SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ตัวแปรชนิดอาร์เรย์และสตริง
(Array and String)
ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array)
ตัวแปรอาร์เรย์(Array) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าตัวแปรชุด เป็นการจองพื้นที่ในหน่วยความจา
ให้กับตัวแปร เพื่อให้ตัวแปรนั้นสามารถรับข้อมูลหรือเก็บข้อมูลได้มากกว่า1 ค่า ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในอาร์เรย์
จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น และตัวแปรอาร์เรย์สามารถใช้งานได้เหมือนกับตัวแปรทั่วไป
ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1.อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional)
2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ คือ อาร์เรย์ที่มีเพียง 1 แถวนอน แต่มี แถวตั้งหลายแถว ซึ่งในการระบุตาแหน่งหรือตัวชี้ (index)
จะมีแต่ระบุแต่ตาแหน่งของแถวตั้งเท่านั้น โดยนับเริ่มจาก 0 ในตาแหน่งที่ 0 (score[0]) จะมีค่า 2
การสร้างอาร์เรย์
ในการสร้างการสร้างอาร์เรย์นั้นสามารถทาได้ใน 2 รูปแบบ คือ
1. เป็นการสร้างตัวแปรอาร์เรย์โดยยังไม่ได้กาหนดค่าให้กับอาเรย์ เป็นเพียงแต่การจองพื้นที่ใน
หน่วยความจา
dataType [ ] arrayName = new dataType[arraySize]; หรือ
dataType arrayName [ ] = new dataType[arraySize];
dataType = ชนิดข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์เช่น int ,double เป็นต้น
arrayName = ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์
เช่น int [ ] myList = new int [10]
double name[ ] = new double [5]
จากตัวอย่าง ตัวแปรชื่อ myList เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิด int มีขนาด 10 ส่วนตัวแปรชื่อ name
นั้นมีชนิดเป็น double และมีขนาดเป็น 5 เครื่องหมาย [ ] นั้นจะเป็น index เพื่อใช้บอกตาแหน่งของตัว
อาร์เรย์นั้นๆ ซึ่งจะเริ่มต้นที่ 0 เสมอ เช่น จากตัวอย่างตัวแปร name ถูกกาหนดขนาดไว้เท่ากับ 5 พื้นที่ที่
ถูกจองก็จะเป็นดังรูป
2. การสร้างอาร์เรย์พร้อมกับกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่
ตอนประกาศตัวแปร โดยค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย{ } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วย
เครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[] = {10,20,30,40,50 } ; ดังรูป
ตัวอย่างโปรแกรม
int n[5] = { 5, 3, 2, 6, 1 }; int i , j;
for ( i = 0; i < 5; i++ )
{
for ( j = 1; j <= n[i]; j++ )
System.out.print( “*” );
System.out.print ( "n" );
}
อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุด ที่มีการจัดการข้อมูล แถว (Row) หลัก (Column) ซึ่งอยู่ในรูปแบบ
ตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว
อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
การกาหนดค่าเริ่มต้น
หลังจากที่ได้ทาการประกาศและกาหนดลักษณะของอาร์เรย์แล้วในแต่ละ Element ของอาร์เรย์จะยังไม่มีค่า
บรรจุอยู่ ในการกาหนดค่าเริ่มต้นของ Element แต่ละตัวสามารถทาได้หลังจากการประกาศ ตัวอย่างสมมุติว่า
ต้องการใช้ 20 ค่า การกาหนดค่าเริ่มต้นแบบทางเดียวจะเป็นดังนี้
int table [5] [4]; =
{ 0, 1, 2, 3, 10, 11, 12, 13, 20, 21, 22, 23, 30, 31, 32, 33, 40, 41, 42, 43 }
;
หรือการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์วิธีที่ดีที่สุดจะเป็นดังนี้
int table [5] [4];
{
{ 0, 1, 2, 3 },
{10, 11, 12, 13 },
{20, 21, 22, 23 },
{30, 31, 32, 33 },
{40, 41, 42, 43 }
}; /* table */
การรับค่า
เป็นการใช้ฟังก์ชัน scanf มารับค่าใส่ลงในแต่ละ Element ของอาร์เรย์2 มิตินั้น จะต้องใช้ลูป 2 ลูปซ้อน
กัน สมมุติว่าอาร์เรย์มีขนาด n m ลูปแรกจะเป็นของแถวโดยจะทาตั้งแต่ 0 ถึง n – 1 ส่วนลูปที่ 2 จะเป็นของ
คอลัมน์จะทาตั้งแต่ 0 ถึง m – 1 ถ้าต้องการรับค่าเข้าในอาร์เรย์ในรูปที่ 8-14 สามารถทาได้ดังนี้
for (row = 0; row < 5; row++)
for (column = 0; column < 4; column++)
scanf (“%d”,&table[row][column]);
การแสดงค่า
เป็นการนาค่าในแต่ละ Element ออกมาแสดง โดยใช้ลูป for ซ้อนกัน 2 ลูปเข้ามาช่วย โดยลูปแรกจะเป็น
ตัวควบคุมการพิมพ์ของแถว และลูปที่ 2 จะเป็นตัวควบคุมการพิมพ์ของคอลัมน์ เมื่อจะพิมพ์อาร์เรย์table
ออกมาเป็นรูปแบบตาราง จะต้องทาการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้ง เมื่อพิมพ์แต่ละแถวจบ ซึ่งแสดงดังตัวอย่าง
ด้านล่าง
for (row = 0; row < 5; row++)
{
for (Colum =0; column < 4; column++)
printf(“%8d”, tale[row][column]);
printf(“n”);
}
การกาหนดค่า
เป็นการกาหนดค่าให้กับเฉพาะ Element โดยการใช้เครื่องกาหนดค่าหรือ = นั่นเอง ตัวอย่างเช่น
table[2][0] = 23;
table[0][1] = table[3][2] + 15;
3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
อาร์เรย์3 มิติ ก็คือ “อาร์เรย์ของอาร์เรย์ของอาร์เรย์” – เข้าถึงสมาชิกด้วย ตัวเลขดัชนี (index) 3
ตัว
การกาหนดตัวแปร
ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก];
การกาหนดค่าให้ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ
int data[2][3][2] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6}}};
ในกรณีที่ไม่ต้องใส่ขนาดของมิติ
int data[ ][ ] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6},{7,7}}};
int data[2][3][1] = {{{1},{2},{3}},{{4},{5},{6}}};
สตริง(string)หมายถึง ชุด(array) ของตัวอักขระ (character) ที่เรียงต่อกันสตริงจะเป็นคาหรือ
ข้อความที่มีความหมายใน C++ ไม่มีชนิดข้อมูล ประเภทstring การกาหนดstringคือการกาหนดเป็น
อาร์เรย์ของข้อมูลชนิดchar หลายๆตัวนามาเชื่อมต่อกันเป็นstring เช่น
character 'C','o','m','p','u','t','e','r' เก็บไว้ในอาร์เรย์รวมเป็นข้อมูล string ซึ่งจะได้ข้ออค
วาม "Computer" ข้อมูลstring เป็นได้ทั้งค่าคงที่ (constant) และตัวแปร(variable)
ข้อมูลชนิดสตริง
(String)
ความยาวสตริง (String Length) เป็นการบอกให้ทราบว่าสตริงตัวนั้นมีตัวอักษรหรือ ความยาว
เท่าไร จะกาหนดเป็นฟังก์ชัน Length ที่ส่งค่าความยาวกลับมาให้ ดังนี้
N = Length (S) ;
ค่าที่ส่งกลับมาเท่ากับ N
รวมสตริง (String Concatenation) เป็นการนา 2 สตริงมารวมกันเป็นสตริงเดียว โดย
นาตัวอักษรทั้งหมดของสตริงตัวหลังไปต่อท้ายสตริงตัวแรก กาหนดเป็นฟังก์ชัน Concate ดังนี้
Concate (S, S1);
ค่าคงที่สตริงและตัวแปรสตริง (string constants and string variables)
ค่าคงที่สตริง คือ ตัวอักขระ (characters) ใด ๆ ที่เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “
“ (double quotation) เช่น “Greeting!” , ”Hello, ” ”SA-WAS-DEE” ,
“4567” , “123.45” เป็นต้น
ตัวแปรสตริง คือ ตัวแปรชุดที่เก็บค่าคงที่ชนิดสตริง โดยมีชนิดของตัวแปรชุด
เป็น char เช่น char name[30]=”KANNIKAR”; หรือ
char strnum[10]=”12345”; เป็นต้น
สาหรับการเก็บค่าคงที่ชนิดสตริงไว้ในตัวแปรสตริงภายในหน่วยความจานั้น จะเก็บเรียงกันไปทีละตัว
อักขระ โดยใช้เนื้อที่ 1 byte ต่อการเก็บตัวอักษร 1 ตัว และใน byte สุดท้ายสตริงจะมีการ
เก็บ 0 (null character) ไว้เพื่อเป็นการบอกให้ compiler รู้ว่าหมดข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766CUPress
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysWongyos Keardsri
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1binLy
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsWongyos Keardsri
 

What's hot (18)

ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริงข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Array 2
Array 2Array 2
Array 2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Array1
Array1Array1
Array1
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String Operations
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 

Viewers also liked (12)

String c++
String c++String c++
String c++
 
Case studies
Case studiesCase studies
Case studies
 
Strinng Classes in c++
Strinng Classes in c++Strinng Classes in c++
Strinng Classes in c++
 
String Handling in c++
String Handling in c++String Handling in c++
String Handling in c++
 
String handling(string class)
String handling(string class)String handling(string class)
String handling(string class)
 
String Handling
String HandlingString Handling
String Handling
 
C/C++ History in few slides
C/C++ History in few slides C/C++ History in few slides
C/C++ History in few slides
 
History of c++
History of c++ History of c++
History of c++
 
Arrays
ArraysArrays
Arrays
 
Array in c language
Array in c languageArray in c language
Array in c language
 
C++ ppt
C++ pptC++ ppt
C++ ppt
 
Deep C
Deep CDeep C
Deep C
 

Similar to New presentation1

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ploy StopDark
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5tyt13
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอPz'Peem Kanyakamon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระBoOm mm
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5Thachanok Plubpibool
 

Similar to New presentation1 (20)

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
99
9999
99
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 

More from Nantiporn Khamluepluk

นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29Nantiporn Khamluepluk
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมNantiporn Khamluepluk
 
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นวิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นNantiporn Khamluepluk
 

More from Nantiporn Khamluepluk (6)

ข่าวไอทีนิว
ข่าวไอทีนิว ข่าวไอทีนิว
ข่าวไอทีนิว
 
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
 
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นวิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
 

New presentation1

  • 2. ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array) ตัวแปรอาร์เรย์(Array) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าตัวแปรชุด เป็นการจองพื้นที่ในหน่วยความจา ให้กับตัวแปร เพื่อให้ตัวแปรนั้นสามารถรับข้อมูลหรือเก็บข้อมูลได้มากกว่า1 ค่า ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในอาร์เรย์ จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น และตัวแปรอาร์เรย์สามารถใช้งานได้เหมือนกับตัวแปรทั่วไป ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด 1.อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional) 2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional) 3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
  • 3. อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional) อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ คือ อาร์เรย์ที่มีเพียง 1 แถวนอน แต่มี แถวตั้งหลายแถว ซึ่งในการระบุตาแหน่งหรือตัวชี้ (index) จะมีแต่ระบุแต่ตาแหน่งของแถวตั้งเท่านั้น โดยนับเริ่มจาก 0 ในตาแหน่งที่ 0 (score[0]) จะมีค่า 2 การสร้างอาร์เรย์ ในการสร้างการสร้างอาร์เรย์นั้นสามารถทาได้ใน 2 รูปแบบ คือ 1. เป็นการสร้างตัวแปรอาร์เรย์โดยยังไม่ได้กาหนดค่าให้กับอาเรย์ เป็นเพียงแต่การจองพื้นที่ใน หน่วยความจา dataType [ ] arrayName = new dataType[arraySize]; หรือ dataType arrayName [ ] = new dataType[arraySize]; dataType = ชนิดข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์เช่น int ,double เป็นต้น arrayName = ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์
  • 4. เช่น int [ ] myList = new int [10] double name[ ] = new double [5] จากตัวอย่าง ตัวแปรชื่อ myList เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิด int มีขนาด 10 ส่วนตัวแปรชื่อ name นั้นมีชนิดเป็น double และมีขนาดเป็น 5 เครื่องหมาย [ ] นั้นจะเป็น index เพื่อใช้บอกตาแหน่งของตัว อาร์เรย์นั้นๆ ซึ่งจะเริ่มต้นที่ 0 เสมอ เช่น จากตัวอย่างตัวแปร name ถูกกาหนดขนาดไว้เท่ากับ 5 พื้นที่ที่ ถูกจองก็จะเป็นดังรูป
  • 5. 2. การสร้างอาร์เรย์พร้อมกับกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ ตอนประกาศตัวแปร โดยค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย{ } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วย เครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[] = {10,20,30,40,50 } ; ดังรูป
  • 6. ตัวอย่างโปรแกรม int n[5] = { 5, 3, 2, 6, 1 }; int i , j; for ( i = 0; i < 5; i++ ) { for ( j = 1; j <= n[i]; j++ ) System.out.print( “*” ); System.out.print ( "n" ); }
  • 7. อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุด ที่มีการจัดการข้อมูล แถว (Row) หลัก (Column) ซึ่งอยู่ในรูปแบบ ตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง 2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
  • 8. การกาหนดค่าเริ่มต้น หลังจากที่ได้ทาการประกาศและกาหนดลักษณะของอาร์เรย์แล้วในแต่ละ Element ของอาร์เรย์จะยังไม่มีค่า บรรจุอยู่ ในการกาหนดค่าเริ่มต้นของ Element แต่ละตัวสามารถทาได้หลังจากการประกาศ ตัวอย่างสมมุติว่า ต้องการใช้ 20 ค่า การกาหนดค่าเริ่มต้นแบบทางเดียวจะเป็นดังนี้ int table [5] [4]; = { 0, 1, 2, 3, 10, 11, 12, 13, 20, 21, 22, 23, 30, 31, 32, 33, 40, 41, 42, 43 } ; หรือการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์วิธีที่ดีที่สุดจะเป็นดังนี้ int table [5] [4]; { { 0, 1, 2, 3 }, {10, 11, 12, 13 }, {20, 21, 22, 23 }, {30, 31, 32, 33 }, {40, 41, 42, 43 } }; /* table */
  • 9. การรับค่า เป็นการใช้ฟังก์ชัน scanf มารับค่าใส่ลงในแต่ละ Element ของอาร์เรย์2 มิตินั้น จะต้องใช้ลูป 2 ลูปซ้อน กัน สมมุติว่าอาร์เรย์มีขนาด n m ลูปแรกจะเป็นของแถวโดยจะทาตั้งแต่ 0 ถึง n – 1 ส่วนลูปที่ 2 จะเป็นของ คอลัมน์จะทาตั้งแต่ 0 ถึง m – 1 ถ้าต้องการรับค่าเข้าในอาร์เรย์ในรูปที่ 8-14 สามารถทาได้ดังนี้ for (row = 0; row < 5; row++) for (column = 0; column < 4; column++) scanf (“%d”,&table[row][column]);
  • 10. การแสดงค่า เป็นการนาค่าในแต่ละ Element ออกมาแสดง โดยใช้ลูป for ซ้อนกัน 2 ลูปเข้ามาช่วย โดยลูปแรกจะเป็น ตัวควบคุมการพิมพ์ของแถว และลูปที่ 2 จะเป็นตัวควบคุมการพิมพ์ของคอลัมน์ เมื่อจะพิมพ์อาร์เรย์table ออกมาเป็นรูปแบบตาราง จะต้องทาการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้ง เมื่อพิมพ์แต่ละแถวจบ ซึ่งแสดงดังตัวอย่าง ด้านล่าง for (row = 0; row < 5; row++) { for (Colum =0; column < 4; column++) printf(“%8d”, tale[row][column]); printf(“n”); }
  • 12. 3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional) อาร์เรย์3 มิติ ก็คือ “อาร์เรย์ของอาร์เรย์ของอาร์เรย์” – เข้าถึงสมาชิกด้วย ตัวเลขดัชนี (index) 3 ตัว
  • 13. การกาหนดตัวแปร ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก]; การกาหนดค่าให้ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ int data[2][3][2] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6}}}; ในกรณีที่ไม่ต้องใส่ขนาดของมิติ int data[ ][ ] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6},{7,7}}}; int data[2][3][1] = {{{1},{2},{3}},{{4},{5},{6}}};
  • 14. สตริง(string)หมายถึง ชุด(array) ของตัวอักขระ (character) ที่เรียงต่อกันสตริงจะเป็นคาหรือ ข้อความที่มีความหมายใน C++ ไม่มีชนิดข้อมูล ประเภทstring การกาหนดstringคือการกาหนดเป็น อาร์เรย์ของข้อมูลชนิดchar หลายๆตัวนามาเชื่อมต่อกันเป็นstring เช่น character 'C','o','m','p','u','t','e','r' เก็บไว้ในอาร์เรย์รวมเป็นข้อมูล string ซึ่งจะได้ข้ออค วาม "Computer" ข้อมูลstring เป็นได้ทั้งค่าคงที่ (constant) และตัวแปร(variable) ข้อมูลชนิดสตริง (String)
  • 15. ความยาวสตริง (String Length) เป็นการบอกให้ทราบว่าสตริงตัวนั้นมีตัวอักษรหรือ ความยาว เท่าไร จะกาหนดเป็นฟังก์ชัน Length ที่ส่งค่าความยาวกลับมาให้ ดังนี้ N = Length (S) ; ค่าที่ส่งกลับมาเท่ากับ N รวมสตริง (String Concatenation) เป็นการนา 2 สตริงมารวมกันเป็นสตริงเดียว โดย นาตัวอักษรทั้งหมดของสตริงตัวหลังไปต่อท้ายสตริงตัวแรก กาหนดเป็นฟังก์ชัน Concate ดังนี้ Concate (S, S1);
  • 16. ค่าคงที่สตริงและตัวแปรสตริง (string constants and string variables) ค่าคงที่สตริง คือ ตัวอักขระ (characters) ใด ๆ ที่เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “ “ (double quotation) เช่น “Greeting!” , ”Hello, ” ”SA-WAS-DEE” , “4567” , “123.45” เป็นต้น ตัวแปรสตริง คือ ตัวแปรชุดที่เก็บค่าคงที่ชนิดสตริง โดยมีชนิดของตัวแปรชุด เป็น char เช่น char name[30]=”KANNIKAR”; หรือ char strnum[10]=”12345”; เป็นต้น สาหรับการเก็บค่าคงที่ชนิดสตริงไว้ในตัวแปรสตริงภายในหน่วยความจานั้น จะเก็บเรียงกันไปทีละตัว อักขระ โดยใช้เนื้อที่ 1 byte ต่อการเก็บตัวอักษร 1 ตัว และใน byte สุดท้ายสตริงจะมีการ เก็บ 0 (null character) ไว้เพื่อเป็นการบอกให้ compiler รู้ว่าหมดข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว