SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ตัวแปรอาร์เรย์ (Array Variable)
ตัวแปรอาร์เรย์ (Array Variable) เปรียบเสมือนการนาตัวแปร
มาเรียงต่อกันหลาย ๆ ตัว โดยที่ทุกตัวมีชนิดข้อมูลเดียวกัน มีชื่อตัว
แปรเดียวกัน แต่สามารถอ้างถึงตาแหน่งข้อมูลแต่ละตัวที่เรียงต่อกัน
ด้วยลาดับการจัดเรียง ซึ่งเรียกตาแหน่งข้อมูลแต่ละตัวว่า อินเด็กซ์
(Index)
ตัวแปรอาร์เรย์ในภาษา C นั้น สามารถแยกได้ 2 แบบคือ
1 ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ
2 ตัวแปรอาร์เรย์หลายมิติ
ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ (One Dimension Array)
ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ (One Dimension Array) เปรียบได้
กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกันหลาย ๆ ตัว ในลักษณะของแถว
ข้อมูล ซึ่งเราจะจาลองตัวอย่างตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ ชื่อตัวแปร
intEx1 เป็นตัวแปรชนิดจานวนเต็มที่สามารถเก็บข้อมูลจานวน
เต็มได้ 6 ตัว เช่น
[0] [1] [2] [3] [4] [5]

7

1 5

2 0 0
จากตัวอย่างจะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์สามารถเก็บข้อมูลได้ 6 ตัว โดยที่
ตัวแปรตัวแรก คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 0 มีค่าเท่ากับ 7 ซึ่งสามารถ
เขียนได้เป็น intEx1[0] = 7
ตัวแปรตัวที่ 2 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งสามารถ
เขียนได้เป็น intEx1[1] = 1
ตัวแปรตัวที่ 3 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถ
เขียนได้เป็น intEx1[2] = 5
ตัวแปรตัวที่ 4 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 2 ซึ่งสามารถ
เขียนได้เป็น intEx1[3] = 2
ตัวแปรตัวที่ 5 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งสามารถ
เขียนได้เป็น intEx1[4] = 0
ตัวแปรตัวสุดท้าย คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่ง
สามารถเขียนได้เป็น intEx1[5] = 0
ตัวแปรอาร์เรย์หลายมิติ (multi – Dimension Array)

ตัว แปรอาร์เรย์หลายมิติ คือ ตัวแปรที่มีมุม มองการ
เข้าถึงข้อมูลของตัวแปรได้มากกว่า 1 ด้าน เช่น
• ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ (2 – Dimension Array)
• ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ (3 – Dimension Array)
ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ (2 – Dimension Array)
ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ เปรียบได้กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกัน
หลาย ๆ ตัวในลักษณะของตารางข้อมูล จะเป็นการเก็บข้อมูลในแนว
แถวและหลัก การอ้างถึงเซลล์ในอาร์เรย์จะต้องใช้อินเด็กซ์ที่อ้างไปยัง
แถวและหลัก การเก็บข้อมูลบางประเภทนั้นตัวแปรอาร์เรย์แบบมิติ
เดียวจะทางานไม่สะดวก ซึ่งอาจต้องใช้ตัวแปรอาร์เรย์แบบ 2 มิติ
[0][0] [0][1] [0][2] [0][3] [0][4]

2

0

0

9

1

[1][0] [1][1] [1][2] [1][3] [1][4]

9

8

6

3

2

[2][0] [2][1] [2][2] [2][3] [2][4]

5

7

7

1

5
จะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์ที่มีขนาด 3 แถว 5 คอลัมน์ สามารถเก็บ
ข้อมูลได้ 15 ตัว โดยที่
•
•
•
•
•
•

ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 2 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 2
ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 0
ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 1
ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 5
ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 7 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 7
ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 5
ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ (3 – Dimension Array)
ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ เปรียบได้กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกัน
หลาย ๆ ตั ว ในลั ก ษณะของกล่ อ งข้ อ มู ล หรื อ เรี ย กอี ก อย่ า งว่ า
อาร์เรย์ของอาร์เรย์ 2 มิติ
[0][0][0] [0][0][1] [0][0][2] [0][0][3]
[0][1][0] [0][1][1] [0][1][2] [0][1][3]
9 2
8 5
4 6

1
9
3

7
8
7

[0][2][0] [0][2][1] [0][2][2] [0][2][3]

[1][0][0] [1][0][1] [1][0][2] [1][0][3]
[1][1][0] [1][1][1] [1][1][2] [1][1][3]
[1][2][0] [1][2][1] [1][2][2] [1][2][3]

9 2
8 5
4 6

7
3
2

1
9
3

7
8
7

1 4
7 1
8 9

5
6
2
จะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์ที่มีขนาด 2 บล็อก 3 แถว 4 คอลัมน์ สามารถ
เก็บข้อมูลได้ 24 ตัว
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•

ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 9 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][0] = 9
ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 2 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][1] = 2
ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 1 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][2] = 1
ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 8 เขียนได้เป็น intEx3[0][1][0] = 8
ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 5 เขียนได้เป็น intEx3[0][1][1] = 5
ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[0][2][3] = 7
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][0] = 7
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 1 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][1] = 1
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 4 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][2] = 4
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 3 เขียนได้เป็น intEx3[1][1][0] = 3
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[1][1][1] = 7
ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 2 เขียนได้เป็น intEx3[1][2][3] = 2
การเขียนโปรแกรมกับตัวแปรอาร์เรย์
การใช้ งานตั ว แปรอาร์เ รย์ใ นการเขี ยนโปรแกรม
เช่น
• การประกาศตัวแปรอาร์เรย์
• การกาหนดค่าข้อมูลให้ตัวแปรอาร์เรย์
• การอ้างถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์มีกฎการตั้งชื่อและรูปแบบคาสั่งเหมือนกับ
การประกาศตัวแปรทั่วไป ต่างกันเพียงแค่การประกาศตัวแปรอาร์เรย์
นั้นต้องมีการกาหนดขนาดของตัวแปรไว้เท่านั้นเอง
type varName[k] [m] [n] [={Value}];
โดยที่ type
เป็นชนิดของข้อมูล
varName เป็นชื่อของตัวแปรอาร์เรย์
n
เป็นขนาดคอลัมน์ของตัวแปรอาร์เรย์
m
เป็นขนาดแถวของตัวแปรอาร์เรย์
k
เป็นขนาดบล็อกของตัวแปรอาร์เรย์
Value
เป็นเซตข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์
การกาหนดค่าข้อมูลให้ตัวแปรอาร์เรย์
การกาหนดค่าให้กับตัวแปรอาร์เรย์นั้น มีรูปแบบเหมือนกับ
การกาหนดค่าให้กับตัวแปรทั่วไป ต่างกันเพียงแต่การกาหนดค่าให้กับ
ตัวแปรอาร์เรย์นั้น เราต้องกาหนดตาแหน่งอินเด็กซ์เพื่อระบุตาแหน่ง
ของตัวแปรที่จะกาหนดค่า เช่น
int intNum[5];
char chPassword[4]
float fPrice[4][2];
int intNo[4][5];
int intCount[4][5];

จะเห็นว่ามีการกาหนดขนาดตัวแปรไว้ด้วยเครื่องหมาย [] เช่น
ตัวแปรชนิดจานวนเต็มชื่อ intNo ขนาด 4 แถว 5 คอลัมน์ เป็นต้น
การอ้างถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์
วิ ธี ก ารอ่ า นข้ อ มู ล จากตั ว แปรโดยการระบุ ต าแหน่ ง ข้ อ มู ล ที่
ต้องการลงไป หรือที่เรียกกันว่า อินเด็กซ์ (Index) ซึ่งมีตัวอย่าง
การใช้งานดังนี้
Ans = intScore[2] * 3;
fsum = fPrice[3][2] + fPrice[3][2];
intNum = intNume[1] + intNum[2];
เหนื่อย

ก็
นัก

พักก่อน
www,378700000.com

จากตัวอย่างจะเห็นว่า เราเรียกใช้งานตัวแปรอาร์เรย์โดยระบุ
ตาแหน่งข้อมูลภายในเครื่องหมาย []

เช่น Ans = intScore[2] * 3;

เป็นการกาหนดค่าให้กับตัวแปร Ans โดยมีค่ามาจากผลคูณ
ระหว่างค่าในตัวแปรอาร์เรย์ตาแหน่งที่ 3 กับ 3 เป็นต้น
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
Little Tukta Lita
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
Aon Narinchoti
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
pairtean
 

What's hot (14)

การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ระบบสมการเชิงเส้น1
ระบบสมการเชิงเส้น1ระบบสมการเชิงเส้น1
ระบบสมการเชิงเส้น1
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ภาษาจาวา
ภาษาจาวาภาษาจาวา
ภาษาจาวา
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)
 
4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต
 

Viewers also liked

Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude imagesFace detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
sipij
 

Viewers also liked (7)

Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude imagesFace detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
Face detection using the 3 x3 block rank patterns of gradient magnitude images
 
Poligon
PoligonPoligon
Poligon
 
Resolución de conflictos (Para Estudiantes de Enseñanza Básica)
Resolución de conflictos (Para Estudiantes de Enseñanza Básica)Resolución de conflictos (Para Estudiantes de Enseñanza Básica)
Resolución de conflictos (Para Estudiantes de Enseñanza Básica)
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming Convention
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting Personal
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
 
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job? Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
 

Similar to งานทำ Blog บทที่ 8

บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
Mook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
Areeya Onnom
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
Mook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
Mook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
Mook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
Areeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
Areeya Onnom
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
Mook Sasivimon
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
waradakhantee
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
Lacus Methini
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 

Similar to งานทำ Blog บทที่ 8 (20)

งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
New presentation1
New presentation1New presentation1
New presentation1
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional ArraysJava-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
99
9999
99
 
งาน
งานงาน
งาน
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริงข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 

งานทำ Blog บทที่ 8

  • 1.
  • 2. ตัวแปรอาร์เรย์ (Array Variable) ตัวแปรอาร์เรย์ (Array Variable) เปรียบเสมือนการนาตัวแปร มาเรียงต่อกันหลาย ๆ ตัว โดยที่ทุกตัวมีชนิดข้อมูลเดียวกัน มีชื่อตัว แปรเดียวกัน แต่สามารถอ้างถึงตาแหน่งข้อมูลแต่ละตัวที่เรียงต่อกัน ด้วยลาดับการจัดเรียง ซึ่งเรียกตาแหน่งข้อมูลแต่ละตัวว่า อินเด็กซ์ (Index) ตัวแปรอาร์เรย์ในภาษา C นั้น สามารถแยกได้ 2 แบบคือ 1 ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ 2 ตัวแปรอาร์เรย์หลายมิติ
  • 3. ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ (One Dimension Array) ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ (One Dimension Array) เปรียบได้ กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกันหลาย ๆ ตัว ในลักษณะของแถว ข้อมูล ซึ่งเราจะจาลองตัวอย่างตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ ชื่อตัวแปร intEx1 เป็นตัวแปรชนิดจานวนเต็มที่สามารถเก็บข้อมูลจานวน เต็มได้ 6 ตัว เช่น [0] [1] [2] [3] [4] [5] 7 1 5 2 0 0
  • 4. จากตัวอย่างจะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์สามารถเก็บข้อมูลได้ 6 ตัว โดยที่ ตัวแปรตัวแรก คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 0 มีค่าเท่ากับ 7 ซึ่งสามารถ เขียนได้เป็น intEx1[0] = 7 ตัวแปรตัวที่ 2 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งสามารถ เขียนได้เป็น intEx1[1] = 1 ตัวแปรตัวที่ 3 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถ เขียนได้เป็น intEx1[2] = 5 ตัวแปรตัวที่ 4 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 2 ซึ่งสามารถ เขียนได้เป็น intEx1[3] = 2 ตัวแปรตัวที่ 5 คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งสามารถ เขียนได้เป็น intEx1[4] = 0 ตัวแปรตัวสุดท้าย คือ ตาแหน่งอินเด็กซ์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่ง สามารถเขียนได้เป็น intEx1[5] = 0
  • 5. ตัวแปรอาร์เรย์หลายมิติ (multi – Dimension Array) ตัว แปรอาร์เรย์หลายมิติ คือ ตัวแปรที่มีมุม มองการ เข้าถึงข้อมูลของตัวแปรได้มากกว่า 1 ด้าน เช่น • ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ (2 – Dimension Array) • ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ (3 – Dimension Array)
  • 6. ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ (2 – Dimension Array) ตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ เปรียบได้กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกัน หลาย ๆ ตัวในลักษณะของตารางข้อมูล จะเป็นการเก็บข้อมูลในแนว แถวและหลัก การอ้างถึงเซลล์ในอาร์เรย์จะต้องใช้อินเด็กซ์ที่อ้างไปยัง แถวและหลัก การเก็บข้อมูลบางประเภทนั้นตัวแปรอาร์เรย์แบบมิติ เดียวจะทางานไม่สะดวก ซึ่งอาจต้องใช้ตัวแปรอาร์เรย์แบบ 2 มิติ [0][0] [0][1] [0][2] [0][3] [0][4] 2 0 0 9 1 [1][0] [1][1] [1][2] [1][3] [1][4] 9 8 6 3 2 [2][0] [2][1] [2][2] [2][3] [2][4] 5 7 7 1 5
  • 7. จะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์ที่มีขนาด 3 แถว 5 คอลัมน์ สามารถเก็บ ข้อมูลได้ 15 ตัว โดยที่ • • • • • • ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 2 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 2 ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 0 ตัวแปรแถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 1 ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 5 ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 7 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 7 ตัวแปรแถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 5 มีค่าเท่ากับ 5 ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น intEx2[0][0] = 5
  • 8. ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ (3 – Dimension Array) ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ เปรียบได้กับการนาตัวแปรมาเรียงต่อกัน หลาย ๆ ตั ว ในลั ก ษณะของกล่ อ งข้ อ มู ล หรื อ เรี ย กอี ก อย่ า งว่ า อาร์เรย์ของอาร์เรย์ 2 มิติ [0][0][0] [0][0][1] [0][0][2] [0][0][3] [0][1][0] [0][1][1] [0][1][2] [0][1][3] 9 2 8 5 4 6 1 9 3 7 8 7 [0][2][0] [0][2][1] [0][2][2] [0][2][3] [1][0][0] [1][0][1] [1][0][2] [1][0][3] [1][1][0] [1][1][1] [1][1][2] [1][1][3] [1][2][0] [1][2][1] [1][2][2] [1][2][3] 9 2 8 5 4 6 7 3 2 1 9 3 7 8 7 1 4 7 1 8 9 5 6 2
  • 9. จะเห็นว่า ตัวแปรอาร์เรย์ที่มีขนาด 2 บล็อก 3 แถว 4 คอลัมน์ สามารถ เก็บข้อมูลได้ 24 ตัว • • • • • • • • • • • • ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 9 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][0] = 9 ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 2 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][1] = 2 ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 1 เขียนได้เป็น intEx3[0][0][2] = 1 ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 8 เขียนได้เป็น intEx3[0][1][0] = 8 ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 5 เขียนได้เป็น intEx3[0][1][1] = 5 ตัวแปรบล็อกที่ 1 แถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[0][2][3] = 7 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][0] = 7 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 1 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][1] = 1 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 1 คอลัมน์ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 4 เขียนได้เป็น intEx3[1][0][2] = 4 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 3 เขียนได้เป็น intEx3[1][1][0] = 3 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 7 เขียนได้เป็น intEx3[1][1][1] = 7 ตัวแปรบล็อกที่ 2 แถวที่ 3 คอลัมน์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 2 เขียนได้เป็น intEx3[1][2][3] = 2
  • 10. การเขียนโปรแกรมกับตัวแปรอาร์เรย์ การใช้ งานตั ว แปรอาร์เ รย์ใ นการเขี ยนโปรแกรม เช่น • การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ • การกาหนดค่าข้อมูลให้ตัวแปรอาร์เรย์ • การอ้างถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์
  • 11. การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ การประกาศตัวแปรอาร์เรย์มีกฎการตั้งชื่อและรูปแบบคาสั่งเหมือนกับ การประกาศตัวแปรทั่วไป ต่างกันเพียงแค่การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ นั้นต้องมีการกาหนดขนาดของตัวแปรไว้เท่านั้นเอง type varName[k] [m] [n] [={Value}]; โดยที่ type เป็นชนิดของข้อมูล varName เป็นชื่อของตัวแปรอาร์เรย์ n เป็นขนาดคอลัมน์ของตัวแปรอาร์เรย์ m เป็นขนาดแถวของตัวแปรอาร์เรย์ k เป็นขนาดบล็อกของตัวแปรอาร์เรย์ Value เป็นเซตข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์
  • 12. การกาหนดค่าข้อมูลให้ตัวแปรอาร์เรย์ การกาหนดค่าให้กับตัวแปรอาร์เรย์นั้น มีรูปแบบเหมือนกับ การกาหนดค่าให้กับตัวแปรทั่วไป ต่างกันเพียงแต่การกาหนดค่าให้กับ ตัวแปรอาร์เรย์นั้น เราต้องกาหนดตาแหน่งอินเด็กซ์เพื่อระบุตาแหน่ง ของตัวแปรที่จะกาหนดค่า เช่น int intNum[5]; char chPassword[4] float fPrice[4][2]; int intNo[4][5]; int intCount[4][5]; จะเห็นว่ามีการกาหนดขนาดตัวแปรไว้ด้วยเครื่องหมาย [] เช่น ตัวแปรชนิดจานวนเต็มชื่อ intNo ขนาด 4 แถว 5 คอลัมน์ เป็นต้น
  • 13. การอ้างถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์ วิ ธี ก ารอ่ า นข้ อ มู ล จากตั ว แปรโดยการระบุ ต าแหน่ ง ข้ อ มู ล ที่ ต้องการลงไป หรือที่เรียกกันว่า อินเด็กซ์ (Index) ซึ่งมีตัวอย่าง การใช้งานดังนี้ Ans = intScore[2] * 3; fsum = fPrice[3][2] + fPrice[3][2]; intNum = intNume[1] + intNum[2]; เหนื่อย ก็ นัก พักก่อน
  • 14. www,378700000.com จากตัวอย่างจะเห็นว่า เราเรียกใช้งานตัวแปรอาร์เรย์โดยระบุ ตาแหน่งข้อมูลภายในเครื่องหมาย [] เช่น Ans = intScore[2] * 3; เป็นการกาหนดค่าให้กับตัวแปร Ans โดยมีค่ามาจากผลคูณ ระหว่างค่าในตัวแปรอาร์เรย์ตาแหน่งที่ 3 กับ 3 เป็นต้น
  • 15. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER