SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
11/23/2010
1
บทที่ 3 การวัดระยะทาง
(Distance Measurement)
Version 2
อ.ดร.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระยะทาง 3 ชนิด
Three Types of Distances
• ระยะดิง - Vertical
• ระยะราบ - Horizontal
• ระยะเอียง - Slope
11/23/2010
2
ระยะเอียง, ระยะดิ่ง และระยะราบ
Slope, Vertical and Horizontal Distances
เทคนิคในการวัดระยะทาง
Techniques of Distance Measurement
• การนับก้าว (Pacing)
• มาตรวัดระยะโอโดมิเตอร์ (Odometer)
• วิธีสเตเดีย (Stadia)
• เครื่องวัดระยะอิเล็คทรอนิค (EDM [Electronic
Distance Measurement])
• วิธีใช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar)
• วัดระยะด้วยแถบวัดระยะ (Taping)
11/23/2010
3
5
Odometer Wheel
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
Figure 3.2 (p. 39)
Subtense bar. (Courtesy of Leica, Inc., formerly Kern Instruments and Wild Heerbrugg
Instruments.)
วิธีใช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar [Tacheometry])
11/23/2010
4
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
Figure 3.3 (p. 40)
Distance measurement with a subtense bar.
วิธีใช้แท่งวัดระยะ
(Subtense bar)
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
Figure 3.4 (p. 41)
Stadia readings.
วิธีสเตเดีย (Stadia)
11/23/2010
5
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
Figure 3.7 (p. 44)
WILD D12002 electronic distance measuring instrument. (Courtesy of Leica, Inc., formerly Kern
Instruments and Wild Heerbrugg Instruments.)
เครื่องวัดระยะอิเล็คทรอนิค (EDM [Electronic
Distance Measurement])
การบอก Error
±(x mm + y ppm)
โดย EDM มี Error
ระหว่าง
±(1 mm + 2 ppm)
ถึง
±(5 mm + 5 ppm)
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
Figure 3.8 (p. 48)
Woven tape. (Courtesy of Keuffel & Esser – a Kiatos Company.)
วัดระยะด้วยแถบวัดระยะ (Taping)
11/23/2010
6
Distance Measurement by Taping
ชนิดของเทปที่ใช้ในปัจจุบัน
• Surveyor’s and Engineer’s Tapes (Steel Tapes) ทาด้วยเหล็กมี
ความกว้างตั้งแต่ 1/4-3/8 นิ้ว มีความยาว 30, 60, 100 และ 150 เมตร
• Invar Tapes ทาด้วยส่วนผสมของ เหล็ก 65% และ นิเกิล 35% เพื่อลดการยืด
หดของตัวเทปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
• Lovar Tapes เป็นเทปที่มีคุณสมบัติและราคาอยู่ระหว่าง steel tapes และ
invar tapes
• Cloth (or metallic) Tapes มีความกว้าง 5/8 นิ้ว ทาด้วยลวดทองแดงหุ้ม
ด้วยลินินคุณภาพสูง ใช้งานได้ทั่วไป ไม่เหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียดสูง
• Fiberglass Tapes ใช้งานได้เช่นเดียวกับ metallic tapes
Taping Equipment for Field Party
• Chaining pins or Taping pins ใช้ในการวางแนวและวัดระยะเต็มช่วง
เทป
• Hand level
• Tension handles
• Clamp handles
• Pocket Thermometer
• Range poles ใช้ในการเล็งแนวเส้น
• Plumb bobs ใช้ในการทิ้งดิ่งเมื่อระยะทางที่วัดไม่อยู่ในแนวราบ
สาหรับงานที่
ต้องการความ
ละเอียดสูง
11/23/2010
7
Hand Level
14
Hand level
This is the simplest type of hand
level. It is useful for estimating
slope & elevation changes.
This instrument is called the
Abney level. It can be used
to measure slope, vertical
angles and stadia distances.
11/23/2010
8
Taping on Level Ground
• การวัดระยะด้วยเทป
• การเล็งแนว ด้วยการใช้ poles เป็นหลักเล็งที่ปลายระยะทั้งสองข้าง
และใช้ pin เป็นหลักวางแนวในการวัดระยะเป็นช่วง และต้องเต็มช่วง
เทป
• คนหน้าถือเทปที่ขีด 0
• การดึงเทปต้องให้อยู่ในแนวระดับเดียวกัน
• ถ้ามีสิ่งกีดขวางบนผิวดินต้องใช้วิธีการทิ้งดิ่ง
การอ่านเทป
Normal Tape:
มีการแบ่งขีดในระดับ มิลลิเมตร และ เริ่มต้นเทปที่ ศูนย์ ปกติ
“Adding” Tape:
0 +1126768
ระยะ = 68 + 0.60 = 68.60
“Subtracting” Tape:
1 0236768
ระยะ = 68 - 0.40 = 67.60
11/23/2010
9
การวัดระยะราบโดยการตกดิ่งทั้งสองด้าน
Horizontal Taping Using Plumb Bobs At
Both Ends of the Tape
การวัดระยะทางราบ
สมมติว่า ใช้เทปความยาว 30 เมตร
11/23/2010
10
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ได้ศูนย์แล้วปัก pin อันแรก
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ล่อพินหาแนว
11/23/2010
11
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ดึงเทปช่วงที่ 2
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ดึงpinอันแรกออก
11/23/2010
12
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ได้แนวและปัก pin อันที่สอง
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
ดึงpinอันที่สองออกพร้อมทั้งวัดระยะที่เหลือจากการอ่านเส้นเทป
11/23/2010
13
การวัดระยะทางราบ (ต่อ)
• ระยะทางรวมคิดจาก
– (30 * 3) + 8.426 = 98.426 เมตร
ดึงpinอันที่สามออกพร้อมทั้งคานวณระยะทาง
สภาวะมาตรฐานสาหรับการวัดระยะด้วยเทป
Standard Conditions for Steel Tape Use
(Metric)
30.000 m tape
- อุณหภูมิ = 20° C
- ดึงด้วยแรงดึง = 50 Newtons (11.24lbs)
11/23/2010
14
การวัดระยะราบบนพื้นเอียง
Horizontal Measurement on Sloping Ground
Breaking Tape Method
• คือ การวัดระยะที่ไม่สามารถดึงเทปให้ได้ระดับ และทิ้งดิ่งที่ปลายของ
ช่วงเต็มเทปได้ ให้ทาการวัดระยะเป็นช่วงสั้นๆ และวัดให้ครบความยาว
ช่วงเทป
Slope Measurements
• กรณีที่พื้นที่มีความลาดชันมากๆ การวัดแบบ breaking tape จะ
เสียเวลามาก
• จะใช้วิธีวัดระยะเอียงแล้วคานวณระยะราบจากมุมเอียง หรือ ค่าต่าง
ระดับ
11/23/2010
15
Example 1
• วัดระยะเอียงแนวหนึ่งได้ 125.450 เมตร โดยมีมุมลาดเอียง 2องศา
50ลิปดา จงคานวณหาระยะราบ
–จากสมการ H=Lcosa
–นั้นคือ
• ระยะทางราบ = 125.450 Cos 2๐50’= 125.970 เมตร
ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป
Proportional errors
• คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการผลิตได้ความยาวไม่มาตรฐาน
เช่น เทปความยาว 30 เมตร วัดสอบได้ 29.9995 เมตร ดังนั้น
• ค่าตัวคูณแก้เท่ากับ
Constant errors
• คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเทปชารุดเสียหายที่ปลายเทป ซึ่งค่า
แก้จะเท่ากับ ค่าคงที่ของช่วงเทปที่เสียหายนั้น
11/23/2010
16
Example 2
• ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็กยาว 30 เมตร เมื่อ
นาไปทดสอบพบว่า เทปยาวจริง 30.003 เมตร จงคานวณหาระยะที่
ถูกต้อง
– จากสมการ
– นั้นคือ
• Lc = (30.003x220.450)/30 = 220.472 เมตร
ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป
Temperature correction
• คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากอุณหภูมิของสภาพบรรยากาศที่ทา
การรังวัด ให้เกิดการยืดหดตัวของเทป
11/23/2010
17
Example 3
• ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็ก ที่อุณหภูมิ 32
องศาเซลเซียส ซึ่งเทปเหล็กมีความยาว 30 เมตร ที่อุณหภูมิ 20 องศา
เซลเซียส และมีค่าสัมประสิทธิ์การยืดหดขยายตัวของเหล็ก
0.000011 จงคานวณหาระยะทางที่ถูกต้อง
• จากสมการ
– Ct = 0.000011 (32-20)220.450 = 0.029 เมตร
• ระยะที่ถูกต้องคือ
– Lc = 220.450+0.029 = 220.479 เมตร
ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป
Tension correction
• คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการออกแรงดึงเทปในการที่จะไม่ตก
ท้องช้างแรงเกิดไป ทาให้เทปเกิดการยืดตัวออก
11/23/2010
18
Example 4
• ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็ก 50 เมตร ด้วยแรง
25 กิโลกรัม เนื้อเทปมีพื้นที่หน้าตัด 4 ตร.มม. มีค่ามอดูลัสยืดหยุ่น
2100 กก.ต่อ ตร.มม. มีความยาวมาตรฐานเมื่อใช้แรงดึงเพียง 20
กิโลกรัม จงคานวณหาระยะที่ถูกต้อง
• จากสมการ
– Cp = (25 – 20) 220.450/(4x2100) = 0.131 เมตร
• ระยะที่ถูกต้องคือ
– Lc = 220.450 + 0.131 = 220.581 เมตร
ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป
Sag correction
• คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการดึงเทปเหนือพื้นดิน และเทปเกิด
การตกท้องช้าง
W2 = w2L2
W = น้าหนักเทประหว่างคายันทั้ง 2 ด้าน; w = น้าหนักเทปต่อความยาว
11/23/2010
19
Example 5
• ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็กยาว 50 เมตร มี
น้าหนัก 0.04 กิโลกรัม ต่อ เมตร ด้วยแรง 25 กิโลกรัม จงคานวณ
ระยะที่ถูกต้อง
• ช่วงเทป 50 เมตร 4 ช่วง ค่าแก้
• ช่วงเทป 20.450 เมตร ค่าแก้
• ระยะที่ถูกต้อง คือ Lc = 220.450-0.053-0.001 เมตร
= 220.396 เมตร
2 3
2
0.04 50
4 0.053
24 25
x
Cs m
x
 
    
 2 3
2
0.04 20.450
0.001
24 25
x
Cs m
x
 
    
 
สรุปความคลาดเคลื่อนในการวัดด้วยเทป
• เทปยาวไม่ได้มาตรฐาน
• แรงดึงไม่ได้มาตรฐาน
• อุณหภูมิในการวัดไม่ได้มาตรฐาน
• การตกท้องช้าง
11/23/2010
20
Example 6
• เทปเหล็กวัดระยะทางยาว 30 เมตร เมื่อนาไปวัดสอบกับความยาวมาตรฐานที่อุณหภูมิ 20๐C
ดึงด้วยแรงดึง 10 กิโลกรัม พบว่า มีความยาว 30.003 เมตร เทปมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 5 ตร.ม
ม. น้าหนัก 0.04 กก./เมตร เมื่อนาไปวัดระยะทางราบระหว่างจุด A และ B ด้วยแรงดึง 7 กก.
ได้ทั้งหมด 9 ช่วง ตามตารางการจดข้อมูลนี้จงคานวณหาค่าแก้ความยาวเทป อุณหภูมิ แรง
ดึง การตกท้องช้าง และความยาวที่ถูกต้องของระยะ AB
ช่วง ระยะเทป (เมตร) อุณหภูมิ (๐C )
A-1 30.000 15
1-2 30.000 15
2-3 30.000 15.5
3-4 30.000 15.5
4-5 30.000 15.5
5-6 30.000 16
6-7 30.000 16
7-8 30.000 16
8-B 21.508 16.5
Example 6 (ต่อ)
• ค่าแก้ความยาวเทป
• ค่าแก้แรงดึง
• ค่าแก้ตกท้องช้าง
– จานวน 8 ช่วง
– ช่วงสุดท้าย
– รวมค่าแก้ = -0.308 เมตร
30.003 30.000
0.026
30.000
Ct m
 
   
 
2
(7 10)261.508
0.008
5 10 2,000,000
Cp m
x x
 
   
 
2 3
2
0.04 30
8 0.294
24 7
x
Cs m
x
 
    
 
2 3
2
0.04 21.508
0.014
24 7
x
Cs m
x
 
    
 
11/23/2010
21
Example 6 (ต่อ)
• ค่าแก้อุณหภูมิ = -0.013 เมตร
ช่วง ระยะเทป
(เมตร)
อุณหภูมิ
(๐C )
คานวณค่าแก้ ค่าแก้แต่ละช่วง
A-1 30.000 15 0.0000116(15-20)30 -0.00174
1-2 30.000 15 0.0000116(15-20)30 -0.00174
2-3 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566
3-4 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566
4-5 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566
5-6 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392
6-7 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392
7-8 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392
8-B 21.508 16.5 0.0000116(16.5-20)30 -0.001218
Example 6 (ต่อ)
• ระยะที่ถูกต้อง AB คือ
– 261.508+0.026+0.013-0.008-0.308 = 261.205 เมตร
11/23/2010
22
ความคลาดเคลื่อนจากการเล็งแนวไม่ดี
• การเล็งแนวไม่ดีอาจเกิดจากอุปสรรค (Obstruction) ดังนั้น
จาเป็นต้องเบนทิศทางของแถบวัดระยะออกไป
• ผลคือ ระยะที่วัดได้จากยาวไป ต้องปรับแก้หาระยะที่ถูกต้อง โดยเรา
ต้องวัดระยะที่ปลายแถบวัดระยะเบนออกจากแนวตรง (b)
• Ca = -b2/2L
L
b
Example 7
• ในการวัดระยะทางช่วงหนึ่งต้องเบนแถบวัดระยะยาว 30 เมตรออกไป
อีก 0.43 เมตร ฉะนั้น
• ค่าแก้ระยะให้เป็นตามแนวตรง
• คือ Ca = -b2/2L = -(0.43)2/2(30) = -0.003 เมตร
• นั้นคือ ระยะตามแนวตรงเป็น 30-0.003 = 27.997 เมตร
11/23/2010
23
ค่าคลาดเคลื่อนเมื่อแถบวัดระยะทางไม่อยู่ในแนวระดับ
• ในสนามพื้นดินส่วนมากไม่ราบเรียบ สูงๆต่าๆ ดังนั้น เมื่อวัดระยะทาง
จะได้ระยะเอียง (นอกจากถือเทปให้อยู่ในแนวระดับ) ต้องแก้ระยะเอียง
ให้เป็นระยะในแนวระดับ
• Ch = -h2/2d
A
B
L
S
d Ch
u
h
Example 8
• นาแถบวัดระยะยาว 50 เมตร ไปวัดความยาวบนพื้นที่มีความลาดเอียง
สม่าเสมอ 1:100 จงหาความยาวจริง
– h = 50(1/100) = 0.5 ม
– ค่าตรวจแก้ = 0.52/(2x50)=-0.002 ม.
– ความยาวที่ถูกต้อง = 50-0.002 = 49.998 ม.
11/23/2010
24
การทอนระยะเป็นระยะบนระดับน้าทะเลปานกลาง
• เนื่องจากความสูงของพื้นดินอยู่เหนือระดับน้าทะเล จาเป็นต้องระยะบนพื้นดินแล้วทอน
เป็นระยะบนระดับน้าทะเลเพื่อนาไปใช้เขียนแผนที่
ค่าตรวจแก้ที่ระดับน้าทะเลปาน
Ce= L.h/R
L = ระยะที่วัด
h = ความสูงเหนือระดับน้าทะเลปานกลาง
R = รัศมีของโลก
L
h
O
B1
BA
A1
R
Example 9
• แถบเหล็กวัดระยะทางเส้นหนึ่งยาว 50 เมตร เมื่อดึงบนพื้นราบด้วยแรงดึง 10 กก. และ
อุณหภูมิ 16.7oC ใช้แถบเหล็กเส้นนี้ไปวัดระยะทางเส้นหนึ่งในสนามได้ยาว 262 เมตร
โดยวัดแบบให้แถบเหล็กอยู่บนเสา 2 เสา 5 ช่วงแรกได้ช่วงละ 50 เมตร ช่วงสุดท้ายวัดได้
12 ม.
• แรงดึงวัดด้วยเครื่องวัดแรงดึงแบบสปริงได้ 14.5, 13.6, 13.6, 12.7, 11.8 และ 13.6 กก.
ตามลาดับ และสามช่วงแรกแถบวัดระยะอยู่ในระดับเดียวกัน ส่วนสามช่วงหลัง ปลาย
ของแถบวัดระยะทางเอียงลาด 1:100
• น้าหนักของแถบเหล็กทั้งหมด 0.908 กก. น้าหนักของเนื้อเหล็ก 0.0078 กก./ ลบ.ม. ค่า
พิกัดยืดของเหล็ก 21x105 กก./ ตร.ซม. สปส.การยืดหดของโลหะเหล็ก = 11.7 x 10-6
ต่อ oC
• อุณหภูมิเฉลี่ยต่อการวัด 22oC ระดับของเส้นตรงบนพื้นดินอยู่สูงจากระดับน้าทะเลปาน
กลาง = 191.000 เมตร รัศมีของโลก 6.371 x 106 เมตร
11/23/2010
25
Example 9 (ต่อ)
รายการ ช่วงที่
1
ช่วงที่
2
ช่วงที่
3
ช่วงที่
4
ช่วงที่
5
ช่วงที่
6
หน่วย
ระยะที่วัดได้ 50 50 50 50 50 12 เมตร
แรงดึง P 14.5 13.6 13.6 12.7 11.8 13.6 กก.
อุณหภูมิ 22 22 22 22 22 22 oC
h
(ระดับปลายทั้ง
สองต่างกัน)
0 0 0 0.50 0.50 0.50 เมตร
Example 9 (ต่อ)
วิธีทา
• พื้นที่หน้าตัดของแถบเหล็ก
W/dL = 0.908/(0.0078x5000) = 0.0233 cm2
(W= A.d.L, W น้าหนักทั้งหมด, d ความหนาแน่น, L ความยาว)
• น้าหนักช่วงสุดท้าย (ยาว 12 เมตร) คิดตามสัดส่วนของระยะทาง
W12เมตร= (0.908/50)x12 = 0.218 กก.
11/23/2010
26
Example 9 (ต่อ)
รายการ ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 6
ค่าแก้เนื่องจากแรงดึง +0.004 +0.004 +0.004 +0.003 +0.002 +0.001
ค่าแก้เนื่องจากอุณหภูมิ +0.003 +0.003 +0.003 +0.003 +0.003 +0.003
ค่าแก้เนื่องจาก Sag -0.008 -0.009 -0.009 -0.011 -0.012 -0.000
ค่าแก้เนื่องจาก Slope 0.000 0.000 0.000 -0.002 -0.002 -0.001
รวมค่าแก้ทั้งหมด -0.000 -0.002 -0.002 -0.007 -0.009 +0.001
ระยะทางราบที่ถูกต้อง 50.000 49.998 49.998 49.993 49.991 12.001
รวมระยะทางราบ 261.981 เมตร
Example 9 (ต่อ)
• ทอนระยะทางทั้งหมดเป็นระยะบนระดับน้าทะเลปานกลาง
= (261.981x191.000)/6.371x106
= 261.973 เมตร
11/23/2010
27
สาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการวัดระยะทางด้วยเทป
Sources of Errors in Taping
สาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการวัดระยะทางด้วยเทป
Sources of Errors in Taping (ต่อ)
11/23/2010
28
Random Error ที่เกิดใน Taping
• การวัดอุณหภูมิไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้อง
• การดึงเทปให้ได้ตามมาตรฐานกาหนด
• แรงลมที่พัดลูกดิ่งในการทิ้งดิ่ง
• การปักpinคะแนนตรงตาแหน่งของการทิ้งดิ่ง
• การถือลูกดิ่งของผู้วัดไม่นิ่ง
• การประมาณค่าที่ได้ในการอ่านเทปหลักสุดท้าย
• การเล็งแนวของการวัดระยะ
เทคนิคการทาแผนที่ด้วยการวัดเทป
Baseline Stations and Offset Distances
11/23/2010
29
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
การใช้ระยะราบร่วมกับมุมราบในการหาระยะที่มีอุปสรรคเช่น ลาน้าเป็นต้น
Surveying, 4/E by Jack McCormac
Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved.
การใช้ระยะราบร่วมกับมุมดิ่งในการคานวณหาความสูงของตึก
11/23/2010
30
จบบทที่ 3
การวัดระยะทางด้วยเทป

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)Puchong Yotha
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2Chattichai
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมChattichai
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศบทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศChattichai
 
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัดบทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัดChattichai
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดArsenal Thailand
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศบทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัดบทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 

Similar to บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2

การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2Rainymath
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก Vai2eene K
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติPao Pro
 
ไมโครมิเตอร์.pptx
ไมโครมิเตอร์.pptxไมโครมิเตอร์.pptx
ไมโครมิเตอร์.pptxssuserb6e647
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeterpeerasuk
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thaiSaranyu Pilai
 
CSS_Catalogue.pdf
CSS_Catalogue.pdfCSS_Catalogue.pdf
CSS_Catalogue.pdfuTTriuKnh
 

Similar to บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2 (19)

Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
1 4
1 41 4
1 4
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ไมโครมิเตอร์.pptx
ไมโครมิเตอร์.pptxไมโครมิเตอร์.pptx
ไมโครมิเตอร์.pptx
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
1 1 2
1 1 21 1 2
1 1 2
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thai
 
1 3
1 31 3
1 3
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
CSS_Catalogue.pdf
CSS_Catalogue.pdfCSS_Catalogue.pdf
CSS_Catalogue.pdf
 
Ex13
Ex13Ex13
Ex13
 

More from Chattichai

แบบฝึกหัด Strength Of Figure
แบบฝึกหัด  Strength Of  Figureแบบฝึกหัด  Strength Of  Figure
แบบฝึกหัด Strength Of FigureChattichai
 
Triangulation Sample
Triangulation  SampleTriangulation  Sample
Triangulation SampleChattichai
 
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม New
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม Newแบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม New
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม NewChattichai
 
แบบฝึกหัด Strength Of Figure เฉลย
แบบฝึกหัด  Strength Of  Figure   เฉลยแบบฝึกหัด  Strength Of  Figure   เฉลย
แบบฝึกหัด Strength Of Figure เฉลยChattichai
 
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีบทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีChattichai
 
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full VersionChattichai
 
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมบทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมChattichai
 

More from Chattichai (8)

Final 2
Final 2Final 2
Final 2
 
แบบฝึกหัด Strength Of Figure
แบบฝึกหัด  Strength Of  Figureแบบฝึกหัด  Strength Of  Figure
แบบฝึกหัด Strength Of Figure
 
Triangulation Sample
Triangulation  SampleTriangulation  Sample
Triangulation Sample
 
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม New
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม Newแบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม New
แบบฝึกหัด โครงข่ายสามเหลี่ยม New
 
แบบฝึกหัด Strength Of Figure เฉลย
แบบฝึกหัด  Strength Of  Figure   เฉลยแบบฝึกหัด  Strength Of  Figure   เฉลย
แบบฝึกหัด Strength Of Figure เฉลย
 
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีบทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
 
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
 
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมบทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
 

บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2

  • 1. 11/23/2010 1 บทที่ 3 การวัดระยะทาง (Distance Measurement) Version 2 อ.ดร.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะทาง 3 ชนิด Three Types of Distances • ระยะดิง - Vertical • ระยะราบ - Horizontal • ระยะเอียง - Slope
  • 2. 11/23/2010 2 ระยะเอียง, ระยะดิ่ง และระยะราบ Slope, Vertical and Horizontal Distances เทคนิคในการวัดระยะทาง Techniques of Distance Measurement • การนับก้าว (Pacing) • มาตรวัดระยะโอโดมิเตอร์ (Odometer) • วิธีสเตเดีย (Stadia) • เครื่องวัดระยะอิเล็คทรอนิค (EDM [Electronic Distance Measurement]) • วิธีใช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar) • วัดระยะด้วยแถบวัดระยะ (Taping)
  • 3. 11/23/2010 3 5 Odometer Wheel Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Figure 3.2 (p. 39) Subtense bar. (Courtesy of Leica, Inc., formerly Kern Instruments and Wild Heerbrugg Instruments.) วิธีใช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar [Tacheometry])
  • 4. 11/23/2010 4 Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Figure 3.3 (p. 40) Distance measurement with a subtense bar. วิธีใช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar) Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Figure 3.4 (p. 41) Stadia readings. วิธีสเตเดีย (Stadia)
  • 5. 11/23/2010 5 Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Figure 3.7 (p. 44) WILD D12002 electronic distance measuring instrument. (Courtesy of Leica, Inc., formerly Kern Instruments and Wild Heerbrugg Instruments.) เครื่องวัดระยะอิเล็คทรอนิค (EDM [Electronic Distance Measurement]) การบอก Error ±(x mm + y ppm) โดย EDM มี Error ระหว่าง ±(1 mm + 2 ppm) ถึง ±(5 mm + 5 ppm) Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Figure 3.8 (p. 48) Woven tape. (Courtesy of Keuffel & Esser – a Kiatos Company.) วัดระยะด้วยแถบวัดระยะ (Taping)
  • 6. 11/23/2010 6 Distance Measurement by Taping ชนิดของเทปที่ใช้ในปัจจุบัน • Surveyor’s and Engineer’s Tapes (Steel Tapes) ทาด้วยเหล็กมี ความกว้างตั้งแต่ 1/4-3/8 นิ้ว มีความยาว 30, 60, 100 และ 150 เมตร • Invar Tapes ทาด้วยส่วนผสมของ เหล็ก 65% และ นิเกิล 35% เพื่อลดการยืด หดของตัวเทปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ • Lovar Tapes เป็นเทปที่มีคุณสมบัติและราคาอยู่ระหว่าง steel tapes และ invar tapes • Cloth (or metallic) Tapes มีความกว้าง 5/8 นิ้ว ทาด้วยลวดทองแดงหุ้ม ด้วยลินินคุณภาพสูง ใช้งานได้ทั่วไป ไม่เหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียดสูง • Fiberglass Tapes ใช้งานได้เช่นเดียวกับ metallic tapes Taping Equipment for Field Party • Chaining pins or Taping pins ใช้ในการวางแนวและวัดระยะเต็มช่วง เทป • Hand level • Tension handles • Clamp handles • Pocket Thermometer • Range poles ใช้ในการเล็งแนวเส้น • Plumb bobs ใช้ในการทิ้งดิ่งเมื่อระยะทางที่วัดไม่อยู่ในแนวราบ สาหรับงานที่ ต้องการความ ละเอียดสูง
  • 7. 11/23/2010 7 Hand Level 14 Hand level This is the simplest type of hand level. It is useful for estimating slope & elevation changes. This instrument is called the Abney level. It can be used to measure slope, vertical angles and stadia distances.
  • 8. 11/23/2010 8 Taping on Level Ground • การวัดระยะด้วยเทป • การเล็งแนว ด้วยการใช้ poles เป็นหลักเล็งที่ปลายระยะทั้งสองข้าง และใช้ pin เป็นหลักวางแนวในการวัดระยะเป็นช่วง และต้องเต็มช่วง เทป • คนหน้าถือเทปที่ขีด 0 • การดึงเทปต้องให้อยู่ในแนวระดับเดียวกัน • ถ้ามีสิ่งกีดขวางบนผิวดินต้องใช้วิธีการทิ้งดิ่ง การอ่านเทป Normal Tape: มีการแบ่งขีดในระดับ มิลลิเมตร และ เริ่มต้นเทปที่ ศูนย์ ปกติ “Adding” Tape: 0 +1126768 ระยะ = 68 + 0.60 = 68.60 “Subtracting” Tape: 1 0236768 ระยะ = 68 - 0.40 = 67.60
  • 9. 11/23/2010 9 การวัดระยะราบโดยการตกดิ่งทั้งสองด้าน Horizontal Taping Using Plumb Bobs At Both Ends of the Tape การวัดระยะทางราบ สมมติว่า ใช้เทปความยาว 30 เมตร
  • 10. 11/23/2010 10 การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ได้ศูนย์แล้วปัก pin อันแรก การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ล่อพินหาแนว
  • 11. 11/23/2010 11 การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ดึงเทปช่วงที่ 2 การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ดึงpinอันแรกออก
  • 12. 11/23/2010 12 การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ได้แนวและปัก pin อันที่สอง การวัดระยะทางราบ (ต่อ) ดึงpinอันที่สองออกพร้อมทั้งวัดระยะที่เหลือจากการอ่านเส้นเทป
  • 13. 11/23/2010 13 การวัดระยะทางราบ (ต่อ) • ระยะทางรวมคิดจาก – (30 * 3) + 8.426 = 98.426 เมตร ดึงpinอันที่สามออกพร้อมทั้งคานวณระยะทาง สภาวะมาตรฐานสาหรับการวัดระยะด้วยเทป Standard Conditions for Steel Tape Use (Metric) 30.000 m tape - อุณหภูมิ = 20° C - ดึงด้วยแรงดึง = 50 Newtons (11.24lbs)
  • 14. 11/23/2010 14 การวัดระยะราบบนพื้นเอียง Horizontal Measurement on Sloping Ground Breaking Tape Method • คือ การวัดระยะที่ไม่สามารถดึงเทปให้ได้ระดับ และทิ้งดิ่งที่ปลายของ ช่วงเต็มเทปได้ ให้ทาการวัดระยะเป็นช่วงสั้นๆ และวัดให้ครบความยาว ช่วงเทป Slope Measurements • กรณีที่พื้นที่มีความลาดชันมากๆ การวัดแบบ breaking tape จะ เสียเวลามาก • จะใช้วิธีวัดระยะเอียงแล้วคานวณระยะราบจากมุมเอียง หรือ ค่าต่าง ระดับ
  • 15. 11/23/2010 15 Example 1 • วัดระยะเอียงแนวหนึ่งได้ 125.450 เมตร โดยมีมุมลาดเอียง 2องศา 50ลิปดา จงคานวณหาระยะราบ –จากสมการ H=Lcosa –นั้นคือ • ระยะทางราบ = 125.450 Cos 2๐50’= 125.970 เมตร ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป Proportional errors • คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการผลิตได้ความยาวไม่มาตรฐาน เช่น เทปความยาว 30 เมตร วัดสอบได้ 29.9995 เมตร ดังนั้น • ค่าตัวคูณแก้เท่ากับ Constant errors • คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเทปชารุดเสียหายที่ปลายเทป ซึ่งค่า แก้จะเท่ากับ ค่าคงที่ของช่วงเทปที่เสียหายนั้น
  • 16. 11/23/2010 16 Example 2 • ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็กยาว 30 เมตร เมื่อ นาไปทดสอบพบว่า เทปยาวจริง 30.003 เมตร จงคานวณหาระยะที่ ถูกต้อง – จากสมการ – นั้นคือ • Lc = (30.003x220.450)/30 = 220.472 เมตร ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป Temperature correction • คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากอุณหภูมิของสภาพบรรยากาศที่ทา การรังวัด ให้เกิดการยืดหดตัวของเทป
  • 17. 11/23/2010 17 Example 3 • ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็ก ที่อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส ซึ่งเทปเหล็กมีความยาว 30 เมตร ที่อุณหภูมิ 20 องศา เซลเซียส และมีค่าสัมประสิทธิ์การยืดหดขยายตัวของเหล็ก 0.000011 จงคานวณหาระยะทางที่ถูกต้อง • จากสมการ – Ct = 0.000011 (32-20)220.450 = 0.029 เมตร • ระยะที่ถูกต้องคือ – Lc = 220.450+0.029 = 220.479 เมตร ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป Tension correction • คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการออกแรงดึงเทปในการที่จะไม่ตก ท้องช้างแรงเกิดไป ทาให้เทปเกิดการยืดตัวออก
  • 18. 11/23/2010 18 Example 4 • ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็ก 50 เมตร ด้วยแรง 25 กิโลกรัม เนื้อเทปมีพื้นที่หน้าตัด 4 ตร.มม. มีค่ามอดูลัสยืดหยุ่น 2100 กก.ต่อ ตร.มม. มีความยาวมาตรฐานเมื่อใช้แรงดึงเพียง 20 กิโลกรัม จงคานวณหาระยะที่ถูกต้อง • จากสมการ – Cp = (25 – 20) 220.450/(4x2100) = 0.131 เมตร • ระยะที่ถูกต้องคือ – Lc = 220.450 + 0.131 = 220.581 เมตร ความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะทางด้วยเทป Sag correction • คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการดึงเทปเหนือพื้นดิน และเทปเกิด การตกท้องช้าง W2 = w2L2 W = น้าหนักเทประหว่างคายันทั้ง 2 ด้าน; w = น้าหนักเทปต่อความยาว
  • 19. 11/23/2010 19 Example 5 • ระยะหนึ่งยาว 220.450 เมตร วัดด้วยเทปเหล็กยาว 50 เมตร มี น้าหนัก 0.04 กิโลกรัม ต่อ เมตร ด้วยแรง 25 กิโลกรัม จงคานวณ ระยะที่ถูกต้อง • ช่วงเทป 50 เมตร 4 ช่วง ค่าแก้ • ช่วงเทป 20.450 เมตร ค่าแก้ • ระยะที่ถูกต้อง คือ Lc = 220.450-0.053-0.001 เมตร = 220.396 เมตร 2 3 2 0.04 50 4 0.053 24 25 x Cs m x         2 3 2 0.04 20.450 0.001 24 25 x Cs m x          สรุปความคลาดเคลื่อนในการวัดด้วยเทป • เทปยาวไม่ได้มาตรฐาน • แรงดึงไม่ได้มาตรฐาน • อุณหภูมิในการวัดไม่ได้มาตรฐาน • การตกท้องช้าง
  • 20. 11/23/2010 20 Example 6 • เทปเหล็กวัดระยะทางยาว 30 เมตร เมื่อนาไปวัดสอบกับความยาวมาตรฐานที่อุณหภูมิ 20๐C ดึงด้วยแรงดึง 10 กิโลกรัม พบว่า มีความยาว 30.003 เมตร เทปมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 5 ตร.ม ม. น้าหนัก 0.04 กก./เมตร เมื่อนาไปวัดระยะทางราบระหว่างจุด A และ B ด้วยแรงดึง 7 กก. ได้ทั้งหมด 9 ช่วง ตามตารางการจดข้อมูลนี้จงคานวณหาค่าแก้ความยาวเทป อุณหภูมิ แรง ดึง การตกท้องช้าง และความยาวที่ถูกต้องของระยะ AB ช่วง ระยะเทป (เมตร) อุณหภูมิ (๐C ) A-1 30.000 15 1-2 30.000 15 2-3 30.000 15.5 3-4 30.000 15.5 4-5 30.000 15.5 5-6 30.000 16 6-7 30.000 16 7-8 30.000 16 8-B 21.508 16.5 Example 6 (ต่อ) • ค่าแก้ความยาวเทป • ค่าแก้แรงดึง • ค่าแก้ตกท้องช้าง – จานวน 8 ช่วง – ช่วงสุดท้าย – รวมค่าแก้ = -0.308 เมตร 30.003 30.000 0.026 30.000 Ct m         2 (7 10)261.508 0.008 5 10 2,000,000 Cp m x x         2 3 2 0.04 30 8 0.294 24 7 x Cs m x          2 3 2 0.04 21.508 0.014 24 7 x Cs m x         
  • 21. 11/23/2010 21 Example 6 (ต่อ) • ค่าแก้อุณหภูมิ = -0.013 เมตร ช่วง ระยะเทป (เมตร) อุณหภูมิ (๐C ) คานวณค่าแก้ ค่าแก้แต่ละช่วง A-1 30.000 15 0.0000116(15-20)30 -0.00174 1-2 30.000 15 0.0000116(15-20)30 -0.00174 2-3 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566 3-4 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566 4-5 30.000 15.5 0.0000116(15.5-20)30 -0.001566 5-6 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392 6-7 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392 7-8 30.000 16 0.0000116(16-20)30 -0.001392 8-B 21.508 16.5 0.0000116(16.5-20)30 -0.001218 Example 6 (ต่อ) • ระยะที่ถูกต้อง AB คือ – 261.508+0.026+0.013-0.008-0.308 = 261.205 เมตร
  • 22. 11/23/2010 22 ความคลาดเคลื่อนจากการเล็งแนวไม่ดี • การเล็งแนวไม่ดีอาจเกิดจากอุปสรรค (Obstruction) ดังนั้น จาเป็นต้องเบนทิศทางของแถบวัดระยะออกไป • ผลคือ ระยะที่วัดได้จากยาวไป ต้องปรับแก้หาระยะที่ถูกต้อง โดยเรา ต้องวัดระยะที่ปลายแถบวัดระยะเบนออกจากแนวตรง (b) • Ca = -b2/2L L b Example 7 • ในการวัดระยะทางช่วงหนึ่งต้องเบนแถบวัดระยะยาว 30 เมตรออกไป อีก 0.43 เมตร ฉะนั้น • ค่าแก้ระยะให้เป็นตามแนวตรง • คือ Ca = -b2/2L = -(0.43)2/2(30) = -0.003 เมตร • นั้นคือ ระยะตามแนวตรงเป็น 30-0.003 = 27.997 เมตร
  • 23. 11/23/2010 23 ค่าคลาดเคลื่อนเมื่อแถบวัดระยะทางไม่อยู่ในแนวระดับ • ในสนามพื้นดินส่วนมากไม่ราบเรียบ สูงๆต่าๆ ดังนั้น เมื่อวัดระยะทาง จะได้ระยะเอียง (นอกจากถือเทปให้อยู่ในแนวระดับ) ต้องแก้ระยะเอียง ให้เป็นระยะในแนวระดับ • Ch = -h2/2d A B L S d Ch u h Example 8 • นาแถบวัดระยะยาว 50 เมตร ไปวัดความยาวบนพื้นที่มีความลาดเอียง สม่าเสมอ 1:100 จงหาความยาวจริง – h = 50(1/100) = 0.5 ม – ค่าตรวจแก้ = 0.52/(2x50)=-0.002 ม. – ความยาวที่ถูกต้อง = 50-0.002 = 49.998 ม.
  • 24. 11/23/2010 24 การทอนระยะเป็นระยะบนระดับน้าทะเลปานกลาง • เนื่องจากความสูงของพื้นดินอยู่เหนือระดับน้าทะเล จาเป็นต้องระยะบนพื้นดินแล้วทอน เป็นระยะบนระดับน้าทะเลเพื่อนาไปใช้เขียนแผนที่ ค่าตรวจแก้ที่ระดับน้าทะเลปาน Ce= L.h/R L = ระยะที่วัด h = ความสูงเหนือระดับน้าทะเลปานกลาง R = รัศมีของโลก L h O B1 BA A1 R Example 9 • แถบเหล็กวัดระยะทางเส้นหนึ่งยาว 50 เมตร เมื่อดึงบนพื้นราบด้วยแรงดึง 10 กก. และ อุณหภูมิ 16.7oC ใช้แถบเหล็กเส้นนี้ไปวัดระยะทางเส้นหนึ่งในสนามได้ยาว 262 เมตร โดยวัดแบบให้แถบเหล็กอยู่บนเสา 2 เสา 5 ช่วงแรกได้ช่วงละ 50 เมตร ช่วงสุดท้ายวัดได้ 12 ม. • แรงดึงวัดด้วยเครื่องวัดแรงดึงแบบสปริงได้ 14.5, 13.6, 13.6, 12.7, 11.8 และ 13.6 กก. ตามลาดับ และสามช่วงแรกแถบวัดระยะอยู่ในระดับเดียวกัน ส่วนสามช่วงหลัง ปลาย ของแถบวัดระยะทางเอียงลาด 1:100 • น้าหนักของแถบเหล็กทั้งหมด 0.908 กก. น้าหนักของเนื้อเหล็ก 0.0078 กก./ ลบ.ม. ค่า พิกัดยืดของเหล็ก 21x105 กก./ ตร.ซม. สปส.การยืดหดของโลหะเหล็ก = 11.7 x 10-6 ต่อ oC • อุณหภูมิเฉลี่ยต่อการวัด 22oC ระดับของเส้นตรงบนพื้นดินอยู่สูงจากระดับน้าทะเลปาน กลาง = 191.000 เมตร รัศมีของโลก 6.371 x 106 เมตร
  • 25. 11/23/2010 25 Example 9 (ต่อ) รายการ ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 6 หน่วย ระยะที่วัดได้ 50 50 50 50 50 12 เมตร แรงดึง P 14.5 13.6 13.6 12.7 11.8 13.6 กก. อุณหภูมิ 22 22 22 22 22 22 oC h (ระดับปลายทั้ง สองต่างกัน) 0 0 0 0.50 0.50 0.50 เมตร Example 9 (ต่อ) วิธีทา • พื้นที่หน้าตัดของแถบเหล็ก W/dL = 0.908/(0.0078x5000) = 0.0233 cm2 (W= A.d.L, W น้าหนักทั้งหมด, d ความหนาแน่น, L ความยาว) • น้าหนักช่วงสุดท้าย (ยาว 12 เมตร) คิดตามสัดส่วนของระยะทาง W12เมตร= (0.908/50)x12 = 0.218 กก.
  • 26. 11/23/2010 26 Example 9 (ต่อ) รายการ ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 6 ค่าแก้เนื่องจากแรงดึง +0.004 +0.004 +0.004 +0.003 +0.002 +0.001 ค่าแก้เนื่องจากอุณหภูมิ +0.003 +0.003 +0.003 +0.003 +0.003 +0.003 ค่าแก้เนื่องจาก Sag -0.008 -0.009 -0.009 -0.011 -0.012 -0.000 ค่าแก้เนื่องจาก Slope 0.000 0.000 0.000 -0.002 -0.002 -0.001 รวมค่าแก้ทั้งหมด -0.000 -0.002 -0.002 -0.007 -0.009 +0.001 ระยะทางราบที่ถูกต้อง 50.000 49.998 49.998 49.993 49.991 12.001 รวมระยะทางราบ 261.981 เมตร Example 9 (ต่อ) • ทอนระยะทางทั้งหมดเป็นระยะบนระดับน้าทะเลปานกลาง = (261.981x191.000)/6.371x106 = 261.973 เมตร
  • 27. 11/23/2010 27 สาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการวัดระยะทางด้วยเทป Sources of Errors in Taping สาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการวัดระยะทางด้วยเทป Sources of Errors in Taping (ต่อ)
  • 28. 11/23/2010 28 Random Error ที่เกิดใน Taping • การวัดอุณหภูมิไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้อง • การดึงเทปให้ได้ตามมาตรฐานกาหนด • แรงลมที่พัดลูกดิ่งในการทิ้งดิ่ง • การปักpinคะแนนตรงตาแหน่งของการทิ้งดิ่ง • การถือลูกดิ่งของผู้วัดไม่นิ่ง • การประมาณค่าที่ได้ในการอ่านเทปหลักสุดท้าย • การเล็งแนวของการวัดระยะ เทคนิคการทาแผนที่ด้วยการวัดเทป Baseline Stations and Offset Distances
  • 29. 11/23/2010 29 Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. การใช้ระยะราบร่วมกับมุมราบในการหาระยะที่มีอุปสรรคเช่น ลาน้าเป็นต้น Surveying, 4/E by Jack McCormac Copyright© 2005 by John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. การใช้ระยะราบร่วมกับมุมดิ่งในการคานวณหาความสูงของตึก