SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
Download to read offline
16
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ,๒๕๔๕ ,๒๕๕๓
มาตรา ๔
“การศึกษา” หมายความว่า
กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้
การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทาง
วิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัย
เกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
"การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า
การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
“สถานศึกษา” หมายความว่า
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงาน
การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ใน
การจัดการศึกษา
“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า
ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นใน
สถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับ
ดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา
“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่
กากับดูแลสถานศึกษานั้น
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคล
17
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
หรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มี
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
“ผู้สอน” หมายความว่า
ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
"ครู" หมายความว่า
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของทั้งของรัฐและเอกชน
"คณาจารย์" หมายความว่า
บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
“ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งของรัฐและเอกชน
“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่
การศึกษาขึ้นไป
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่
ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน การสอน การนิเทศ และ
การบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ
หมวด ๑
บททั่วไป
ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา ๖
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข
มาตรา ๗
ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ
ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็น
ไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม
18
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความ
ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
หมวด ๒
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐
การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันใน การรับการศึกษาขั้น
พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้ อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคล
ซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ
และโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
การศึกษาสาหรับคนพิการ ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและ ความ
ช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรูปแบบที่
เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
มาตรา ๑๑
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษา
ภาคบังคับ
มาตรา ๑๒
นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กร
ชุมชน องค์กรเอกชน องค์การวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอื่นๆมีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๑๓
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังต่อไปนี้
(๑) การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกษาแก่
บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความ
ดูแลที่
19
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
ครอบครัวจัดให้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกาหนด
(๓) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด
หมวด ๓
ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕
การจัดการศึกษา มีสามรูปแบบ คือ
(๑) การศึกษาในระบบ
(๒) การศึกษานอกระบบ และ
(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา ๑๕
(๑) การศึกษาในระบบ
เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัด
และประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
(๒) การศึกษานอกระบบ
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา
ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จ
การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ
ความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และ
โอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่น
ๆ
มาตรา ๑๖
การศึกษาในระบบมี สองระดับ คือ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน
ระดับอุดมศึกษา
การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
20
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
มาตรา ๑๗
ให้มีการศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก
เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ
หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
(การนับ พ.ศ. เข้าเรียน = ปี พ.ศ.ที่เกิด + 7 )
หมวด ๔
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา ๒๒
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๒๓
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้น
ความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับการศึกษา
(๑) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน
ชาติ และ สังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบ
การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(๒) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ
ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
(๓) ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิ
ปัญญา
(๔) ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
(๕) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข
มาตรา ๒๔
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
21
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
(๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา
ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
(๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น และ
ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
(๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
(๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย
ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ
แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
(๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
มาตรา ๒๖
ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก
• พัฒนาการของผู้เรียน
• ความประพฤติ
• การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
• การร่วมกิจกรรม
• การทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
และรูปแบบการศึกษา
ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลาย
มาตรา ๒๗
ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อ (วัตถุประสงค์หลักสูตร)
• ความเป็นไทย
• ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
• การดารงชีวิต
• การประกอบอาชีพ
22
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
• การศึกษาต่อ
• สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ จัดทาสาระหลักสูตรตามวัตถุประสงค์
มาตรา ๒๘
สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล
• ด้านความรู้
• ด้านความคิด
• ด้านความสามารถ
• ด้านความดีงาม
• ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
มาตรา ๓๐
ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ การส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถ
วิจัย
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
หมวด ๕
การบริหารและการจัดการการศึกษา
มาตรา ๓๒
ให้กระทรวงมีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภา หรือในรูปคณะกรรมการ จานวนสี่องค์กร
• สภาการศึกษา
• คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
• คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
• คณะกรรมการการอุดมศึกษา
เพื่อพิจารณาให้ความเห็นหรือให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่น
ตามที่กฎหมายกาหนด
มาตราที่ ๓๔ วรรคหนึ่ง
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่
• พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และ
• หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับ
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• แผนการศึกษาแห่งชาติ
23
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
• การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
มาตรา ๓๗
• การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคานึงถึง
• ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรมและความ
เหมาะสมด้านอื่นด้วย เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการ
อาชีวศึกษา
• ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นที่
การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น
• เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา…..(183 เขต)
• เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา…..(42 เขต)
มาตรา ๓๙
• ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
• ด้านวิชาการ
• ด้านงบประมาณ
• ด้านการบริหารงานบุคคล
• ด้านการบริหารทั่วไป
• ไปยังคณะกรรมการ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
โดยตรง
มาตรา ๔๐
• ให้มีคณะกรรมการ....ของแต่ละสถานศึกษา
• สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่่ากว่าปริญญา
24
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
• สถานศึกษาอาชีวศึกษา
• เพื่อท่าหน้าที่ก่ากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ประกอบด้วย
• ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพะภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนา
ผู้ทรงคุณวุฒิ
• ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ
หมวด ๖
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๗
ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ประกอบด้วย
• ระบบการประกันคุณภาพภายใน
• ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรา ๔๘
• ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
• ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ
• หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรา ๔๙
ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชน (สมศ.)
• ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษา
• เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
• โดยคานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ (หมวด 1)
• แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ (หมวด 4)
ให้มีการประเมินผลคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก
ห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และสาธารณชน
25
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
• ให้มีการประเมินผลคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกห้าปีนับตั้งแต่
การประเมินครั้งสุดท้าย
• เสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สาธารณชน
หมวด ๗
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๓ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.สภาครูฯ)
• ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้
การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวง
• มีอานาจหน้าที่
• กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ
• ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
• กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
• การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
• ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐและเอกชน
ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๕๔ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูฯ)
• ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งของ
หน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นข้าราชการใน
สังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอานาจ
การบริหารงานบุคคลสู่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
มาตรา ๕๕ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.เงินเดือนฯ)
• ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น สาหรับ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อ ให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคม
และวิชาชีพ
หมวด ๘
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา ๕๙
• ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
• มีอานาจ
26
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
• ในการปกครอง ดูแล บารุงรักษาใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
ทั้งที่เป็นที่ราชพัสดุ และที่เป็นทรัพย์สินอื่น
• จัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียม
การศึกษาที่ไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา
มาตรา ๖๐
• ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่
ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา ดังนี้
(๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ
และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน
(๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย
ตามความเหมาะสมและความจาเป็น
หมวดที่ 9
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
• 1.รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนา และโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นเพื่อ
• ประโยชน์สาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
• 2.รัฐต้องส่งเสริมสนับสนุนให้มีการผลิต การพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือ
• ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี เร่งรัดพัฒนาความสามารถในการผลิต มีเงิน
สนับสนุนการผลิต ให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี โดยเปิดให้มีการแข่งโดยเสรี เป็น
ธรรม
• 3.พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยี
• 4.ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในโอกาสแรกที่ทาได้ในการใช้เทคโนโลยี
• 5.รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี ติดตามตรวจสอบและ
ประเมินผลการใช้
• 6.ให้มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีจากเงินอุดหนุนของรัฐ
• ค่าสัมปทานและผลกาไรที่ได้จากการดาเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและ
โทรคมนาคม ให้มีการลดอัตราค่าบริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาคนและสังคม
• 7. รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่เสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและประสานการวิจัย การ
พัฒนาและการใช้ ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิตและการใช้เทคโนโลยี
27
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารกระทรวงศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับ 2 พ.ศ. ๒๕๕๓)
มาตรา ๖
 ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
(๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติ
บุคคล
มาตรา ๗
 การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ ให้คานึงถึง
◦ คุณวุฒิ
◦ ประสบการณ์
◦ มาตรฐานวิชาชีพ
◦ ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ
◦ คุณภาพของงาน
หมวด ๑
การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
มาตรา ๙
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้
(๑) สานักงานปลัดกระทรวง
(๒) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๑๐
 การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ โดยให้
มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) สานักงานรัฐมนตรี
(๒) สานักงานปลัดกระทรวง
(๓) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(๔) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรม
(๕) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(๖) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
28
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
มาตรา ๑๒
 กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
◦ และกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ ให้
สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรือ
อนุมัติ
 โดยจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้
◦ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย
มาตรา ๑๔
 ให้มีสภาการศึกษา มีหน้าที่
(๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ
การศึกษาทุกระดับ
(๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาให้ดาเนินการเป็นไปตามแผนตาม
(๑)
(๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
(๔) ดาเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑)
(๕) ให้ความเห็นหรือคาแนะนาในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา
มาตรา ๑๕
 ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่
◦ พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่
 สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ
◦ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
◦ และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของ
สานักงาน
มาตรา ๑๙
 สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
◦ มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และ
◦ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรีซึ่งหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อ
รัฐมนตรี ศธ.
29
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
◦ ให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ช่วยสั่ง
หรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้
มาตรา ๒๐
 ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง เพื่อทาหน้าที่
◦ ในการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม
◦ ประเมินผลระดับนโยบาย เพื่อนิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อการปรับปรุงพัฒนา
มาตรา ๒๓
 กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
◦ (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและ
แผนปฏิบัติราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และ
ประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการ
◦ (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักงานปลัดกระทรวงรองจาก
รัฐมนตรี
มาตรา ๓๐
 เลขาธิการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
 (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักงาน แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติการ
กากับการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสานักงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ รวมทั้งเร่งรัดติดตามและ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักงาน
 (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและ
รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของข้าราชการในสานักงาน ตลอดจนการจัดทาแผนพัฒนาของ
หน่วยงาน
 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๑๐ (๔)
 เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการใน
 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือ
 สถานศึกษาที่อยู่ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาด้วย
หมวด ๒
การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๓๓
 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา
30
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
โดยคานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา
จานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่น (เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา)
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็น
◦ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
◦ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
มาตรา ๓๔
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
◦ (๑) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
◦ (๒) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
 การแบ่งส่วนราชการ
◦ ใน(๑) ทาเป็นประกาศกระทรวงโดยคาแนะนาของ กพฐ.
◦ ใน(๒) ตามระเบียบคณะกรรมการเขต
มาตรา ๓๕
 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๓๔ (๒)
◦ เฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะเป็นนิติบุคคล
 เมื่อมีการยุบเลิกสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง
มาตรา ๓๖
 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอานาจหน้าที่
◦ ในการกากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา
◦ ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา
มาตรา ๓๗
 ให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทาหน้าที่
◦ (๑) อานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตร
การศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
◦ (๒) อานาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
◦ (๓) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
31
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
◦ (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนด
มาตรา ๓๘
 ให้มีคณะกรรมการ
◦ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
◦ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญา
◦ สถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา
 เพื่อทาหน้าที่
◦ กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
 ประกอบด้วย
◦ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทน
ศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่
และผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๓๙ (มาตรา 27 พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูฯ)
 สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา ๓๔ (๒) โดยให้มีผู้อานวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้า
ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
◦ (๑) บริหารกิจการของสถานศึกษา
◦ (๒) ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การ
พัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษา
◦ (๓) เป็นผู้แทนของสถานศึกษา
◦ (๔) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา
◦ (๕) อานาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษา
◦ (๖) ปฏิบัติงานอื่นตามที่
หมวด ๔
การปฏิบัติราชการแทน
การปฏิบัติราชการแทน
 การกระจายอานาจ
 การมอบอานาจ
มาตรา ๔๔ (กระจายอานาจ)
32
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
 ให้ ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
 กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
◦ ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
◦ ไปยัง
 คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
 สถานศึกษา.......โดยตรง
มาตรา ๔๕
 หลักการมอบอานาจ การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ
◦ (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอานาจ
 ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 ปลัดกระทรวง
 เลขาธิการ
 หัวหน้าส่วนราชการซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่
จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด
 ผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๔๕
 หลักการมอบอานาจโดยคานึงถึง
◦ ความเป็นอิสระ
◦ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของ
 สถานศึกษา
 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๔๕
 การมอบอานาจ การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ
(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอานาจ
 ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 ปลัดกระทรวง
 เลขาธิการ
 หัวหน้าส่วนราชการซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่
จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด
33
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
 ผู้ว่าราชการจังหวัด
(๒) ปลัดกระทรวงอาจมอบอานาจให้
 รองปลัดกระทรวง
 ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
 เลขาธิการ
 อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด
 ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
 ผู้อานวยการสถานศึกษา
 ผู้ว่าราชการจังหวัด
(๓) เลขาธิการอาจมอบอานาจให้
◦ รองเลขาธิการ
◦ ผู้ช่วยเลขาธิการ
◦ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด
◦ ผู้อานวยการสานัก
◦ ผู้อานวยการสานักบริหารงานหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า
◦ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
◦ ผู้อานวยการสถานศึกษา
◦ ผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการสานักบริหารงาน หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอานาจ
ให้
◦ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
◦ ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า
(๕) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้
◦ ข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
◦ ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขตพื้นที่การศึกษาที่
ตนรับผิดชอบ
◦ (ได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด)
(๖) ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้
◦ ข้าราชการในสถานศึกษา
34
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
(ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากาหนด) การมอบอานาจตามมาตรานี้ให้ทาเป็น
หนังสือ
มาตรา ๔๖
เมื่อมีการมอบอานาจโดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น
 จะมอบอานาจนั้นให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้
◦ เว้นแต่กรณีการมอบอานาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดตามมาตรา ผู้ว่าราชการจังหวัดจะมอบ
อานาจนั้นต่อไป ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินก็ได้
 ในการมอบอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด
◦ ให้แก่รองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ
◦ ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้ผู้มอบอานาจชั้นต้นทราบ
 ส่วนการมอบอานาจให้แก่บุคคลอื่น นอกจากรองผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
จะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้มอบอานาจชั้นต้นแล้ว
 ผู้มอบอ่านาจมีหน้า
◦ ที่กากับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจ
◦ แนะนาและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจได้
หมวด ๕
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๔๘
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการ
ได้
◦ ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการหลายคน
 ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการคนใดคน
หนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้
 ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
35
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
มาตรา ๔๙
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
◦ ให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีคน
ใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงคนหนึ่ง
เป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๐
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
◦ ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีรองปลัดกระทรวงหลายคน
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งรองปลัดกระทรวงคนใดคนหนึ่ง
เป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่งดารง
ตาแหน่งไม่ต่ากว่าเลขาธิการหรือเทียบเท่าเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๑
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
◦ ให้รองเลขาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีรองเลขาธิการหลายคน
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งรองเลขาธิการคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในสานักงานซึ่งดารง
ตาแหน่งเทียบเท่ารองเลขาธิการ
 ข้าราชการตาแหน่งเลขาธิการสานัก
 ผู้อานวยการสานักหรือเทียบเท่าขึ้นไปคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
36
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
มาตรา ๕๓
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้
◦ ให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษารักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน
 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่งตั้งรองผู้อานวยการสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได้
มาตรา ๕๔
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
◦ ให้รองผู้อานวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน
◦ ถ้ามีรองผู้อานวยการสถานศึกษาหลายคน
 ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อานวยการสถานศึกษา
คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน
◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
 ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคน
ใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
มาตรา ๕๕
 ให้ผู้รักษาราชการแทน
◦ มีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
 ในกรณีที่ผู้ดารงตาแหน่งใดหรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดารงตาแหน่งนั้นมอบหมาย หรือมอบอานาจ
ให้ ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน
◦ ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบหมายหรือมอบอานาจ
37
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๖ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 7)
 เรียกว่า “คุรุสภา”
 มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ
วัตถุประสงค์ 3 ประการ คุรุสภา (มาตรา 8)
1. กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐาน
วิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ การพัฒนาวิชาชีพ
2. กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
3. ประสานส่งเสริมการศึกษา และการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
อ่านาจ หน้าที่ “คุรุสภา”...(มาตร 9)
1. กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นตาม
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
4. พักใช้ หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
5. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพ
6. ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพ
7. รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร ตามมาตรฐานวิชาชีพ
8. รับรองความรู้ ประสบการณ์ ความชานาญ ทางวิชาชีพ
9. ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
10. เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
11. ออกข้อบังคับคุรุสภา
12. ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่อ ครม.ด้านนโยบาย ปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
13. ให้ข้อเสนอแนะ หรือเสนอความเห็น ต่อ รมต. เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ หรือ การออก
กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ
14. กาหนดให้มีคณะกรรมการ อันอยู่ในอานาจของคุรุสภา
15. ดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
รายได้ของ “คุรุสภา”...(มาตร 10)
1. ค่าธรรมเนียม (ตามประกาศ รมต.)
2. เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
38
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
3. ผลประโยชน์จากากรจัดหาทรัพย์สินและการดาเนินกิจการของคุรุสภา
4. เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
5. ดอกผลของเงิน ข้อ 1-4
รายได้ของคุรุสภาไม่เป็นรายได้ที่ต้องนาส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง และ
กฎหมายวิธีงบประมาณ
“คณะกรรมการคุรุสภา”...(มาตร 12)
 จ่านวน 39 คน
 องค์ประกอบ
◦ (1) ประธานกรรมการ (ครม.แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ.....ดร.ดิเรก พรสีมา)
◦ (2) กรรมการโดยตาแหน่ง : 8
◦ (3) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : 7
◦ (4) กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากตาแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ หรือ
การศึกษา (เลือกกันเอง) : 4 (รัฐ 3 , เอกชน 1)
◦ (5) กรรมการผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (เลือกตั้ง) : 19
◦ ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็นเลขานุการ....(นายองค์กร อมรสิรินันท์)
 วาระ 4 ปี จะดารงตาแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
 ประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มติถือเสียงข้างมาก (มาตรา 26 )
“กรรมการโดยต่าแหน่งคุรุสภา”...(8 คน)
 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 เลขาธิการสภาการศึกษา
 เลขาธิการคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 เลขาธิการการอาชีวศึกษา
 เลขาธิการการอุดมศึกษา
 เลขาธิการ ก.ค.ศ.
 ผอ.สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
 หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
“กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คุรุสภา”...(7 คน)
 ครม.แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูง ด้าน
◦ การบริหารการศึกษา
◦ การอาชีวศึกษา
◦ การศึกษาพิเศษ
39
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
◦ มนุษย์ศาสตร์
◦ สังคมศาสตร์
◦ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
◦ กฎหมาย
 ต้องเป็น หรือ เคยเป็นครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 คน
 ประธาน , กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปี บริบูรณ์
อ่านาจ หน้าที่ คณะกรรมการคุรุสภา”...(มาตรา 20)
1. บริหารตามวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่คุรุสภา
2. ให้คาปรึกษา และแนะนาแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
3. พิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ คาสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
4. เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ และคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามอานาจ
หน้าที่
5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดาเนินการใดๆ
6. ควบคุมการดาเนินงานและการบริหารทั่วไป ของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา
7. กาหนดนโยบายการบริหารงาน ให้ความเห็นชอบแผนการดาเนินงานของสานักงานเลขาธิการคุรุ
สภา
8. ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่คณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย
สมาชิกคุรุสภา (มาตรา 58)
 สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท ดังนี้
◦ (๑) สมาชิกสามัญ
(๑) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี
มาตรา 59 (๒) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๓) ไม่เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบวิชาชีพ
(๔) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
◦ (๒) สมาชิกกิตติมศักดิ์
 สมาชิกกิตติมศักดิ์เป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้งโดยมติเป็นเอก
ฉันท์
สิทธิ หน้าที่สมาชิกคุรุสภา (มาตรา 60)
 สมาชิกสามัญ
(๑) แสดงความเห็นและซักถามเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภาต่อคณะกรรมการเพื่อ
พิจารณา
40
www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง
(๒) เลือก รับเลือกตั้ง หรือรับแต่งตั้งเป็นกรรมการตามมาตรา ๑๒ หรือมาตรา ๒๑
(๓) ชาระค่าธรรมเนียม ตามประกาศของคุรุสภา
(๔) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
 สมาชิกกิตติมศักดิ์
มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับสมาชิกสามัญ เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ตาม (๒) และ (๓)
การพ้นสภาพสมาชิกคุรุสภา (มาตรา 61)
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะกรรมการคุรุสภามีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพเพราะขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๕๙ สาหรับ
กรณีสมาชิกสามัญ
(๔) คณะกรรมการคุรุสภามีมติถอดถอนการเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
(๕) ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
วิชาชีพควบคุม การประกอบวิชาชีพควบคุม (มาตรา43)
 ให้วิชาชีพต่อไปนี้ เป็นวิชาชีพควบคุม
◦ วิชาชีพครู
◦ วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
◦ วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
◦ ศึกษานิเทศ
 ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุม โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
 ฝ่าฝืน ต้องระวางโทษ (มาตรา 78)
◦ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ
◦ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ
◦ ทั้งจาทั้งปรับ
ประกอบวิชาชีพควบคุมได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต
(๑) ผู้ที่เข้ามาให้ความรู้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษาเป็นครั้งคราวในฐานะวิทยากรพิเศษทางการศึกษา
(๒) ผู้ที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนแต่ในบางครั้งต้องทาหน้าที่สอนด้วย
(๓) นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการฝึกอบรมหรือผู้ได้รับใบอนุญาตปฏิบัติการสอน ซึ่งทาการ
ฝึกหัดหรืออบรมในความควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษาหรือ
ฝึกอบรม
(๔) ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย
กฏหมาย

More Related Content

What's hot

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู นายจักราวุธ คำทวี
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftBoonlert Aroonpiboon
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542บราลี ประดับศรี
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยแนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยWanwisa Tana
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556Thanaporn Sangthong
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745CUPress
 

What's hot (18)

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
 
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยแนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745
 

Viewers also liked

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokธวัช บุตรศรี
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)ธวัช บุตรศรี
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยokธวัช บุตรศรี
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1ธวัช บุตรศรี
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์dechathon
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆคน ขี้เล่า
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนคน ขี้เล่า
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยคน ขี้เล่า
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Viewers also liked (20)

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Similar to กฏหมาย

รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22teerawut123
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54Oil Patamawadee
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 

Similar to กฏหมาย (20)

รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 

More from ธวัช บุตรศรี (10)

นายธวัช
นายธวัชนายธวัช
นายธวัช
 
เว็บไซต์โรงเรียนโคกลำพานวิทยา
เว็บไซต์โรงเรียนโคกลำพานวิทยาเว็บไซต์โรงเรียนโคกลำพานวิทยา
เว็บไซต์โรงเรียนโคกลำพานวิทยา
 
Filpbooksoft 8
Filpbooksoft 8Filpbooksoft 8
Filpbooksoft 8
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
Word press2
Word press2Word press2
Word press2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
คู่มือการใช้ Desktop author upgrade
คู่มือการใช้ Desktop author upgradeคู่มือการใช้ Desktop author upgrade
คู่มือการใช้ Desktop author upgrade
 

กฏหมาย

  • 1. 16 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ,๒๕๔๕ ,๒๕๕๓ มาตรา ๔ “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทาง วิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัย เกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต "การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงาน การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ใน การจัดการศึกษา “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นใน สถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับ ดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ กากับดูแลสถานศึกษานั้น “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคล
  • 2. 17 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง หรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มี การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา “ผู้สอน” หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ "ครู" หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของทั้งของรัฐและเอกชน "คณาจารย์" หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาของรัฐและเอกชน “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งของรัฐและเอกชน “ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่ การศึกษาขึ้นไป “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน การสอน การนิเทศ และ การบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ หมวด ๑ บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็น ไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม
  • 3. 18 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความ ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันใน การรับการศึกษาขั้น พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้ อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคล ซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ และโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสาหรับคนพิการ ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและ ความ ช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรูปแบบที่ เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษา ภาคบังคับ มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์การวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สังคมอื่นๆมีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังต่อไปนี้ (๑) การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกษาแก่ บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความ ดูแลที่
  • 4. 19 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง ครอบครัวจัดให้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกาหนด (๓) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด หมวด ๓ ระบบการศึกษา มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษา มีสามรูปแบบ คือ (๑) การศึกษาในระบบ (๒) การศึกษานอกระบบ และ (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรา ๑๕ (๑) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัด และประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน (๒) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และ โอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมี สองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน ระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง
  • 5. 20 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (การนับ พ.ศ. เข้าเรียน = ปี พ.ศ.ที่เกิด + 7 ) หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้น ความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ ระดับการศึกษา (๑) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และ สังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบ การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๒) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน (๓) ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญา (๔) ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง (๕) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้ (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • 6. 21 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น และ ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก • พัฒนาการของผู้เรียน • ความประพฤติ • การสังเกตพฤติกรรมการเรียน • การร่วมกิจกรรม • การทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ และรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลาย มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อ (วัตถุประสงค์หลักสูตร) • ความเป็นไทย • ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ • การดารงชีวิต • การประกอบอาชีพ
  • 7. 22 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง • การศึกษาต่อ • สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ จัดทาสาระหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ มาตรา ๒๘ สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล • ด้านความรู้ • ด้านความคิด • ด้านความสามารถ • ด้านความดีงาม • ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ การส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถ วิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา หมวด ๕ การบริหารและการจัดการการศึกษา มาตรา ๓๒ ให้กระทรวงมีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภา หรือในรูปคณะกรรมการ จานวนสี่องค์กร • สภาการศึกษา • คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • คณะกรรมการการอาชีวศึกษา • คณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นหรือให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่น ตามที่กฎหมายกาหนด มาตราที่ ๓๔ วรรคหนึ่ง คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ • พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และ • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • แผนการศึกษาแห่งชาติ
  • 8. 23 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง • การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน มาตรา ๓๗ • การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคานึงถึง • ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรมและความ เหมาะสมด้านอื่นด้วย เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการ อาชีวศึกษา • ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นที่ การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น • เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา…..(183 เขต) • เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา…..(42 เขต) มาตรา ๓๙ • ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา • ด้านวิชาการ • ด้านงบประมาณ • ด้านการบริหารงานบุคคล • ด้านการบริหารทั่วไป • ไปยังคณะกรรมการ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา โดยตรง มาตรา ๔๐ • ให้มีคณะกรรมการ....ของแต่ละสถานศึกษา • สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่่ากว่าปริญญา
  • 9. 24 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง • สถานศึกษาอาชีวศึกษา • เพื่อท่าหน้าที่ก่ากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย • ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพะภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนา ผู้ทรงคุณวุฒิ • ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย • ระบบการประกันคุณภาพภายใน • ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตรา ๔๘ • ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา • ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง ดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ • หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก มาตรา ๔๙ ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชน (สมศ.) • ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษา • เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา • โดยคานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ (หมวด 1) • แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ (หมวด 4) ให้มีการประเมินผลคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก ห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน
  • 10. 25 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง • ให้มีการประเมินผลคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกห้าปีนับตั้งแต่ การประเมินครั้งสุดท้าย • เสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สาธารณชน หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา ๕๓ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.สภาครูฯ) • ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้ การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวง • มีอานาจหน้าที่ • กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ • ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ • กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ • การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา • ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มาตรา ๕๔ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูฯ) • ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งของ หน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นข้าราชการใน สังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอานาจ การบริหารงานบุคคลสู่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มาตรา ๕๕ (ท่าให้เกิด พ.ร.บ.เงินเดือนฯ) • ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น สาหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อ ให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคม และวิชาชีพ หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา ๕๙ • ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล • มีอานาจ
  • 11. 26 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง • ในการปกครอง ดูแล บารุงรักษาใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็นที่ราชพัสดุ และที่เป็นทรัพย์สินอื่น • จัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียม การศึกษาที่ไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา มาตรา ๖๐ • ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา ดังนี้ (๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน (๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ตามความเหมาะสมและความจาเป็น หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา • 1.รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนา และโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นเพื่อ • ประโยชน์สาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย • 2.รัฐต้องส่งเสริมสนับสนุนให้มีการผลิต การพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือ • ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี เร่งรัดพัฒนาความสามารถในการผลิต มีเงิน สนับสนุนการผลิต ให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี โดยเปิดให้มีการแข่งโดยเสรี เป็น ธรรม • 3.พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยี • 4.ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในโอกาสแรกที่ทาได้ในการใช้เทคโนโลยี • 5.รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี ติดตามตรวจสอบและ ประเมินผลการใช้ • 6.ให้มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีจากเงินอุดหนุนของรัฐ • ค่าสัมปทานและผลกาไรที่ได้จากการดาเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและ โทรคมนาคม ให้มีการลดอัตราค่าบริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาคนและสังคม • 7. รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่เสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและประสานการวิจัย การ พัฒนาและการใช้ ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิตและการใช้เทคโนโลยี
  • 12. 27 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารกระทรวงศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2 พ.ศ. ๒๕๕๓) มาตรา ๖  ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ (๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง (๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา (๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติ บุคคล มาตรา ๗  การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ ให้คานึงถึง ◦ คุณวุฒิ ◦ ประสบการณ์ ◦ มาตรฐานวิชาชีพ ◦ ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ ◦ คุณภาพของงาน หมวด ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง มาตรา ๙  ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้ (๑) สานักงานปลัดกระทรวง (๒) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๑๐  การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ โดยให้ มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานักงานปลัดกระทรวง (๓) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๔) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรม (๕) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๖) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
  • 13. 28 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง มาตรา ๑๒  กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ ◦ และกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ ให้ สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรือ อนุมัติ  โดยจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ ◦ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย มาตรา ๑๔  ให้มีสภาการศึกษา มีหน้าที่ (๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ การศึกษาทุกระดับ (๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาให้ดาเนินการเป็นไปตามแผนตาม (๑) (๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา (๔) ดาเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑) (๕) ให้ความเห็นหรือคาแนะนาในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา มาตรา ๑๕  ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ ◦ พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่  สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ ◦ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ◦ และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของ สานักงาน มาตรา ๑๙  สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง ◦ มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และ ◦ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรีซึ่งหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรี ศธ.
  • 14. 29 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง ◦ ให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ช่วยสั่ง หรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้ มาตรา ๒๐  ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง เพื่อทาหน้าที่ ◦ ในการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ◦ ประเมินผลระดับนโยบาย เพื่อนิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อการปรับปรุงพัฒนา มาตรา ๒๓  กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ ◦ (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและ แผนปฏิบัติราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และ ประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ◦ (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักงานปลัดกระทรวงรองจาก รัฐมนตรี มาตรา ๓๐  เลขาธิการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้  (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักงาน แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติการ กากับการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสานักงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ รวมทั้งเร่งรัดติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักงาน  (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของข้าราชการในสานักงาน ตลอดจนการจัดทาแผนพัฒนาของ หน่วยงาน  ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๑๐ (๔)  เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการใน  สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือ  สถานศึกษาที่อยู่ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาด้วย หมวด ๒ การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มาตรา ๓๓  การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา
  • 15. 30 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง โดยคานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่น (เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา)  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราช กิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็น ◦ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ◦ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มาตรา ๓๔  ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ ◦ (๑) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ◦ (๒) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น  การแบ่งส่วนราชการ ◦ ใน(๑) ทาเป็นประกาศกระทรวงโดยคาแนะนาของ กพฐ. ◦ ใน(๒) ตามระเบียบคณะกรรมการเขต มาตรา ๓๕  สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๓๔ (๒) ◦ เฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะเป็นนิติบุคคล  เมื่อมีการยุบเลิกสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง มาตรา ๓๖  ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอานาจหน้าที่ ◦ ในการกากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา ◦ ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา มาตรา ๓๗  ให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทาหน้าที่ ◦ (๑) อานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตร การศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ◦ (๒) อานาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษา ◦ (๓) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • 16. 31 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง ◦ (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนด มาตรา ๓๘  ให้มีคณะกรรมการ ◦ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ◦ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญา ◦ สถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา  เพื่อทาหน้าที่ ◦ กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา  ประกอบด้วย ◦ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทน ศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่ และผู้ทรงคุณวุฒิ มาตรา ๓๙ (มาตรา 27 พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูฯ)  สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา ๓๔ (๒) โดยให้มีผู้อานวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้า ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ ◦ (๑) บริหารกิจการของสถานศึกษา ◦ (๒) ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การ พัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษา ◦ (๓) เป็นผู้แทนของสถานศึกษา ◦ (๔) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา ◦ (๕) อานาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษา ◦ (๖) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ หมวด ๔ การปฏิบัติราชการแทน การปฏิบัติราชการแทน  การกระจายอานาจ  การมอบอานาจ มาตรา ๔๔ (กระจายอานาจ)
  • 17. 32 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง  ให้ ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ◦ ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ◦ ไปยัง  คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา  สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา  สถานศึกษา.......โดยตรง มาตรา ๔๕  หลักการมอบอานาจ การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ ◦ (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอานาจ  ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ  ปลัดกระทรวง  เลขาธิการ  หัวหน้าส่วนราชการซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่ จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด  ผู้ว่าราชการจังหวัด มาตรา ๔๕  หลักการมอบอานาจโดยคานึงถึง ◦ ความเป็นอิสระ ◦ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของ  สถานศึกษา  สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรา ๔๕  การมอบอานาจ การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอานาจ  ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ  ปลัดกระทรวง  เลขาธิการ  หัวหน้าส่วนราชการซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่ จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด
  • 18. 33 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง  ผู้ว่าราชการจังหวัด (๒) ปลัดกระทรวงอาจมอบอานาจให้  รองปลัดกระทรวง  ผู้ช่วยปลัดกระทรวง  เลขาธิการ  อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด  ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา  ผู้อานวยการสถานศึกษา  ผู้ว่าราชการจังหวัด (๓) เลขาธิการอาจมอบอานาจให้ ◦ รองเลขาธิการ ◦ ผู้ช่วยเลขาธิการ ◦ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ◦ ผู้อานวยการสานัก ◦ ผู้อานวยการสานักบริหารงานหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า ◦ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ◦ ผู้อานวยการสถานศึกษา ◦ ผู้ว่าราชการจังหวัด (๔) ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการสานักบริหารงาน หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอานาจ ให้ ◦ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ◦ ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า (๕) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้ ◦ ข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ◦ ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขตพื้นที่การศึกษาที่ ตนรับผิดชอบ ◦ (ได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด) (๖) ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้ ◦ ข้าราชการในสถานศึกษา
  • 19. 34 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง (ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากาหนด) การมอบอานาจตามมาตรานี้ให้ทาเป็น หนังสือ มาตรา ๔๖ เมื่อมีการมอบอานาจโดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น  จะมอบอานาจนั้นให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้ ◦ เว้นแต่กรณีการมอบอานาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดตามมาตรา ผู้ว่าราชการจังหวัดจะมอบ อานาจนั้นต่อไป ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินก็ได้  ในการมอบอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ◦ ให้แก่รองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ ◦ ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด  ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้ผู้มอบอานาจชั้นต้นทราบ  ส่วนการมอบอานาจให้แก่บุคคลอื่น นอกจากรองผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด จะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้มอบอานาจชั้นต้นแล้ว  ผู้มอบอ่านาจมีหน้า ◦ ที่กากับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจ ◦ แนะนาและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจได้ หมวด ๕ การรักษาราชการแทน มาตรา ๔๘  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการ ได้ ◦ ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการหลายคน  ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการคนใดคน หนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ ราชการได้  ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
  • 20. 35 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง มาตรา ๔๙  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ◦ ให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีคน ใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงคนหนึ่ง เป็นผู้รักษาราชการแทน มาตรา ๕๐  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ◦ ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีรองปลัดกระทรวงหลายคน  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งรองปลัดกระทรวงคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่งดารง ตาแหน่งไม่ต่ากว่าเลขาธิการหรือเทียบเท่าเป็นผู้รักษาราชการแทน มาตรา ๕๑  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ◦ ให้รองเลขาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีรองเลขาธิการหลายคน  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งรองเลขาธิการคนใดคนหนึ่งเป็น ผู้รักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งข้าราชการในสานักงานซึ่งดารง ตาแหน่งเทียบเท่ารองเลขาธิการ  ข้าราชการตาแหน่งเลขาธิการสานัก  ผู้อานวยการสานักหรือเทียบเท่าขึ้นไปคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
  • 21. 36 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง มาตรา ๕๓  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ ราชการได้ ◦ ให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษารักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน  ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่งตั้งรองผู้อานวยการสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจ ปฏิบัติราชการได้ มาตรา ๕๔  ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ◦ ให้รองผู้อานวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ◦ ถ้ามีรองผู้อานวยการสถานศึกษาหลายคน  ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อานวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ◦ ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้  ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคน ใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้ มาตรา ๕๕  ให้ผู้รักษาราชการแทน ◦ มีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน  ในกรณีที่ผู้ดารงตาแหน่งใดหรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดารงตาแหน่งนั้นมอบหมาย หรือมอบอานาจ ให้ ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน ◦ ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบหมายหรือมอบอานาจ
  • 22. 37 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 7)  เรียกว่า “คุรุสภา”  มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ วัตถุประสงค์ 3 ประการ คุรุสภา (มาตรา 8) 1. กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐาน วิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ การพัฒนาวิชาชีพ 2. กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ 3. ประสานส่งเสริมการศึกษา และการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ อ่านาจ หน้าที่ “คุรุสภา”...(มาตร 9) 1. กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นตาม มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 4. พักใช้ หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 5. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพ 6. ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพ 7. รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร ตามมาตรฐานวิชาชีพ 8. รับรองความรู้ ประสบการณ์ ความชานาญ ทางวิชาชีพ 9. ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ 10. เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย 11. ออกข้อบังคับคุรุสภา 12. ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่อ ครม.ด้านนโยบาย ปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ 13. ให้ข้อเสนอแนะ หรือเสนอความเห็น ต่อ รมต. เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ หรือ การออก กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ 14. กาหนดให้มีคณะกรรมการ อันอยู่ในอานาจของคุรุสภา 15. ดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา รายได้ของ “คุรุสภา”...(มาตร 10) 1. ค่าธรรมเนียม (ตามประกาศ รมต.) 2. เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
  • 23. 38 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง 3. ผลประโยชน์จากากรจัดหาทรัพย์สินและการดาเนินกิจการของคุรุสภา 4. เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ 5. ดอกผลของเงิน ข้อ 1-4 รายได้ของคุรุสภาไม่เป็นรายได้ที่ต้องนาส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง และ กฎหมายวิธีงบประมาณ “คณะกรรมการคุรุสภา”...(มาตร 12)  จ่านวน 39 คน  องค์ประกอบ ◦ (1) ประธานกรรมการ (ครม.แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ.....ดร.ดิเรก พรสีมา) ◦ (2) กรรมการโดยตาแหน่ง : 8 ◦ (3) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : 7 ◦ (4) กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากตาแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ หรือ การศึกษา (เลือกกันเอง) : 4 (รัฐ 3 , เอกชน 1) ◦ (5) กรรมการผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (เลือกตั้ง) : 19 ◦ ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็นเลขานุการ....(นายองค์กร อมรสิรินันท์)  วาระ 4 ปี จะดารงตาแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้  ประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มติถือเสียงข้างมาก (มาตรา 26 ) “กรรมการโดยต่าแหน่งคุรุสภา”...(8 คน)  ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ  เลขาธิการสภาการศึกษา  เลขาธิการคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  เลขาธิการการอาชีวศึกษา  เลขาธิการการอุดมศึกษา  เลขาธิการ ก.ค.ศ.  ผอ.สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน  หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น “กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คุรุสภา”...(7 คน)  ครม.แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูง ด้าน ◦ การบริหารการศึกษา ◦ การอาชีวศึกษา ◦ การศึกษาพิเศษ
  • 24. 39 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง ◦ มนุษย์ศาสตร์ ◦ สังคมศาสตร์ ◦ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ◦ กฎหมาย  ต้องเป็น หรือ เคยเป็นครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 คน  ประธาน , กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปี บริบูรณ์ อ่านาจ หน้าที่ คณะกรรมการคุรุสภา”...(มาตรา 20) 1. บริหารตามวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่คุรุสภา 2. ให้คาปรึกษา และแนะนาแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 3. พิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ คาสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 4. เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ และคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามอานาจ หน้าที่ 5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดาเนินการใดๆ 6. ควบคุมการดาเนินงานและการบริหารทั่วไป ของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา 7. กาหนดนโยบายการบริหารงาน ให้ความเห็นชอบแผนการดาเนินงานของสานักงานเลขาธิการคุรุ สภา 8. ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่คณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย สมาชิกคุรุสภา (มาตรา 58)  สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท ดังนี้ ◦ (๑) สมาชิกสามัญ (๑) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี มาตรา 59 (๒) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) ไม่เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบวิชาชีพ (๔) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ◦ (๒) สมาชิกกิตติมศักดิ์  สมาชิกกิตติมศักดิ์เป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้งโดยมติเป็นเอก ฉันท์ สิทธิ หน้าที่สมาชิกคุรุสภา (มาตรา 60)  สมาชิกสามัญ (๑) แสดงความเห็นและซักถามเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภาต่อคณะกรรมการเพื่อ พิจารณา
  • 25. 40 www.krucenter.net คู่มือเตรียมสอบครูผู้ช่วย เรียบเรียง:ธีรภัทร วงษ์สว่าง (๒) เลือก รับเลือกตั้ง หรือรับแต่งตั้งเป็นกรรมการตามมาตรา ๑๒ หรือมาตรา ๒๑ (๓) ชาระค่าธรรมเนียม ตามประกาศของคุรุสภา (๔) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้  สมาชิกกิตติมศักดิ์ มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับสมาชิกสามัญ เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ตาม (๒) และ (๓) การพ้นสภาพสมาชิกคุรุสภา (มาตรา 61) (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการคุรุสภามีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพเพราะขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๕๙ สาหรับ กรณีสมาชิกสามัญ (๔) คณะกรรมการคุรุสภามีมติถอดถอนการเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ (๕) ถูกเพิกถอนใบอนุญาต วิชาชีพควบคุม การประกอบวิชาชีพควบคุม (มาตรา43)  ให้วิชาชีพต่อไปนี้ เป็นวิชาชีพควบคุม ◦ วิชาชีพครู ◦ วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ◦ วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ◦ ศึกษานิเทศ  ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุม โดยไม่ได้รับใบอนุญาต  ฝ่าฝืน ต้องระวางโทษ (มาตรา 78) ◦ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ◦ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ◦ ทั้งจาทั้งปรับ ประกอบวิชาชีพควบคุมได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต (๑) ผู้ที่เข้ามาให้ความรู้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษาเป็นครั้งคราวในฐานะวิทยากรพิเศษทางการศึกษา (๒) ผู้ที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนแต่ในบางครั้งต้องทาหน้าที่สอนด้วย (๓) นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการฝึกอบรมหรือผู้ได้รับใบอนุญาตปฏิบัติการสอน ซึ่งทาการ ฝึกหัดหรืออบรมในความควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษาหรือ ฝึกอบรม (๔) ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย