดุ
 ช่องว่างของอากาศบริเวณผิวสัมผัส จะทาให้ความสามารถในการถ่ายเทความ
ร้อนลดลง เนื่องจากอากาศมีค่า Thermal conductivity, k ต่า
 ในบริเวณช่องว่างอากาศจะมีค่า
ความต้านทานความร้อนของผิวสัมผัส
เรียกว่า Thermal contact resistance
 รูปแสดงการกระจายตัวของ
อุณหภูมิในตัวกลาง และกราฟ
ของปริมาณการถ่ายเทความร้อน
20
Thermal Contact Resistance
 ค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส (Thermal contact resistance, Rt,c) จะ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้
 ความขรุขระของพื้นผิว
 คุณสมบัติของวัสดุ
 อุณหภูมิและความดันบริเวณผิวสัมผัส
 ชนิดของของไหลในช่องว่างของผิวสัมผัส
 ค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส Rt,c จะมีค่าลดลง เมื่อพื้นผิวมีความขรุขระ
น้อย และความดันที่ผิวสัมผัสมีค่าเพิ่มขึ้น
 ถ้าค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส Rt,c ต่า จะทาให้สามารถถ่ายเทความ
ร้อนได้ดี
21
Thermal Contact Resistance
22
Thermal Contact Resistance
23
Thermal Contact Resistance
24
Ah
R
R
TT
Q
TAhQ
QQQ
c
c
c
BA
c
gapcontact
1








 Rc = Thermal Contact Resistance
 hc = Thermal Contact Conductance
Generalized Thermal Resistance
Network
 ในความเป็นจริงการถ่ายเทความร้อนจะเกิดขึ้นในหลายทิศทาง ซึ่งยากต่อการ
แก้ปัญหา ดังนั้นจึงมีการตั้งสมมุติฐานในการคิดให้การถ่ายเทความร้อนแบบ
หลายทิศทางเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทาง ซึ่งจะทาให้สามารถนา
Thermal resistance network ที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น มาใช้ในการแก้ปัญหา
การถ่ายเทความร้อนได้
1. กาหนดให้ Plane wall ใดๆ ที่ตั้งฉากกับแกน x เป็น Isothermal คือ มีอุณหภูมิ
คงที่ ซึ่งจะทาให้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทิศทาง x เพียงทิศเดียว
2. กาหนดให้ Plane wall ใดๆ ที่ขนานกับแกน x เป็น Adiabatic คือ ไม่มีการถ่ายเท
ความร้อนเข้าออก ซึ่งจะทาให้มีการถ่ายเทความร้อนในทิศทาง x เพียงทิศเดียว
25
Generalized Thermal Resistance
Network
 Thermal resistance network สาหรับ Plane wall 2 อันที่ขนานกัน
26
21
21
21
21
21
21
2
21
1
21
21
11
11
RR
RR
RR
R
R
TT
Q
RR
TTQ
R
TT
R
TT
Q
QQQ
total
total






















)(
Generalized Thermal Resistance
Network
 Thermal resistance network สาหรับ Plane wall ที่ต่อกันแบบอนุกรมและต่อ
ขนาน
27
21
21
21
21
21
21
21
11
11
RR
RR
RR
R
R
TT
Q
RR
TTQ
QQQ
total
total

















)(
convtotal
convtotal
total
RR
RR
RR
R
RRRR
R
TT
Q





 
3
21
21
312
1
Generalized Thermal Resistance
Network28
 Thermal resistance network สาหรับ Plane wall ที่ต่อกันแบบอนุกรมและต่อ
ขนาน
Example Heat Loss through a Composite Wall
29
Example (Cont.)
30
Example
31
A thin silicon chip and an 8-mm thick aluminum substrate are separated by a 0.02 mm
thick epoxy joint. The chip and substrate are each 10 mm on a side, and their exposed
surfaces are cooled by air, which is at a temperature of 25°C and provides a
convection coefficient of 100 W/m2 K. If the chip dissipates 104 W/m2 under normal
condition, will it operate below a maximum allowable temperature of 85°C?
Example (Cont.)
32
Example (Cont.)
33
Example
34
Example (Cont.)
35
Note:
Material A, having heat generation, cannot be
represented by thermal resistance network.
Example (Cont.)
36
Example (Cont.)
37
2
2
0
gened T
dx k
 
Example (Cont.)
38
Heat Conduction in Cylinders and
Spheres39
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady ผ่านท่อน้าร้อนที่มีลักษณะเป็น
ทรงกระบอก
 ความร้อนจะถ่ายเทผ่านท่อในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของท่อ ทาให้เกิดผลต่าง
ของอุณหภูมิในทิศของรัศมีท่อ (Radial direction)
 โดยที่อุณหภูมิภายในท่อและภายนอกท่อคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา
 Steady state
 ดังนั้นลักษณะการถ่ายเทความร้อน
จะเป็นแบบ Steady state,
1-ทิศทางในแนวรัศมี (r-direction)
Heat Conduction in Cylinders and
Spheres40
Lk
rr
R
R
TT
Q
rr
TT
LkQ
rLA
kdTdr
A
Q
dr
dT
kAQ
cyl
cyl
cylcond
cylcond
T
T
r
r
cylcond
cylcond



2
2
2
12
21
12
21
2
1
2
1
)/ln(
)/ln(
,
,
,
,













21
12
21
12
21
21
2
2
1
2
1
4
4
4
rkr
rr
R
R
TT
Q
rr
TT
rkrQ
rA
kdTdr
A
Q
dr
dT
kAQ
cyl
sph
cylcond
sphcond
T
T
r
r
sphcond
sphcond














,
,
,
,




Heat Conduction in Cylinders and
Spheres41
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady state, 1 ทิศทาง ผ่านทรงกระบอก
หรือทรงกลม ที่มีของไหลไหลผ่านพื้นผิว ดังแสดงในรูปด้านล่าง
Heat Conduction in Cylinders and
Spheres42
ค่าความต้านทานความร้อนรวมของทรงกระบอก
ค่าความต้านทานความร้อนรวมของทรงกลม
Multilayer Cylinders and Spheres
43
 ตั ว อ ย่ า ง ก า ร เ ขี ย น Thermal
resistance network สาหรับการ
ถ่ายเทความร้อนแบบ Steady ผ่าน
ตัวกลางทรงกระบอกที่ทาจากวัสดุ 3
ชนิด
Multilayer Cylinders and Spheres
44
 อัตราการถ่ายเทความร้อน
(Q = ∆T/R) ผ่านวัสดุแต่ละชนิด
จะมีค่าเท่ากัน
Example Heat Loss through an Insulated Steam Pipe
45
Example (Cont.)
46
Example Heat Loss from Insulated Electric Wire
47
Example (Cont.)
48
Critical Radius of Insulation
49
 โดยทั่วไปการหุ้มฉนวน (Insulation) จะมีผลทาให้อัตราการถ่ายเทความร้อน
ลงลด โดยเฉพาะคนทั่วไปมักจะกล่าวว่า ยิ่งฉนวนหนามาขึ้นเท่าไหร่ ก็จะทาให้
อัตราการถ่ายเทความร้อนลดลงเท่านั้น ซึ่งคากล่าวนี้จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ พื้นที่
ผิวในการถ่ายเทความร้อนมีค่าคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามความหนาของฉนวน
เช่น พื้นผิวที่มีลักษณะเป็น Plane wall
 หากพื้นผิวเป็นทรงกระบอกหรือทรงกลม การเพิ่มความหนาของฉนวนจะเป็น
การเพิ่มความต้านทานทางความร้อน (มีผลทาให้ Q ลดลง) แต่ในขณะเดียวกัน
จะทาให้พื้นที่ผิวในการถ่ายเทความร้อนเพิ่มขึ้นไปด้วย (มีผลทาให้ Q เพิ่มขึ้น)
 ดังนั้น ในกรณีของทรงกระบอก หรือทรงกลม การหุ้มฉนวนอาจจะส่งผลได้ทั้ง
2 ทาง คือ อัตราการถ่ายเทความร้อนลดลง หรืออัตราการถ่ายเทความร้อน
เพิ่มขึ้น จึงต้องมีการพิจารณาถึงความหนาวิกฤต
Critical Radius of Insulation
50
 พิจารณาท่อทรงกระบอก ที่มีรัศมีภายนอก r1 และมีอุณหภูมิผิวด้านนอกคงที่ T1
 มีการหุ้มฉนวนที่ท่อ โดยฉนวนมีค่าการนาความร้อน k และรัศมีภายนอกของ
ฉนวน r2
 ของไหลด้านนอกมีอุณหภูมิ T∞ และมีค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน h
 
 
1 1
2 1
2
ln / 1
2 2
ins conv
T T T T
Q
r rR R
Lk h r L 
  
 


Critical Radius of Insulation
51
 ความหนาวิกฤต สามารถหาได้จากสมการ
 ความหนาวิกฤตสาหรับทรงกระบอก
 ความหนาวิกฤตสาหรับทรงกลม
 r2 < rcr  heat transfer increases
 r2 = rcr  max. heat transfer
 r2 > rcr  heat transfer decreases
2
0
dQ
dr

h
k
r spherecr
2
,
h
k
r cylindercr ,
Example (Cont.)
52
Summary 1-D, Steady State
53

More Related Content

What's hot

012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thaiSaranyu Pilai
 
00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introductionSaranyu Pilai
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
Chapter 5 NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTION
Chapter 5NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTIONChapter 5NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTION
Chapter 5 NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTIONAbdul Moiz Dota
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introduction
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
Heat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lectureHeat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lecture
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
Heat 4e chap11_lecture
Heat 4e chap11_lectureHeat 4e chap11_lecture
Heat 4e chap11_lecture
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Heat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lectureHeat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lecture
 
8 2
8 28 2
8 2
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Heat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lectureHeat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lecture
 
Strain
StrainStrain
Strain
 
Chapter 5 NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTION
Chapter 5NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTIONChapter 5NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTION
Chapter 5 NUMERICAL METHODS IN HEAT CONDUCTION
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 

Similar to 004 steady state heat conduction thai

Similar to 004 steady state heat conduction thai (9)

Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Modeling Of The Hygrothermal Absorption And Desorption For Underground Buildi...
Modeling Of The Hygrothermal Absorption And Desorption For Underground Buildi...Modeling Of The Hygrothermal Absorption And Desorption For Underground Buildi...
Modeling Of The Hygrothermal Absorption And Desorption For Underground Buildi...
 
Applications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural productsApplications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural products
 
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
10 3
10 310 3
10 3
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
 

004 steady state heat conduction thai

  • 1. Ch 3 Steady State Heat Conduction (Part 1) King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering 1
  • 2. Objectives  เพื่อให้เข้าใจหลักการของความต้านทานทางความร้อน (Thermal resistance) รวมทั้งความต้านทานทางความร้อนของวัตถุ 2 ชนิดที่สัมผัสกัน (Thermal contact resistance) และสามารถเขียน Thermal resistance networks ของ ระบบที่มีการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อน (Heat conduction) ได้  เพื่อให้สามารถแก้ปัญหา Heat conduction แบบ Steady ได้ ทั้งรูปร่างที่เป็น Plane wall, Cylindrical และ Sphere  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความหนาวิกฤตของฉนวน เพื่อนามาใช้ในการออกแบบ ฉนวนสาหรับรูปร่างที่เป็นทรงกระบอกหรือทรงกลมได้  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนโดยใช้ครีบ (Fin surface) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการถ่ายเทความร้อน  เพื่อให้สามารถแก้ปัญหา Heat conduction แบบหลายทิศทาง โดยใช้ Shape factors 2
  • 3. Contents  Steady State Heat Conduction in Plane Walls  Thermal Contact Resistance  Generalized Thermal Resistance Networks  Heat Conduction in Cylinders and spheres  Critical Radius of Insulation  Heat Transfer from Finned Surfaces  Heat Transfer in Common Configuration 3
  • 4. Steady Heat Conduction in Plane Walls  พิจารณา Heat conduction ผ่านกาแพง ดังแสดงในรูป  สาหรับ ระบบแบบ Steady state ที่เป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางใน แกน x 4
  • 5. Steady Heat Conduction in Plane Walls  จากสมการ Fourier’s Law การกระจายตัวของอุณหภูมิตามระยะ x ของ Plane wall จะมีลักษณะเป็นเส้นตรง  ที่ x = 0, T(x=0) = T1 และ ที่ x = L, T(x=L) = T2  อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนจะหาได้จาก 5 1 2 , (W)cond wall T T Q kA L  
  • 6. Steady Heat Conduction in Plane Walls  อัตราการการถ่ายเทความร้อนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้  Thermal conductivity (k)  พื้นที่หน้าตัดที่ตั้งฉากกับทิศทางการถ่ายเทความร้อน (A)  ผลต่างของอุณหภูมิ (∆T)  ความหนาของ Plane wall (L)  โดยอัตราการถ่ายเทความร้อนจะเพิ่มขึ้น เมื่อ  ค่า k, A และ ∆T มีค่าเพิ่มขึ้น  ค่า L มีค่าลดลง 6
  • 7. Thermal Resistance Concept  นิยาม: Rwall หรือ Rcond คือ ค่าความต้านทานการนาความร้อน (Conduction resistance)  จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน เทียบกับสมการทางไฟฟ้า  จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W  โดยที่ค่าความต้านทานการนาความร้อน จะขึ้นอยู่กับชนิดและรูปร่างของตัวกลาง 7 1 2 , (W)cond wall T T Q kA L   kA L Rwall  wall wallcond R T Q  , 
  • 8.  นิยาม: RConv คือ ค่าความต้านทานการพาความร้อน (Convection resistance)  จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน  จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W  หากค่า h มีค่ามากๆ จะทาให้ค่า Rconv  0 และทาให้ Thermal Resistance Concept 8 s conv hA R 1  conv s conv R TT Q    conv s sQ hA T T   TTs
  • 9.  นิยาม: RRad คือ ค่าความต้านทานการแผ่รังสีความร้อน (Radiation resistance)  จากสมการสาหรับการหาอัตราการถ่ายเทความร้อน  จะได้ ซึ่งมีหน่วยเป็น °C/W Thermal Resistance Concept 9 srad conv Ah R 1  rad surrs rad R TT Q    4 4 ( ) (W)s surr rad s s surr rad s s surr rad T T Q A T T h A T T R          2 2 2 (W/m K) ( ) rad rad s surr s surr s s surr Q h T T T T A T T      
  • 10. Thermal Resistance Concept  พื้นผิวที่มีการยื่นออกไปสู่ Surroundings และมีของไหลไหลผ่าน จะมีการทั้งการ ถ่ายเทความร้อนแบบ Radiation และ Convection เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน  ความต้านทานการถ่ายเทความร้อนของ Convection และ Radiation จะมี ลักษณะขนานกัน ดังแสดงในรูป  โดยที่สัมประสิทธิ์การถ่ายเท ความร้อนรวมสามารถหาได้จาก hcombined = hconv + hrad (W/m2K) 10
  • 11. Thermal Resistance Network  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Plane wall แบบ 1 ทิศทาง Steady state  ถ้ามีของไหลไหลผ่านพื้นผิวทั้ง 2 ด้านของ Plane wall โดย T∞1 > T∞2 11 Rate of heat convection into the wall Rate of heat conduction through the wall Rate of heat convection from the wall = =     1 ,1 1 1 2 2 2 ,2 Q h A T T T T kA h A T T L        
  • 12. Thermal Resistance Network 12 AhkA L Ah RRRR R TT R TT R TT R TT Q Ah TT kAL TT Ah TT Q TTAh L TT kATTAhQ convwallconvtotal totalconvwallconv 21 21 21 2 2221 1 11 2 2221 1 11 222 21 111 11 11                      ,, ,, /// )()(     ความต้านทานทางความร้อนแต่ละตัวจะต่อกันแบบอนุกรม และความต้านทาน การถ่ายเทความร้อนรวม (Total thermal resistance) จะมีค่าเท่ากับผลรวม ของความต้านทางแต่ละตัว  อัตรการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady state จะมีค่าเท่ากับผลต่างของอุณหภูมิ ที่ผิวหารด้วยความต้านทานการถ่ายเทความร้อนรวม
  • 13. Overall Heat Transfer Coefficient  อัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านตัวกลาง จะสามารถอธิบายได้โดยใช้ Newton’s law of cooling ดังแสดงด้านล่าง  นิยาม: U คือ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวม (Overall Heat Transfer Coefficient) 13 total totalconvwallconv R UA R TT R TT R TT R TT Q TUAQ 1 21 2 2221 1 11            ,,  
  • 14. Multilayer Plane Wall  ในกรณีที่ Plane wall ทาจาก Composite material คือ ประกอบด้วยวัสดุ หลายชนิด ดังแสดงในรูป จะสามารถหาอัตราการถ่ายเทความร้อนได้จาก 14 AhAk L Ak L Ah R RRRRR R TT Q total convwallwallconvtotal total 22 2 1 1 1 2211 21 11      ,,,, 
  • 15. Example Heat Loss through Wall 15 Consider a 3 m high, 3 m wide and 0.17 m thick wall whose thermal conductivity k = 0.9 W/m K. On the certain day, the temperature of the inner and outer surfaces of the wall are measured to be 16°C and 2°C, respectively. Determine the rate of heat loss through the wall on that day.
  • 16. Example Heat Loss through a Single-Pane Window 16
  • 18. Example Heat Loss through a Double-Pane Window 18
  • 20. Thermal Contact Resistance  ในกรณีที่ Plane wall เป็นวัสดุหลายชนิด ที่บริเวณผิวสัมผัสของวัสดุจะมี Surface roughness เกิดขึ้น เนื่องจากความไม่เรียบของพื้นผิวของแต่ละวัสดุ  ช่องว่างของอากาศบริเวณผิวสัมผัส จะทาให้ความสามารถในการถ่ายเทความ ร้อนลดลง เนื่องจากอากาศมีค่า Thermal conductivity, k ต่า  ในบริเวณช่องว่างอากาศจะมีค่า ความต้านทานความร้อนของผิวสัมผัส เรียกว่า Thermal contact resistance  รูปแสดงการกระจายตัวของ อุณหภูมิในตัวกลาง และกราฟ ของปริมาณการถ่ายเทความร้อน 20
  • 21. Thermal Contact Resistance  ค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส (Thermal contact resistance, Rt,c) จะ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้  ความขรุขระของพื้นผิว  คุณสมบัติของวัสดุ  อุณหภูมิและความดันบริเวณผิวสัมผัส  ชนิดของของไหลในช่องว่างของผิวสัมผัส  ค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส Rt,c จะมีค่าลดลง เมื่อพื้นผิวมีความขรุขระ น้อย และความดันที่ผิวสัมผัสมีค่าเพิ่มขึ้น  ถ้าค่าความต้านทานความร้อนที่ผิวสัมผัส Rt,c ต่า จะทาให้สามารถถ่ายเทความ ร้อนได้ดี 21
  • 25. Generalized Thermal Resistance Network  ในความเป็นจริงการถ่ายเทความร้อนจะเกิดขึ้นในหลายทิศทาง ซึ่งยากต่อการ แก้ปัญหา ดังนั้นจึงมีการตั้งสมมุติฐานในการคิดให้การถ่ายเทความร้อนแบบ หลายทิศทางเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทาง ซึ่งจะทาให้สามารถนา Thermal resistance network ที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น มาใช้ในการแก้ปัญหา การถ่ายเทความร้อนได้ 1. กาหนดให้ Plane wall ใดๆ ที่ตั้งฉากกับแกน x เป็น Isothermal คือ มีอุณหภูมิ คงที่ ซึ่งจะทาให้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทิศทาง x เพียงทิศเดียว 2. กาหนดให้ Plane wall ใดๆ ที่ขนานกับแกน x เป็น Adiabatic คือ ไม่มีการถ่ายเท ความร้อนเข้าออก ซึ่งจะทาให้มีการถ่ายเทความร้อนในทิศทาง x เพียงทิศเดียว 25
  • 26. Generalized Thermal Resistance Network  Thermal resistance network สาหรับ Plane wall 2 อันที่ขนานกัน 26 21 21 21 21 21 21 2 21 1 21 21 11 11 RR RR RR R R TT Q RR TTQ R TT R TT Q QQQ total total                       )(
  • 27. Generalized Thermal Resistance Network  Thermal resistance network สาหรับ Plane wall ที่ต่อกันแบบอนุกรมและต่อ ขนาน 27 21 21 21 21 21 21 21 11 11 RR RR RR R R TT Q RR TTQ QQQ total total                  )( convtotal convtotal total RR RR RR R RRRR R TT Q        3 21 21 312 1
  • 28. Generalized Thermal Resistance Network28  Thermal resistance network สาหรับ Plane wall ที่ต่อกันแบบอนุกรมและต่อ ขนาน
  • 29. Example Heat Loss through a Composite Wall 29
  • 31. Example 31 A thin silicon chip and an 8-mm thick aluminum substrate are separated by a 0.02 mm thick epoxy joint. The chip and substrate are each 10 mm on a side, and their exposed surfaces are cooled by air, which is at a temperature of 25°C and provides a convection coefficient of 100 W/m2 K. If the chip dissipates 104 W/m2 under normal condition, will it operate below a maximum allowable temperature of 85°C?
  • 35. Example (Cont.) 35 Note: Material A, having heat generation, cannot be represented by thermal resistance network.
  • 39. Heat Conduction in Cylinders and Spheres39  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady ผ่านท่อน้าร้อนที่มีลักษณะเป็น ทรงกระบอก  ความร้อนจะถ่ายเทผ่านท่อในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของท่อ ทาให้เกิดผลต่าง ของอุณหภูมิในทิศของรัศมีท่อ (Radial direction)  โดยที่อุณหภูมิภายในท่อและภายนอกท่อคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา  Steady state  ดังนั้นลักษณะการถ่ายเทความร้อน จะเป็นแบบ Steady state, 1-ทิศทางในแนวรัศมี (r-direction)
  • 40. Heat Conduction in Cylinders and Spheres40 Lk rr R R TT Q rr TT LkQ rLA kdTdr A Q dr dT kAQ cyl cyl cylcond cylcond T T r r cylcond cylcond    2 2 2 12 21 12 21 2 1 2 1 )/ln( )/ln( , , , ,              21 12 21 12 21 21 2 2 1 2 1 4 4 4 rkr rr R R TT Q rr TT rkrQ rA kdTdr A Q dr dT kAQ cyl sph cylcond sphcond T T r r sphcond sphcond               , , , ,    
  • 41. Heat Conduction in Cylinders and Spheres41  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ Steady state, 1 ทิศทาง ผ่านทรงกระบอก หรือทรงกลม ที่มีของไหลไหลผ่านพื้นผิว ดังแสดงในรูปด้านล่าง
  • 42. Heat Conduction in Cylinders and Spheres42 ค่าความต้านทานความร้อนรวมของทรงกระบอก ค่าความต้านทานความร้อนรวมของทรงกลม
  • 43. Multilayer Cylinders and Spheres 43  ตั ว อ ย่ า ง ก า ร เ ขี ย น Thermal resistance network สาหรับการ ถ่ายเทความร้อนแบบ Steady ผ่าน ตัวกลางทรงกระบอกที่ทาจากวัสดุ 3 ชนิด
  • 44. Multilayer Cylinders and Spheres 44  อัตราการถ่ายเทความร้อน (Q = ∆T/R) ผ่านวัสดุแต่ละชนิด จะมีค่าเท่ากัน
  • 45. Example Heat Loss through an Insulated Steam Pipe 45
  • 47. Example Heat Loss from Insulated Electric Wire 47
  • 49. Critical Radius of Insulation 49  โดยทั่วไปการหุ้มฉนวน (Insulation) จะมีผลทาให้อัตราการถ่ายเทความร้อน ลงลด โดยเฉพาะคนทั่วไปมักจะกล่าวว่า ยิ่งฉนวนหนามาขึ้นเท่าไหร่ ก็จะทาให้ อัตราการถ่ายเทความร้อนลดลงเท่านั้น ซึ่งคากล่าวนี้จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ พื้นที่ ผิวในการถ่ายเทความร้อนมีค่าคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามความหนาของฉนวน เช่น พื้นผิวที่มีลักษณะเป็น Plane wall  หากพื้นผิวเป็นทรงกระบอกหรือทรงกลม การเพิ่มความหนาของฉนวนจะเป็น การเพิ่มความต้านทานทางความร้อน (มีผลทาให้ Q ลดลง) แต่ในขณะเดียวกัน จะทาให้พื้นที่ผิวในการถ่ายเทความร้อนเพิ่มขึ้นไปด้วย (มีผลทาให้ Q เพิ่มขึ้น)  ดังนั้น ในกรณีของทรงกระบอก หรือทรงกลม การหุ้มฉนวนอาจจะส่งผลได้ทั้ง 2 ทาง คือ อัตราการถ่ายเทความร้อนลดลง หรืออัตราการถ่ายเทความร้อน เพิ่มขึ้น จึงต้องมีการพิจารณาถึงความหนาวิกฤต
  • 50. Critical Radius of Insulation 50  พิจารณาท่อทรงกระบอก ที่มีรัศมีภายนอก r1 และมีอุณหภูมิผิวด้านนอกคงที่ T1  มีการหุ้มฉนวนที่ท่อ โดยฉนวนมีค่าการนาความร้อน k และรัศมีภายนอกของ ฉนวน r2  ของไหลด้านนอกมีอุณหภูมิ T∞ และมีค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน h     1 1 2 1 2 ln / 1 2 2 ins conv T T T T Q r rR R Lk h r L        
  • 51. Critical Radius of Insulation 51  ความหนาวิกฤต สามารถหาได้จากสมการ  ความหนาวิกฤตสาหรับทรงกระบอก  ความหนาวิกฤตสาหรับทรงกลม  r2 < rcr  heat transfer increases  r2 = rcr  max. heat transfer  r2 > rcr  heat transfer decreases 2 0 dQ dr  h k r spherecr 2 , h k r cylindercr ,