SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ข้อมูลชุดอาร์เรย์
และสตริง
ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ
อาร์เรย์ คือชุดตัวแปรที่มีชื่อตัวแปรและตัวแปรชนิดเดียวกัน มักใช้กับตัวแปรชนิดเดียวกันหลายๆตัว มี
การทางานเหมือนกัน เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นช่องสาหรับเก็บข้อมูล เช่น อาร์เรย์ของข้อมูล
ข้อความ อาร์เรย์ของตัวเลขทศนิยม อาร์เรย์ของตัวอักษร หรืออาร์เรย์ของตัวเลขจานวนเต็มก็ได้
 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
 ลักษณะของอาร์เรย์ จะประกอบไปด้วย
1. ชื่อของอาร์เรย์
2. ขนาดของอาร์เรย์
3. ค่าสูงสุด และค่าต่าสุด
ตัวแปรอาร์เรย์ 1มิติ
อาร์เรย์ 1 มิติ
เป็นแบบของการอ้าวอิงหรือการเข้าถึงสมาชิกตัวใดตัวหนึ่ง เช่น กาหนด A เป็นอาร์เรย์ 1 มิติ มีสมาชิก 1
ถึง N จะได้สมาชิกของ A เป็น A[1],A[2],A[3] ... A[N] นั้นคือตัวบอกลาดับ
การประกาศอาร์เรย์หลายตัวทาได้ดังนี้
int [] abc , xyz;
abc = new int[500];
xyz = new int[10];
หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้
int[] abc = new int [500], xyz = new int[10];
***ข้อควรระวัง
int [] a , b ; a และ b เป็น Array
int a[], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ
สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ตอนประกาศ
ตัวแปรค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามี
มากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย ,(comma)
เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ;
ถ้าในตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่า
เริ่มต้นให้กับมันแล้ว ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นค่าที่ค้าง
อยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์นั้น
ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร
แต่กาหนดไม่ครบ ในกรณีที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลข
ทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนด
เป็น 0 โดยอัตโนมัติ
เช่น float price[5] = {50.5,2.25,10.0} ;
***เราไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาด
ของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมัน
ตั้งแต่แรก
การประมวลผลอาร์เรย์
Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะเป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของอาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่า
ตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores เราจะเข้าถึง Element แรกได้ดังนี้
scores[0]
และถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด ก็สามารถใช้ลูปเข้ามาช่วยได้ดังตัวอย่างด้านล่างนี้
for (i=0;<9;i++)
scores[i]…;
อาร์เรย์กับการผ่านค่า
การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ Array ( Reference )
เข้าไปให้กับ Parameter ของ Method
อาร์เรย์ของออบเจ็กต์
อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้ โดยกาหนดให้อาเรย์ เป็น Class นั้นๆ ในตอนประกาศ
อาเรย์ มีรูปแบบดังนี้
className [] arrayName = new className[size];
เช่น Student [ ] studentList = new Student[10];
Student [ ] studentList = new Student[3];
studentList[0] = new Student();
studentList[1] = new Student();
studentList[2] = new Student();
ในภาษา Java อาร์เรย์สามารถเป็นแบบสองมิติได้ โดยอาร์เรย์สองมิตินั้นจะเป็นเหมือนการเก็บค่าใน
ตารางที่มีแถวและคอลัมน์ โดยรูปแบบการประกาศอาร์เรย์สองมิติเป็นดังนี้
อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว) , Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง
ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว
อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
อาร์เรย์ 2 มิติ
ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่างจาก array ปกติที่จะเป็นการกาหนด
ขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่ ArrayList จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนด
ขนาดเฉพาะไว้ก่อน
การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา
import java.util.ArrayList;
method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้
1.add(ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมุลในอาร์เรย์)
2.remove(ตาแหน่งอาร์เรย์)
3.get(ตาแหน่งอาร์เรย์)
4.indexOf(ข้อมูลอาร์เรย์)
5.ชื่ออาร์เรย์.size()
คลาส ArrayList
เป็นออปเจค (Object) ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจากคลาสสตริง (Class String) ถ้าต้องการสร้างออปเจค
จากคลาสสตริง ต้องประกาศดังนี้
String str = new String(“Java”);
หรือ String str = “Java”;
ถ้าเราต้องการให้ str มีค่าว่างต้องประกาศเช่นนี้ String str = null;
การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูลตัวอักษรโดยเก็บเรียง
กันไป แบะส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริงจะใช้ Null Characterหรือ ‘0’
สตริง(String)
การเปรียบเทียบ String
การเปรียบเทียบ String
ใช้เครื่องหมาย = =
เป็นการเปรียบเทียบว่า String 2 ตัวเป็น Object เดียวกันหรือไม่ โดยจะ เปรียบเทียบค่าอ้างอิงหรือที่อยู่ใน
หน่วยความจาของตัวแปรทั้งสอง ไม่ได้เป็นการ เปรียบเทียบถึงข้อมูลที่ String ทั้ง 2 ตัวว่าเก็บข้อมูลเดียวกันหรือไม่
คลาสสตริงบัฟเฟอร์และสตริงบิลเดอร์
เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุ่นและใช้งานได้หลากหลายกว่า String Class
ทั้งนี้ String Buffer Class จะมี Constructor ให้เลือกใช้ได้ 3 Constructor ได้แก่
– String Buffer() ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมีความยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร
– String Buffer(int length) ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่า
ของ length ที่ส่งมาให้
– String Buffer(String str) ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่มีข้อมูลตาม Argument “str” ที่ส่งมา โดย
ความยาวก็จะขึ้นอยู่กับความยาวของ str เท่านั้น
มีคุณสมบัติคล้ายๆกับ String Buffer แต่ต่างกันตรงที่ String Builder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้
ทางานได้เร็วกว่า String Buffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
จัดทาโดย
นางสาวทิพรัตน์ สุพรรณศรี เลขที่ 9
นางสาวพิชญ์สินี วิเศษสิงห์ เลขที่ 10
นางสาวภาฏิญา ทิมอรรถ เลขที่ 11
นางสาววริศรา คาทา เลขที่ 12
นางสาววาณิชย์ สงวนศักดิ์ เลขที่ 13
นางสาวศิริประภา วันจิ๋ว เลขที่ 14
นางสาวขนิษฐา เอี่ยมประเสริฐ เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

More Related Content

What's hot

โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงNaphamas
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ploy StopDark
 
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์mansuang1978
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5tyt13
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระSanita Fakbua
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระเกศรา ลิขิตสกุลวงศ์
 

What's hot (19)

งาน
งานงาน
งาน
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
อาร เรย
อาร เรย อาร เรย
อาร เรย
 
Array 2
Array 2Array 2
Array 2
 
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
 
Array1
Array1Array1
Array1
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
..Arrays..
..Arrays....Arrays..
..Arrays..
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 

Similar to ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง

ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระBoOm mm
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5Thachanok Plubpibool
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมEveEim Elf
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอPz'Peem Kanyakamon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระwebsite22556
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระPongspak kamonsri
 
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระงานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระPongspak kamonsri
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระPongspak kamonsri
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมthanaluhk
 

Similar to ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง (20)

New presentation1
New presentation1New presentation1
New presentation1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระงานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง

  • 2. ตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ อาร์เรย์ คือชุดตัวแปรที่มีชื่อตัวแปรและตัวแปรชนิดเดียวกัน มักใช้กับตัวแปรชนิดเดียวกันหลายๆตัว มี การทางานเหมือนกัน เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นช่องสาหรับเก็บข้อมูล เช่น อาร์เรย์ของข้อมูล ข้อความ อาร์เรย์ของตัวเลขทศนิยม อาร์เรย์ของตัวอักษร หรืออาร์เรย์ของตัวเลขจานวนเต็มก็ได้  ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional) อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional) อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)  ลักษณะของอาร์เรย์ จะประกอบไปด้วย 1. ชื่อของอาร์เรย์ 2. ขนาดของอาร์เรย์ 3. ค่าสูงสุด และค่าต่าสุด
  • 3. ตัวแปรอาร์เรย์ 1มิติ อาร์เรย์ 1 มิติ เป็นแบบของการอ้าวอิงหรือการเข้าถึงสมาชิกตัวใดตัวหนึ่ง เช่น กาหนด A เป็นอาร์เรย์ 1 มิติ มีสมาชิก 1 ถึง N จะได้สมาชิกของ A เป็น A[1],A[2],A[3] ... A[N] นั้นคือตัวบอกลาดับ การประกาศอาร์เรย์หลายตัวทาได้ดังนี้ int [] abc , xyz; abc = new int[500]; xyz = new int[10]; หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้ int[] abc = new int [500], xyz = new int[10]; ***ข้อควรระวัง int [] a , b ; a และ b เป็น Array int a[], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
  • 4. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ตอนประกาศ ตัวแปรค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามี มากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย ,(comma) เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ; ถ้าในตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่า เริ่มต้นให้กับมันแล้ว ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นค่าที่ค้าง อยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์นั้น ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร แต่กาหนดไม่ครบ ในกรณีที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลข ทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนด เป็น 0 โดยอัตโนมัติ เช่น float price[5] = {50.5,2.25,10.0} ; ***เราไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาด ของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมัน ตั้งแต่แรก
  • 5. การประมวลผลอาร์เรย์ Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะเป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของอาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่า ตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores เราจะเข้าถึง Element แรกได้ดังนี้ scores[0] และถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด ก็สามารถใช้ลูปเข้ามาช่วยได้ดังตัวอย่างด้านล่างนี้ for (i=0;<9;i++) scores[i]…;
  • 6. อาร์เรย์กับการผ่านค่า การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ Array ( Reference ) เข้าไปให้กับ Parameter ของ Method
  • 7. อาร์เรย์ของออบเจ็กต์ อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้ โดยกาหนดให้อาเรย์ เป็น Class นั้นๆ ในตอนประกาศ อาเรย์ มีรูปแบบดังนี้ className [] arrayName = new className[size]; เช่น Student [ ] studentList = new Student[10]; Student [ ] studentList = new Student[3]; studentList[0] = new Student(); studentList[1] = new Student(); studentList[2] = new Student();
  • 8. ในภาษา Java อาร์เรย์สามารถเป็นแบบสองมิติได้ โดยอาร์เรย์สองมิตินั้นจะเป็นเหมือนการเก็บค่าใน ตารางที่มีแถวและคอลัมน์ โดยรูปแบบการประกาศอาร์เรย์สองมิติเป็นดังนี้ อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว) , Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง อาร์เรย์ 2 มิติ
  • 9. ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่างจาก array ปกติที่จะเป็นการกาหนด ขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่ ArrayList จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนด ขนาดเฉพาะไว้ก่อน การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา import java.util.ArrayList; method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้ 1.add(ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมุลในอาร์เรย์) 2.remove(ตาแหน่งอาร์เรย์) 3.get(ตาแหน่งอาร์เรย์) 4.indexOf(ข้อมูลอาร์เรย์) 5.ชื่ออาร์เรย์.size() คลาส ArrayList
  • 10. เป็นออปเจค (Object) ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจากคลาสสตริง (Class String) ถ้าต้องการสร้างออปเจค จากคลาสสตริง ต้องประกาศดังนี้ String str = new String(“Java”); หรือ String str = “Java”; ถ้าเราต้องการให้ str มีค่าว่างต้องประกาศเช่นนี้ String str = null; การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูลตัวอักษรโดยเก็บเรียง กันไป แบะส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริงจะใช้ Null Characterหรือ ‘0’ สตริง(String)
  • 11. การเปรียบเทียบ String การเปรียบเทียบ String ใช้เครื่องหมาย = = เป็นการเปรียบเทียบว่า String 2 ตัวเป็น Object เดียวกันหรือไม่ โดยจะ เปรียบเทียบค่าอ้างอิงหรือที่อยู่ใน หน่วยความจาของตัวแปรทั้งสอง ไม่ได้เป็นการ เปรียบเทียบถึงข้อมูลที่ String ทั้ง 2 ตัวว่าเก็บข้อมูลเดียวกันหรือไม่
  • 12. คลาสสตริงบัฟเฟอร์และสตริงบิลเดอร์ เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุ่นและใช้งานได้หลากหลายกว่า String Class ทั้งนี้ String Buffer Class จะมี Constructor ให้เลือกใช้ได้ 3 Constructor ได้แก่ – String Buffer() ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมีความยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร – String Buffer(int length) ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่า ของ length ที่ส่งมาให้ – String Buffer(String str) ใช้ในการสร้าง String Buffer ที่มีข้อมูลตาม Argument “str” ที่ส่งมา โดย ความยาวก็จะขึ้นอยู่กับความยาวของ str เท่านั้น มีคุณสมบัติคล้ายๆกับ String Buffer แต่ต่างกันตรงที่ String Builder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้ ทางานได้เร็วกว่า String Buffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
  • 13. จัดทาโดย นางสาวทิพรัตน์ สุพรรณศรี เลขที่ 9 นางสาวพิชญ์สินี วิเศษสิงห์ เลขที่ 10 นางสาวภาฏิญา ทิมอรรถ เลขที่ 11 นางสาววริศรา คาทา เลขที่ 12 นางสาววาณิชย์ สงวนศักดิ์ เลขที่ 13 นางสาวศิริประภา วันจิ๋ว เลขที่ 14 นางสาวขนิษฐา เอี่ยมประเสริฐ เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม