SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
กังหันไอน้ํา
                (Steam Turbine)
   ระบบคอนเดนเสต น้ําปอน และน้ําหลอเย็น
(Condensate-feed water and cooling water system)

                                                   1
กังหันไอน้ํา
• เปนอุปกรณที่ทําใหเกิดพลังงานกล เพื่อผลิตกระแสไฟฟา
• การเคลื่อนที่ของไอน้ํา ผานกังหัน ทําใหกังหันหมุน
• ไอน้ําจะเคลื่อนที่จากความดันสูงไปความดันต่ํา (เหมือนกระแสน้ํา)
• หมอไอน้ําสงไอน้ําความดันสูง ผานกังหัน ไปสูคอนเดนเซอรที่มี ความ
  ดันต่ํากวา
                                                               .
• ถาไอน้ําเคลื่อนที่เร็ว ใบของกังหันก็จะไดรับแรงดลมาก F = m V
• ไอน้ําจะพุงผานหัวฉีด วิ่งไปบนผิวโคงของใบกังหัน เกิดแรงทําใหกังหัน
  หมุน
                                                                      2
สวนประกอบกังหัน
มีสวนประกอบหลักอยู 2 สวน
1. สวนที่อยูกับที่ (Stationary Part) คือ สวนที่ไมมีการหมุน เชน
      – กรอบนอก (Casting) ซึ่งเปนสวนที่หอหุมชิ้นสวนตางๆของกังหัน
      – วาลวเมน (Main Steam Stop Valve) เปนวาลวที่เปดปดใหไอน้ําไหลเขาสู
        กังหัน ไอน้ําทั้งหมดจะตองผานวาลวตัวนี้กอน
      – วาลวควบคุม (Governor Valve) เปนวาลวที่ควบคุมปริมาณไอน้ําใหไหลเขาสู
        กังหันตามกําหนด
2. สวนที่หมุน (Rotating Part) เปนสวนที่มีการหมุน โดยมีเพลาเปนแกนกลางและมี
    ใบพัดประกอบเปนชั้นๆยึดติดอยูกับเพลา เมื่อไอน้ําที่มีความดันและอุณหภูมิสูงถูก
    ฉีดมาปะทะใบพัด จะผลักดันใหเกิดการหมุน
                                                                                 3
www.geothermal.marin.org


                           4
5
http://mechanicalengineer.wordpress.com/2008/01/14/steam-turbine-modeling-by-cad/




                                                                                    6
http://www.stellite.com/LatestNews/ViewNews/tabid/267/type/feed/id/18374060/Default.aspx




        www.turbocare.com/steam_turbine_repair.html




                                                                                                                                                                                      7
http://www.maritime-connector.com/ContentDetails/116/gcgid/95/lang/English/MARITIME-CONNECTOR---SHIP.wshtml
First steam turbine
An Egyptian scientist
from Alexandria Egypt
was famous in the
ancient world for
designing mechanical
marvels. One invention
was a steam turbine,
which spun furiously,
but which he never put
to a practical use.
                                       8
การจัดวางกังหันในรูปแบบตางๆ




a. straight through   b. single reheat
c. extraction         d. induction       9
สามารถใชกฎขอ 1 เทอรโมไดนามิกส
                 Q - W = DU + DKE + DPE
              Q = 0, DPE = 0
เปน SSSF steady state steady flow ; u = h - PV และ Pv คงที่
-W = DU + DKE
              1
-W = mDu + mV 2
              2
        é                               1              ù
-W = m ê( ( h - Pv )2 - ( h - Pv )1 ) + (VS22 - VS21 ) ú
        ë                               2              û
        é             1               ù
-W = m ê( h2 - h1 ) + (VS22 - VS21 ) ú
        ë             2               û       h1 h2 คือ เอนทาลปของไอน้ําที่เขาและออกจากกังหัน
      é             1 2        2 ù
                                               m คือ อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ํา
W = m ê( h1 - h2 ) + (VS1 - VS 2 ) ú          VS1 VS2 คือ ความเร็วสมบูรณของของไหล 10
      ë             2              û
• ในการทํางานของกังหัน จะแบงเปนขั้น ซึ่งจะมีประสิทธิภาพขั้นทํางาน
  (stage efficiency)
• กังหันที่มีหลายขั้น ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดชวงการทํางาน




                                                                  11
ชนิดกังหัน
                                    • Reaction Turbine กังหันแรงปฏิกิริยา

• Impulse Turbine กังหันแรงดล




                                             www.leander-project.homecall.co.uk/turbines.html




                                                                                                12
http://science.jrank.org/pages/20381/turbine.html




http://cpcrefinery.blogspot.com/2009/06/turbine.html

                                                                                                      13
โรงไฟฟาพลังงานไอน้ํา กับน้ํา
อุปกรณหลัก                   ในระบบใหญ จะใชน้ําในการ
• หมอไอน้ํา                  ระบายความรอน
• กังหันไอน้ํา            •   น้ําหลอเย็น
• คอนเดนเซอร             •   ระบบหมอไอน้ํา
• ถังอุนน้ําปอน         •   ระบบน้ําปอน
• คูลลิ่งทาวเวอร        •   ระบบน้ําทดแทน




                                                          14
15
ระบบน้ําหลอเย็น




                   16
คอนเดนเซอร
เพื่อ                                  ชนิดของคอนเดนเซอร
• ลดความดันของไอน้ําที่ออกจาก          • แบบผสม
     กังหัน                            • แบบสัมผัส
• นําน้ําที่ผานคอนเดนเซอรกลับมาใช
     ปอนสูระบบหมอไอน้ําไดอีก




                                                            17
แบบผสมหรือแบบโดยตรง (direct contact type condenser)
• ไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําและน้ําหลอเย็นมาผสมกัน
• ตองระวังคุณภาพน้ําหลอเย็น (หมอไอน้ํา)

คอนเดนเซอรแบบผสม แบงได 3 แบบ
• แบบสเปรยคอนเดนเซอร
• แบบบาโรเมตริกคอนเดนเซอร
• แบบเจ็ตคอนเดนเซอร

                                                      18
แบบสเปรยคอนเดนเซอร




                             สมดุลพลังงาน
    พลังงานที่เขาสูระบบ         =       พลังงานที่ออกจากระบบ
          m2h2 + m5h5             =       m3h3
                            m5 h2 - h3
m3 = m2 + m5                  =
                            m2 h3 - h5                           19
แบบบาโรเมตริกคอนเดนเซอร




                           20
แบบบาโรเมตริกคอนเดนเซอร
• เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนความรอน

        Patm - Pcondenser + DPf = r gH

โดยที่
• r = ความหนาแนนของของผสม (ไอน้ํา + น้ําหลอเย็น)
• H = ความสูงทอ
• DPf = สัมประสิทธิ์ความดันลด
                                                     21
แบบเจ็ตคอนเดนเซอร

เปนการพัฒนาจาก
แบบบาโรเมตริคอนเดนเซอร




                                        22
คอนเดนเซอรแบบสัมผัส (surface condenser)
• ไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําและน้ําหลอเย็นจะไมผสมกัน แตจะ
  แลกเปลี่ยนความรอนกันโดยวิธีสัมผัส เชน ชนิดเชลลและทอ
• โรงไฟฟาสวนใหญจะใชระบบนี้
• โดยน้ําหลอเย็นจะไหลเขาทอและไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําจะไหลเขา
  เชลล



                                                                 23
24
การคํานวณ
• สมการ Heat transfer
• หาจํานวนทอ และ พื้นที่ที่ใชแลกเปลี่ยนความรอน
• หา total heat load ที่คอนเดนเซอร




                                                    25
จากสมการ heat transfer

                      Q = UADTm
โดยที่
  Q = heat load on condenser
  U = overall condenser heat-transfer coefficient, based on outside tube area
  A = total outside tube surface area
  DTm = log mean temperature different in the condenser

                                                                        26
การหาคา DTm

                           DTi - DTo
                   DTm =
                         ln(DTi / DTo )

DTi = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่เขาคอนเดนเซอรกับน้ํา
หลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร
DTo = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่ออกจากคอนเดนเซอร
กับน้ําหลอเย็นที่กลับไปคูลลิ่งทาวเวอร

                                                                   27
การหาคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน U

                    U = C1C2C3C4 C

C = ความเร็วของน้ําหลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร
C1 = ตัวประกอบมีมิติจะขึ้นอยูกับขนาดของทอ (ตาราง 1)
C2 = ตัวประกอบไรมิติจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ําที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร (ตาราง 2)
C3 = ตัวประกอบรวมไรมิติจะขึ้นอยูกับสเปคของทอ (ตาราง 3)
C4 = ตัวประกอบรวมไรมิติจะขึ้นอยูกับความสะอาดของทอ (ตาราง 3)

                                                                                     28
• ความสัมพันธระหวางความรอนที่คอนเดนเซอรตองการคายใหกับน้ํา
  หลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร
• ความรอนที่คอนเดนเซอร Qc = msDh
• ความรอนที่คูลลิ่งทาวเวอร Qct = mcwCpDT




                                                                  29
จากสมดุลพลังงาน
      Qc           = Qct
   msDh            = mcwCpDT
Qc = อัตราความรอนที่ตองการคายทิ้ง (kW หรือ kJ/s)
ms = อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ําที่เขาคอนเดนเซอร (kg/s)
Dh = ผลตางของเอนทาลประหวางทางเขาและทางออกของคอนเดนเซอร
Qct = อัตราความรอนที่ไดรับจากคอนเดนเซอรเพื่อไประบายทิ้ง (kW หรือ kJ/s)
mcw = อัตราการไหลเชิงมวลของน้ําหลอเย็น (kg/s)
Cp = คาความรอนจําเพาะเฉลี่ยที่อุณหภูมิทางเขาและทางออกของอุปกรณ (kJ/kg°C)
DT = ผลตางของอุณหภูมิของของไหลระหวางทางเขาและออกของอุปกรณ (C)
                                                                               30
ความแตกตางของอุณหภูมิที่ทางออกคอนเดนเซอร TTD (DTo)




  DTi = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่เขาคอนเดนเซอรกับน้ําหลอเย็นที่มาจาก
        คูลลิ่งทาวเวอร
  DTo = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่ออกจากคอนเดนเซอรกับน้ําหลอเย็นที่กลับไป
        คูลลิ่งทาวเวอร (TTD)
                                                                                            31
• ถารูคา DTi , U และคา DTo ใชงาน ก็สามารถนําไปหาคาพื้นที่ใชงานของ
  ทอ
                                             DTi - DTo
• จากสมการ Q = UADTm และ           DTm =
                                           ln(DTi / DTo )

• ถา TTD ต่ํา DTm จะต่ํา ดังนั้นจะตองใชพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนความรอน
  มาก สงผลใหคอนเดนเซอรมีขนาดใหญ แตสามารถลดอัตราการไหลของ
  น้ําหลอเย็น ทําใหน้ําหลอเย็นรับความรอนไดมากขึ้น
• คา DTi ควรอยูระหวาง 11 -17 C และคา DTo ไมควรนอยกวา 3 C



                                                                    32
การคํานวณอัตราการไหลเชิงมวลของน้ําหลอเย็น
จาก Qc        =       Qct
   msDh       =       mcwCpDT
ดังนั้น

                           โดยที่   h2 = คาเอนทาลปของไอน้ําที่ทางเขา
       ms Dh                             คอนเดนเซอร
 mcw =
       C p DT                       h3 = คาเอนทาลปที่ทางออกคอนเดนเซอร
                                    Tc1 = อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ทางเขาคอนเดนเซอร
       m s (h2 - h3 )               Tc2 = อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ทางออกคอนเดนเซอร
 mcw =
       C p (Tc 2 - Tc1 )            Cp = คาความรอนจําเพาะเฉลี่ยที่อุณหภูมิทางเขา
                                          และทางออกของอุปกรณ (kJ/kg°C)
                                                                                33
การหาพื้นที่ทอของคอนเดนเซอร
                     ms (h2 - h3 )
                  A=               = np d o L
                       U DTm
โดยที่
   ms = อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ําที่เขาคอนเดนเซอร (kg/s)
   h2 = คาเอนทาลปของไอน้ําที่ทางเขาคอนเดนเซอร
   h3 = คาเอนทาลปที่ทางออกคอนเดนเซอร
   DTm = ผลตางของอุณหภูมิเชิงล็อกของคอนเดนเซอร (C)
   U = คาสัมประสิทธิ์ถายเทความรอน (kJ/m2 C)
   do = เสนผานศูนยกลางนอกของคอนเดนเซอร (m)
   n = จํานวนทอ
   L = ความยาวทอ 1 ทอ
                                                               34
• นอกจากนี้

                    æ p 2ö
              mcw = ç n d i ÷ r C
                    è 4     ø

โดยที่ r = ความหนาแนนของน้ําหลอเย็น = 1000 kg/m3
       C = ความเร็วของน้ําหลอเย็น (2.1 - 2.5 m/s)
       di = เสนผานศูนยกลางในของคอนเดนเซอร (m)


                                                     35
การคํานวณหาความดันลดที่คอนเดนเซอร

                   DP = r gH
โดยที่ DP = ความดันลดที่คอนเดนเซอร (Pa)
       r = ความหนาแนนของน้ําที่สภาวะคอนเดนเซอร (kg/m3)
       H = เฮด หรือ pressure drop (m)



                                                           36
ตัวอยาง
   ก. อัตราการไหลของน้ําหลอเย็น
   ข. อัตราการไหลของอากาศที่รั่วเขาตัวเครื่องของคอนเดนเซอร
   ค. จํานวนทอที่ใชทําคอนเดนเซอร
   ง. ความยาวของแตละทอ




                                                               37
คูลลิ่งทาวเวอร (Cooling Tower)
   เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ถายเทความรอน สําหรับโรงไฟฟา สวนใหญจะ
   รับโหลดความรอนจากคอนเดนเซอร เพื่อปลอยทิ้งสูบรรยากาศ โดย
   อาศัยน้ําเปนตัวกลาง เรียกวา น้ําหลอเย็น
แบงได 2 แบบหลัก
• คูลลิ่งทาวเวอรแบบเปยก (wet cooling tower)
• คูลลิ่งทาวเวอรแบบแหง (dry cooling tower)



                                                                   38
Wet cooling tower




                    39
Wet cooling tower




                    40
Dry cooling tower




                    41
Dry cooling tower




                    42
คูลลิ่งทาวเวอรแบบเปยก (wet cooling tower)
     แบบนี้จะมีน้ําหลอเย็นไหลกลับเขาดานบน และฉีดเปนฝอย เพื่อ
     แลกเปลี่ยนความรอนกับอากาศที่ถูกพัดลมดูดเขามาในลักษณะสวน
     ทางกับทิศทางฝอยน้ํา ทําใหอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นต่ําลง อาจมีน้ํา
     บางสวนระเหยไปกับอากาศที่พัดลมดูดออกไป
แบงออกเปน
• ชนิดหมุนเวียนอากาศดวยแรงกล
• ชนิดหมุนเวียนอากาศแบบธรรมชาติ


                                                                         43
ชนิดหมุนเวียนอากาศดวยแรงกล
แบงเปน 2 ชนิด
• ชนิดดูดอากาศออก จะติดพัดลมดานบน
• ชนิดเปาอากาศเขา จะติดพัดลมดานลาง




                                           44
คูลลิ่งทาวเวอรแบบแหง
  มีประสิทธิภาพไมสูงมาก เปนการแลกเปลี่ยนความรอนแบบไมผสม ซึ่งตองใช
  ครีบในการแลกเปลี่ยนความรอน

ขอดี                                 ขอเสีย
• ไมตองระวังน้ําจะสูญเสียไป         • ขนาดใหญเมื่อเทียบกับแบบเปยก
• สามารถประหยัดน้ําได                • ประสิทธิภาพต่ํา ทําใหใชพลังงาน
• ทําความสะอาดนอย เพราะเปน              ไฟฟามาก
   ระบบปด                            • ลงทุนมาก ใชพื้นที่มาก
• ไมตองมีอางรับนา

                                                                           45
การคํานวณสําหรับแบบเปยก
• เปนการนําอากาศมาระบายความรอนกับน้ําหลอเย็นที่รับความรอนมา
  จากคอนเดนเซอร
• อากาศที่ความดันบรรยากาศจะมีความชื้นปนอยู

                       P = Pa + Pv
  โดยที่ P = ความดันบรรยากาศ
      Pa = ความดันยอยของอากาศแหง
      Pv = ความดันยอยของไอน้ํา

                                                                  46
• ความชื้นจําเพาะ
                       mv           Pv
                    w=    = 0.622
                       ma         P - Pv

โดยที่ w = ความชื้นจําเพาะ = มวลของไอน้ําตอมวลของอากาศแหง
       ma = มวลของอากาศแหง
       mv = มวลของไอน้ํา
• ความชื้นสมบูรณ
                         0.622 Psat
                    ws =
                          P - Psat
                                                              47
นิยาม
• Tdp = อุณหภูมิน้ําคาง = อุณหภูมิของอากาศอิ่มตัว หรือ อุณหภูมิที่อากาศ
  ถูกทําใหเย็นลงกอนเกิดการควบแนน
• Tdb = อุณหภูมิกระเปาะแหง = อุณหภูมิของอากาศที่อานจาก
  เทอรโมมิเตอรแบบแหง
• Twb = อุณหภูมิกระเปาะเปยก = อุณหภูมิของอากาศที่อานจาก
  เทอรโมมิเตอรแบบเปยก
• ที่ความชื้นสัมพัทธ 100 % (อากาศอิ่มตัว) Tdb = Twb


                                                                      48
ประสิทธิภาพของคูลลิ่งทาวเวอร
                   Tc1 - Tc 2 actual
                h=           =
                   Tc1 - Twb theory

โดยที่ Tc1 = อุณหภูมิของน้ําหลอเย็นที่เขาคูลลิ่งทาวเวอร
       Tc2 = อุณหภูมิของน้ําหลอเย็นที่ออกจากคูลลิ่งทาวเวอร
       Twb = อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศที่สภาวะบรรยากาศ



                                                               49
การคํานวณหาปริมาณน้ําที่ระเหยไป




ma1h1 + mw3 hw3 + xhw = ma 2 h2 + mw 4 hw 4
                                              50
• การสมดุลพลังงาน
        ma1h1 + mw3hw3 + xhw = ma 2 h2 + mw 4 hw 4

จาก             x = ma (w2 - w1 )

และ            mw3 = mw 4 = mw

และ            ma1 = ma 2
จะได
      mw (hw3 - hw 4 ) = ma (h2 - h1 ) - ma (w2 - w1 )hw
                                                       51
mw (hw3 - hw 4 ) = ma (h2 - h1 ) - ma (w2 - w1 )hw

โดยที่ mw = อัตราไหลของน้ําหลอเย็น
       ma = อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศ (kg/s)
       hw = เอนทาลปของน้ําหมุนเวียน (น้ําปอน)
       h = เอนทาลปของอากาศแหง
       w = คาความชื้นจําเพาะ


                                                  52
• The cooling range (R)
• ชวงอุณหภูมิในการเย็นตัว
                          ma
   R = Tw3 - Tw 4 =            [(h2 - h1 ) - (w2 - w1 )hw ]
                      C pw mw
• The Approach (A)
• ชวงอุณหภูมิในการเปลี่ยนแปลงจาก Tw4 เปน Twb

                        A = Tw 4 - Twb
• ทั่วๆไป คา A จะอยูในชวง 6 – 8 °C และคา R จะอยูในชวง 6 – 10 °C 53
tw3




          tw4




tc = tw



                      54
• ตัวอยาง




             55
วัฏจักรการหลอเย็น
• แบงการทํางานในระบบได 3 แบบ
• การหมุนเวียนแบบเปด




                                        56
การหมุนเวียนแบบปด




การหมุนเวียนแบบผานครั้งเดียว



                                57
น้ําปอนในระบบผลิตไอน้ํา
• ในสวนของการผลิตไอน้ํา
• ในสวนของน้ําหลอเย็นที่คูลลิ่งทาวเวอร

การปรับปรุงคุณภาพ
• pretreatment system
• treatment system
• cooling water system


                                            58
การปรับปรุงคุณภาพน้ําแบบภายในของหมอไอน้ํา
•  เพื่อ
•  ปองกันการกัดกรอนโลหะ
•  ปองกันไมใหเกิดตะกรัน
•  ปองกันไมใหไมใหหมอน้ําทํางานผิดปกติ เนื่องจากเกิดน้ําปะทุ น้ําเปนฟอง และ
   แครีโอเวอร
สามารถทําได 2 วิธี
• ระบายน้ําบางสวนทิ้ง (blowdown) และเติมน้ําทดแทน เปนการสรางความเจือจาง
   เพื่อลดตะกรัน
• เติมสารเคมี เพื่อลดตะกรัน การกัดกรอน และความผิดปกติอื่นๆ (แพง)
                                                                                59

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
gas reheat and intercooling
gas reheat and intercoolinggas reheat and intercooling
gas reheat and intercoolingCik Minn
 
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2JJ207 Thermodynamics I Chapter 2
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2nhaikalhassan
 
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard Cycle
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard CycleThermodynamic Chapter 5 Air Standard Cycle
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard CycleMuhammad Surahman
 
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of Thermodynamics
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of ThermodynamicsThermodynamic Chapter 4 Second Law Of Thermodynamics
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of ThermodynamicsMuhammad Surahman
 
หลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกหลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกNutthawuth Kanasup
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humansSoftweb Solutions
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoJerry Medeiros
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52PAulo Borikua
 
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semana
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semanaRevista veja destaca fernando mendes na edição desta semana
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semanaEvandro Lira
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
Power plant cycle
Power plant cyclePower plant cycle
Power plant cycle
 
gas reheat and intercooling
gas reheat and intercoolinggas reheat and intercooling
gas reheat and intercooling
 
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2JJ207 Thermodynamics I Chapter 2
JJ207 Thermodynamics I Chapter 2
 
Rankine cycle
Rankine cycleRankine cycle
Rankine cycle
 
Thermodynamic cycles
Thermodynamic cycles Thermodynamic cycles
Thermodynamic cycles
 
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard Cycle
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard CycleThermodynamic Chapter 5 Air Standard Cycle
Thermodynamic Chapter 5 Air Standard Cycle
 
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of Thermodynamics
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of ThermodynamicsThermodynamic Chapter 4 Second Law Of Thermodynamics
Thermodynamic Chapter 4 Second Law Of Thermodynamics
 
หลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจกหลักสูตร Sqs ผจก
หลักสูตร Sqs ผจก
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
 
2007 urok greek cafee
2007 urok greek cafee2007 urok greek cafee
2007 urok greek cafee
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52
 
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semana
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semanaRevista veja destaca fernando mendes na edição desta semana
Revista veja destaca fernando mendes na edição desta semana
 
Aprendiendo java
Aprendiendo javaAprendiendo java
Aprendiendo java
 
2008 cafe tirana
2008 cafe tirana2008 cafe tirana
2008 cafe tirana
 
Decimales: Valor Posicional
Decimales: Valor PosicionalDecimales: Valor Posicional
Decimales: Valor Posicional
 
Oncology harris
Oncology harrisOncology harris
Oncology harris
 

Similar to บทที่ 6 ภาคปลาย.2555

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติ
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติวัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติ
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติมาม่า ใจงาม
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thaiSaranyu Pilai
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thaiSaranyu Pilai
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
011 heat exchangers thai
011 heat exchangers thai011 heat exchangers thai
011 heat exchangers thaiSaranyu Pilai
 

Similar to บทที่ 6 ภาคปลาย.2555 (8)

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
บทที่ 19 phy1
บทที่ 19 phy1บทที่ 19 phy1
บทที่ 19 phy1
 
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติ
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติวัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติ
วัฏจักรทำความเย็นแบบไออัดตัวอุดมคติ
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thai
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
011 heat exchangers thai
011 heat exchangers thai011 heat exchangers thai
011 heat exchangers thai
 

More from nuchida suwapaet

โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)nuchida suwapaet
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)nuchida suwapaet
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้นnuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2nuchida suwapaet
 

More from nuchida suwapaet (16)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 

บทที่ 6 ภาคปลาย.2555

  • 1. กังหันไอน้ํา (Steam Turbine) ระบบคอนเดนเสต น้ําปอน และน้ําหลอเย็น (Condensate-feed water and cooling water system) 1
  • 2. กังหันไอน้ํา • เปนอุปกรณที่ทําใหเกิดพลังงานกล เพื่อผลิตกระแสไฟฟา • การเคลื่อนที่ของไอน้ํา ผานกังหัน ทําใหกังหันหมุน • ไอน้ําจะเคลื่อนที่จากความดันสูงไปความดันต่ํา (เหมือนกระแสน้ํา) • หมอไอน้ําสงไอน้ําความดันสูง ผานกังหัน ไปสูคอนเดนเซอรที่มี ความ ดันต่ํากวา . • ถาไอน้ําเคลื่อนที่เร็ว ใบของกังหันก็จะไดรับแรงดลมาก F = m V • ไอน้ําจะพุงผานหัวฉีด วิ่งไปบนผิวโคงของใบกังหัน เกิดแรงทําใหกังหัน หมุน 2
  • 3. สวนประกอบกังหัน มีสวนประกอบหลักอยู 2 สวน 1. สวนที่อยูกับที่ (Stationary Part) คือ สวนที่ไมมีการหมุน เชน – กรอบนอก (Casting) ซึ่งเปนสวนที่หอหุมชิ้นสวนตางๆของกังหัน – วาลวเมน (Main Steam Stop Valve) เปนวาลวที่เปดปดใหไอน้ําไหลเขาสู กังหัน ไอน้ําทั้งหมดจะตองผานวาลวตัวนี้กอน – วาลวควบคุม (Governor Valve) เปนวาลวที่ควบคุมปริมาณไอน้ําใหไหลเขาสู กังหันตามกําหนด 2. สวนที่หมุน (Rotating Part) เปนสวนที่มีการหมุน โดยมีเพลาเปนแกนกลางและมี ใบพัดประกอบเปนชั้นๆยึดติดอยูกับเพลา เมื่อไอน้ําที่มีความดันและอุณหภูมิสูงถูก ฉีดมาปะทะใบพัด จะผลักดันใหเกิดการหมุน 3
  • 5. 5
  • 7. http://www.stellite.com/LatestNews/ViewNews/tabid/267/type/feed/id/18374060/Default.aspx www.turbocare.com/steam_turbine_repair.html 7 http://www.maritime-connector.com/ContentDetails/116/gcgid/95/lang/English/MARITIME-CONNECTOR---SHIP.wshtml
  • 8. First steam turbine An Egyptian scientist from Alexandria Egypt was famous in the ancient world for designing mechanical marvels. One invention was a steam turbine, which spun furiously, but which he never put to a practical use. 8
  • 10. สามารถใชกฎขอ 1 เทอรโมไดนามิกส Q - W = DU + DKE + DPE Q = 0, DPE = 0 เปน SSSF steady state steady flow ; u = h - PV และ Pv คงที่ -W = DU + DKE 1 -W = mDu + mV 2 2 é 1 ù -W = m ê( ( h - Pv )2 - ( h - Pv )1 ) + (VS22 - VS21 ) ú ë 2 û é 1 ù -W = m ê( h2 - h1 ) + (VS22 - VS21 ) ú ë 2 û h1 h2 คือ เอนทาลปของไอน้ําที่เขาและออกจากกังหัน é 1 2 2 ù m คือ อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ํา W = m ê( h1 - h2 ) + (VS1 - VS 2 ) ú VS1 VS2 คือ ความเร็วสมบูรณของของไหล 10 ë 2 û
  • 11. • ในการทํางานของกังหัน จะแบงเปนขั้น ซึ่งจะมีประสิทธิภาพขั้นทํางาน (stage efficiency) • กังหันที่มีหลายขั้น ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดชวงการทํางาน 11
  • 12. ชนิดกังหัน • Reaction Turbine กังหันแรงปฏิกิริยา • Impulse Turbine กังหันแรงดล www.leander-project.homecall.co.uk/turbines.html 12
  • 14. โรงไฟฟาพลังงานไอน้ํา กับน้ํา อุปกรณหลัก ในระบบใหญ จะใชน้ําในการ • หมอไอน้ํา ระบายความรอน • กังหันไอน้ํา • น้ําหลอเย็น • คอนเดนเซอร • ระบบหมอไอน้ํา • ถังอุนน้ําปอน • ระบบน้ําปอน • คูลลิ่งทาวเวอร • ระบบน้ําทดแทน 14
  • 15. 15
  • 17. คอนเดนเซอร เพื่อ ชนิดของคอนเดนเซอร • ลดความดันของไอน้ําที่ออกจาก • แบบผสม กังหัน • แบบสัมผัส • นําน้ําที่ผานคอนเดนเซอรกลับมาใช ปอนสูระบบหมอไอน้ําไดอีก 17
  • 18. แบบผสมหรือแบบโดยตรง (direct contact type condenser) • ไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําและน้ําหลอเย็นมาผสมกัน • ตองระวังคุณภาพน้ําหลอเย็น (หมอไอน้ํา) คอนเดนเซอรแบบผสม แบงได 3 แบบ • แบบสเปรยคอนเดนเซอร • แบบบาโรเมตริกคอนเดนเซอร • แบบเจ็ตคอนเดนเซอร 18
  • 19. แบบสเปรยคอนเดนเซอร สมดุลพลังงาน พลังงานที่เขาสูระบบ = พลังงานที่ออกจากระบบ m2h2 + m5h5 = m3h3 m5 h2 - h3 m3 = m2 + m5 = m2 h3 - h5 19
  • 21. แบบบาโรเมตริกคอนเดนเซอร • เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนความรอน Patm - Pcondenser + DPf = r gH โดยที่ • r = ความหนาแนนของของผสม (ไอน้ํา + น้ําหลอเย็น) • H = ความสูงทอ • DPf = สัมประสิทธิ์ความดันลด 21
  • 23. คอนเดนเซอรแบบสัมผัส (surface condenser) • ไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําและน้ําหลอเย็นจะไมผสมกัน แตจะ แลกเปลี่ยนความรอนกันโดยวิธีสัมผัส เชน ชนิดเชลลและทอ • โรงไฟฟาสวนใหญจะใชระบบนี้ • โดยน้ําหลอเย็นจะไหลเขาทอและไอน้ําที่มาจากกังหันไอน้ําจะไหลเขา เชลล 23
  • 24. 24
  • 25. การคํานวณ • สมการ Heat transfer • หาจํานวนทอ และ พื้นที่ที่ใชแลกเปลี่ยนความรอน • หา total heat load ที่คอนเดนเซอร 25
  • 26. จากสมการ heat transfer Q = UADTm โดยที่ Q = heat load on condenser U = overall condenser heat-transfer coefficient, based on outside tube area A = total outside tube surface area DTm = log mean temperature different in the condenser 26
  • 27. การหาคา DTm DTi - DTo DTm = ln(DTi / DTo ) DTi = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่เขาคอนเดนเซอรกับน้ํา หลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร DTo = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่ออกจากคอนเดนเซอร กับน้ําหลอเย็นที่กลับไปคูลลิ่งทาวเวอร 27
  • 28. การหาคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน U U = C1C2C3C4 C C = ความเร็วของน้ําหลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร C1 = ตัวประกอบมีมิติจะขึ้นอยูกับขนาดของทอ (ตาราง 1) C2 = ตัวประกอบไรมิติจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ําที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร (ตาราง 2) C3 = ตัวประกอบรวมไรมิติจะขึ้นอยูกับสเปคของทอ (ตาราง 3) C4 = ตัวประกอบรวมไรมิติจะขึ้นอยูกับความสะอาดของทอ (ตาราง 3) 28
  • 29. • ความสัมพันธระหวางความรอนที่คอนเดนเซอรตองการคายใหกับน้ํา หลอเย็นที่มาจากคูลลิ่งทาวเวอร • ความรอนที่คอนเดนเซอร Qc = msDh • ความรอนที่คูลลิ่งทาวเวอร Qct = mcwCpDT 29
  • 30. จากสมดุลพลังงาน Qc = Qct msDh = mcwCpDT Qc = อัตราความรอนที่ตองการคายทิ้ง (kW หรือ kJ/s) ms = อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ําที่เขาคอนเดนเซอร (kg/s) Dh = ผลตางของเอนทาลประหวางทางเขาและทางออกของคอนเดนเซอร Qct = อัตราความรอนที่ไดรับจากคอนเดนเซอรเพื่อไประบายทิ้ง (kW หรือ kJ/s) mcw = อัตราการไหลเชิงมวลของน้ําหลอเย็น (kg/s) Cp = คาความรอนจําเพาะเฉลี่ยที่อุณหภูมิทางเขาและทางออกของอุปกรณ (kJ/kg°C) DT = ผลตางของอุณหภูมิของของไหลระหวางทางเขาและออกของอุปกรณ (C) 30
  • 31. ความแตกตางของอุณหภูมิที่ทางออกคอนเดนเซอร TTD (DTo) DTi = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่เขาคอนเดนเซอรกับน้ําหลอเย็นที่มาจาก คูลลิ่งทาวเวอร DTo = ผลตางของอุณหภูมิระหวางไอน้ําอิ่มตัวที่ออกจากคอนเดนเซอรกับน้ําหลอเย็นที่กลับไป คูลลิ่งทาวเวอร (TTD) 31
  • 32. • ถารูคา DTi , U และคา DTo ใชงาน ก็สามารถนําไปหาคาพื้นที่ใชงานของ ทอ DTi - DTo • จากสมการ Q = UADTm และ DTm = ln(DTi / DTo ) • ถา TTD ต่ํา DTm จะต่ํา ดังนั้นจะตองใชพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนความรอน มาก สงผลใหคอนเดนเซอรมีขนาดใหญ แตสามารถลดอัตราการไหลของ น้ําหลอเย็น ทําใหน้ําหลอเย็นรับความรอนไดมากขึ้น • คา DTi ควรอยูระหวาง 11 -17 C และคา DTo ไมควรนอยกวา 3 C 32
  • 33. การคํานวณอัตราการไหลเชิงมวลของน้ําหลอเย็น จาก Qc = Qct msDh = mcwCpDT ดังนั้น โดยที่ h2 = คาเอนทาลปของไอน้ําที่ทางเขา ms Dh คอนเดนเซอร mcw = C p DT h3 = คาเอนทาลปที่ทางออกคอนเดนเซอร Tc1 = อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ทางเขาคอนเดนเซอร m s (h2 - h3 ) Tc2 = อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ทางออกคอนเดนเซอร mcw = C p (Tc 2 - Tc1 ) Cp = คาความรอนจําเพาะเฉลี่ยที่อุณหภูมิทางเขา และทางออกของอุปกรณ (kJ/kg°C) 33
  • 34. การหาพื้นที่ทอของคอนเดนเซอร ms (h2 - h3 ) A= = np d o L U DTm โดยที่ ms = อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ําที่เขาคอนเดนเซอร (kg/s) h2 = คาเอนทาลปของไอน้ําที่ทางเขาคอนเดนเซอร h3 = คาเอนทาลปที่ทางออกคอนเดนเซอร DTm = ผลตางของอุณหภูมิเชิงล็อกของคอนเดนเซอร (C) U = คาสัมประสิทธิ์ถายเทความรอน (kJ/m2 C) do = เสนผานศูนยกลางนอกของคอนเดนเซอร (m) n = จํานวนทอ L = ความยาวทอ 1 ทอ 34
  • 35. • นอกจากนี้ æ p 2ö mcw = ç n d i ÷ r C è 4 ø โดยที่ r = ความหนาแนนของน้ําหลอเย็น = 1000 kg/m3 C = ความเร็วของน้ําหลอเย็น (2.1 - 2.5 m/s) di = เสนผานศูนยกลางในของคอนเดนเซอร (m) 35
  • 36. การคํานวณหาความดันลดที่คอนเดนเซอร DP = r gH โดยที่ DP = ความดันลดที่คอนเดนเซอร (Pa) r = ความหนาแนนของน้ําที่สภาวะคอนเดนเซอร (kg/m3) H = เฮด หรือ pressure drop (m) 36
  • 37. ตัวอยาง ก. อัตราการไหลของน้ําหลอเย็น ข. อัตราการไหลของอากาศที่รั่วเขาตัวเครื่องของคอนเดนเซอร ค. จํานวนทอที่ใชทําคอนเดนเซอร ง. ความยาวของแตละทอ 37
  • 38. คูลลิ่งทาวเวอร (Cooling Tower) เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ถายเทความรอน สําหรับโรงไฟฟา สวนใหญจะ รับโหลดความรอนจากคอนเดนเซอร เพื่อปลอยทิ้งสูบรรยากาศ โดย อาศัยน้ําเปนตัวกลาง เรียกวา น้ําหลอเย็น แบงได 2 แบบหลัก • คูลลิ่งทาวเวอรแบบเปยก (wet cooling tower) • คูลลิ่งทาวเวอรแบบแหง (dry cooling tower) 38
  • 43. คูลลิ่งทาวเวอรแบบเปยก (wet cooling tower) แบบนี้จะมีน้ําหลอเย็นไหลกลับเขาดานบน และฉีดเปนฝอย เพื่อ แลกเปลี่ยนความรอนกับอากาศที่ถูกพัดลมดูดเขามาในลักษณะสวน ทางกับทิศทางฝอยน้ํา ทําใหอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นต่ําลง อาจมีน้ํา บางสวนระเหยไปกับอากาศที่พัดลมดูดออกไป แบงออกเปน • ชนิดหมุนเวียนอากาศดวยแรงกล • ชนิดหมุนเวียนอากาศแบบธรรมชาติ 43
  • 44. ชนิดหมุนเวียนอากาศดวยแรงกล แบงเปน 2 ชนิด • ชนิดดูดอากาศออก จะติดพัดลมดานบน • ชนิดเปาอากาศเขา จะติดพัดลมดานลาง 44
  • 45. คูลลิ่งทาวเวอรแบบแหง มีประสิทธิภาพไมสูงมาก เปนการแลกเปลี่ยนความรอนแบบไมผสม ซึ่งตองใช ครีบในการแลกเปลี่ยนความรอน ขอดี ขอเสีย • ไมตองระวังน้ําจะสูญเสียไป • ขนาดใหญเมื่อเทียบกับแบบเปยก • สามารถประหยัดน้ําได • ประสิทธิภาพต่ํา ทําใหใชพลังงาน • ทําความสะอาดนอย เพราะเปน ไฟฟามาก ระบบปด • ลงทุนมาก ใชพื้นที่มาก • ไมตองมีอางรับนา 45
  • 46. การคํานวณสําหรับแบบเปยก • เปนการนําอากาศมาระบายความรอนกับน้ําหลอเย็นที่รับความรอนมา จากคอนเดนเซอร • อากาศที่ความดันบรรยากาศจะมีความชื้นปนอยู P = Pa + Pv โดยที่ P = ความดันบรรยากาศ Pa = ความดันยอยของอากาศแหง Pv = ความดันยอยของไอน้ํา 46
  • 47. • ความชื้นจําเพาะ mv Pv w= = 0.622 ma P - Pv โดยที่ w = ความชื้นจําเพาะ = มวลของไอน้ําตอมวลของอากาศแหง ma = มวลของอากาศแหง mv = มวลของไอน้ํา • ความชื้นสมบูรณ 0.622 Psat ws = P - Psat 47
  • 48. นิยาม • Tdp = อุณหภูมิน้ําคาง = อุณหภูมิของอากาศอิ่มตัว หรือ อุณหภูมิที่อากาศ ถูกทําใหเย็นลงกอนเกิดการควบแนน • Tdb = อุณหภูมิกระเปาะแหง = อุณหภูมิของอากาศที่อานจาก เทอรโมมิเตอรแบบแหง • Twb = อุณหภูมิกระเปาะเปยก = อุณหภูมิของอากาศที่อานจาก เทอรโมมิเตอรแบบเปยก • ที่ความชื้นสัมพัทธ 100 % (อากาศอิ่มตัว) Tdb = Twb 48
  • 49. ประสิทธิภาพของคูลลิ่งทาวเวอร Tc1 - Tc 2 actual h= = Tc1 - Twb theory โดยที่ Tc1 = อุณหภูมิของน้ําหลอเย็นที่เขาคูลลิ่งทาวเวอร Tc2 = อุณหภูมิของน้ําหลอเย็นที่ออกจากคูลลิ่งทาวเวอร Twb = อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศที่สภาวะบรรยากาศ 49
  • 51. • การสมดุลพลังงาน ma1h1 + mw3hw3 + xhw = ma 2 h2 + mw 4 hw 4 จาก x = ma (w2 - w1 ) และ mw3 = mw 4 = mw และ ma1 = ma 2 จะได mw (hw3 - hw 4 ) = ma (h2 - h1 ) - ma (w2 - w1 )hw 51
  • 52. mw (hw3 - hw 4 ) = ma (h2 - h1 ) - ma (w2 - w1 )hw โดยที่ mw = อัตราไหลของน้ําหลอเย็น ma = อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศ (kg/s) hw = เอนทาลปของน้ําหมุนเวียน (น้ําปอน) h = เอนทาลปของอากาศแหง w = คาความชื้นจําเพาะ 52
  • 53. • The cooling range (R) • ชวงอุณหภูมิในการเย็นตัว ma R = Tw3 - Tw 4 = [(h2 - h1 ) - (w2 - w1 )hw ] C pw mw • The Approach (A) • ชวงอุณหภูมิในการเปลี่ยนแปลงจาก Tw4 เปน Twb A = Tw 4 - Twb • ทั่วๆไป คา A จะอยูในชวง 6 – 8 °C และคา R จะอยูในชวง 6 – 10 °C 53
  • 54. tw3 tw4 tc = tw 54
  • 59. การปรับปรุงคุณภาพน้ําแบบภายในของหมอไอน้ํา • เพื่อ • ปองกันการกัดกรอนโลหะ • ปองกันไมใหเกิดตะกรัน • ปองกันไมใหไมใหหมอน้ําทํางานผิดปกติ เนื่องจากเกิดน้ําปะทุ น้ําเปนฟอง และ แครีโอเวอร สามารถทําได 2 วิธี • ระบายน้ําบางสวนทิ้ง (blowdown) และเติมน้ําทดแทน เปนการสรางความเจือจาง เพื่อลดตะกรัน • เติมสารเคมี เพื่อลดตะกรัน การกัดกรอน และความผิดปกติอื่นๆ (แพง) 59