SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ซึมเศร้า...ใกล้เรากว่าที่คิด (BE DEPRESSION)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว นิชากร ปามูล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว นิชากร ปามูล เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ซึมเศร้า...ใกล้เรากว่าที่คิด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
BE DEPRESSION
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทา นางสาว นิชากร ปามูล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบัน ‘ภาวะโรคซึมเศร้า’ พบมากในวัยรุ่นไทย เนื่องจากในปัจจุบันมีหลายปัจจัยในการกระตุ้นให้เกิด
ภาวะซึมเศร้า ทั้งเรื่องการเรียน ครอบครัว และปัญหาอื่นๆที่สามารถเป็นสิ่งเร้าทาให้เกิดความผิดปกติทางด้าน
อารมณ์และความคิดในด้านลบ เช่น เบื่อหน่าย ไม่มีความสุข ท้อแท้ หดหู่ สิ้นหวัง เป็นต้น ซึ่งหากผู้ที่อยู่ในภาวะโรค
ซึมเศร้าไม่ได้เข้ารับการรักษาหรือไม่รู้ตัวว่าตนอยู่ในภาวะซึมเศร้าอาจจะจบปัญหาโดยการฆ่าตัวตาย ถ้าเรายังไม่
ตระหนักถึงปัญหาจากภาวะโรคซึมเศร้าที่อยู่ใกล้ตัวเราในปัจจุบัน สิ่งนี้อาจจะส่งผลเสียไปถึงอนาคต และแน่นอนว่า
วัยรุ่นส่วนใหญ่ถึงแม้จะรู้ตัวว่าอยู่ในภาวะโรคซึมเศร้าก็ยังไม่กล้าเข้ารับการรักษา เนื่องจากมีความกลัวและการรักษา
ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ดังนั้นดิฉันจึงตัดสินใจที่จะนาปัญหาเหล่านี้มาดาเนินงานในรูปแบบโครงงานการศึกษา เพื่อให้
ทุกคนได้ตระหนักและรับรู้เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อสามารถนาไปปรับใช้กับตนเองและคนรอบข้าง รวมถึงสามารถ
เป็นสื่อเพื่อการเรียนรู้กับผู้ที่สนใจสืบต่อไป
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นสื่อและประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้ที่สนใจ
2.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อเหลีกเลี่ยงภาวะซึมเศร้า
3.เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติตนที่มีสิทธิ์เป็นกลุ่มเสียงภาวะซึมเศร้าหรือมีภาวะโรคซึมเศร้า
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี
การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย โดย สุทธานันท์ ชุนแจ่ม พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพจิต
และจิตเวช) โสภิณ แสงอ่อน Ph.D. (Nursing) ทัศนา ทวีคูณ Ph.D. (Nursing)
งานวิจัยในครั้งนี้เป็นการสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2517-2550 เพื่อ
ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยและวิเคราะห์รายละเอียดผลวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุใน
ประเทศไทย โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และความร่วมมือจากเครือข่าย พบงานวิจัยทั้งหมด
จานวน 183 เรื่อง แบ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณจานวน 177 เรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพจานวน 5 เรื่อง และการวิจัย
3
ผสมผสานจานวน 1 เรื่อง ผลการวิจัย มี 2 ประเด็นหลักคือ 1) คุณลักษณะของงานวิจัยพบว่า ชนิดงานวิจัยส่วนใหญ่
เป็นงานวิจัยที่เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุดคือ ปี พ.ศ. 2547-
2550 แหล่งผลิตส่วนใหญ่มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ประเภทการวิจัยเป็นการวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยทั้งหมด มีการระบุ
วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีที่ใช้ใน งานวิจัยส่วนใหญ่ใช้
ทฤษฎีทางจิตสังคม แบบการวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลอง ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ป่วย
ทางกายโรคเรื้อรัง มีการใช้ Center for Epidemiologic StudiesDepression Scale (CES-D), Beck Depression
Inventory (BDI), Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) เป็นแบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะ
ซึมเศร้าเป็นส่วนมาก 2) รายละเอียด ผลการวิจัยวิเคราะห์ตามการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองจานวน 120 เรื่อง
และแบบทดลอง/ แบบกึ่งทดลองจานวน 57 เรื่อง พบว่า การวิจัยแบบไม่ทดลองเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความชุก และ
อุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าจานวน 40 เรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และทานายภาวะซึมเศร้า จานวน 58 เรื่อง และ
การพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้าจานวน 15 เรื่อง ส่วนการวิจัยแบบ ทดลอง/แบบกึ่งทดลอง พบว่า ส่วนใหญ่เป็น
การศึกษาผลของการบาบัดทางด้านจิตสังคมที่มี หลากหลายรูปแบบ เช่น การให้คาปรึกษาทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
ตามแนวคิดทฤษฎีต่างๆ เช่น Gestalt และ Roger เป็นต้น การบาบัดทางความคิด การบาบัดทางความคิดและ
พฤติกรรม การทาสมาธิ และการผ่อนคลาย เป็นต้น จากการสารวจงานวิจัยในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า งานวิจัยที่ เกี่ยวกับ
ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทยเป็นการศึกษาในผู้ป่วยทางกายเป็น ส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงควร
สนับสนุนให้มีการศึกษาในผู้ป่วยทางจิตหรือในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะซึมเศร้า เช่น กลุ่มผู้ดูแล กลุ่มคนทางาน
เป็นต้น ให้เพิ่มมากขึ้นและสนับสนุนให้มีการวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูให้มาก
ขึ้น คาสาคัญ: การสารวจงานวิจัย ภาวะซึมเศร้า งานวิจัยในประเทศไทย *Corresponding author, พยาบาลวิชาชีพ
(ด้านการสอน) ปฏิบัติการที่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี E-mail:
suthanan_p@windowslive.com **ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ***อาจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 413 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 ความเป็นมาและความสาคัญของ
ปัญหา การที่บุคคลต้องเผชิญกับเหตุการณ์ต่างๆใน ชีวิตประจาวัน เช่น การเสียชีวิตของบุคคลสาคัญในชีวิต การหย่า
ร้าง การประสบปัญหาในการทางาน การประสบ ปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการไม่สมหวังในสิ่ง คาดหวังไว้ อาจ
เป็นปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลกระทบต่อ จิตใจทาให้บุคคลนั้นเกิดความรู้สึกสูญเสีย ผิดหวัง เครียด ส่งผลให้เกิดอารมณ์
เศร้าหรือมีภาวะซึมเศร้าตามมา จากการศึกษาและวิจัยพบว่า ปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่มีผล ต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าคือ
ปัจจัยด้านชีววิทยา เช่น พันธุกรรม ความผิดปกติของสารสื่อประสาท และ ความผิดปกติของฮอร์โมน เป็นต้น จาก
การศึกษาพบว่า ภาวะซึมเศร้ามักพบในผู้ที่หย่าร้าง แยกทาง หรืออยู่คนเดียว โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายเป็นอัตรา
2:1 (Stahl, 2000) ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะซึมเศร้าจะส่งผล ต่อตัวบุคคล ครอบครัว และสังคม ในเรื่อง
ความรู้สึก การดาเนินชีวิตประจาวัน และเศรษฐกิจ (มาโนช หล่อตระกูล, 2544; รวิวรรณ คาเงิน, 2546; American
Psychological Association, 1994 as cited in Lilja, Hellzen, Lind, & Hellzen, 2006) ซึ่งสอดคล้องกับ
รายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่พบว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุของภาวะ การสูญเสียความสามารถของ
ประชากรโลก 1 ใน 10 อันดับแรก คิดเป็นร้อยละ 10.7 ของประชากรโลก (Murray & Lopez, 1996) และ
คาดการณ์ว่าในปี 2020 (พ.ศ. 2560) หรืออีก 14 ปี ข้างหน้า ความสูญเสีย ด้านเศรษฐกิจและสังคมจากภาวะซึมเศร้า
จะเพิ่มสูงขึ้นเป็น ลาดับ 2 รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือดในทุกประเทศ ทั่วโลก โดยคิดเป็นร้อยละ 10-25 ใน
ผู้หญิงและร้อยละ 5-12 ในผู้ชายที่เป็นโรคนี้ (Murray & Lopez, 1996) สาหรับในประเทศไทยพบผู้ป่วยภาวะ
ซึมเศร้ามากขึ้น ในทุกกลุ่มอายุและทุกเพศ ข้อมูลการสารวจจานวน และอัตราผู้ป่วยทางสุขภาพจิตของประเทศไทยปี
พ.ศ. 2548 พบผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าจานวน 93,566 คน คิดเป็นอัตรา 149.90 ต่อแสนประชากร และเป็นลาดับ 5 ใน
กลุ่มโรคทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข, 2548) และในปีพ.ศ. 2549 พบผู้ป่วย ภาวะซึมเศร้าเพิ่ม
จานวนมากขึ้นเป็น 116,847 คน คิดเป็นอัตรา 185.98 ต่อแสนประชากรและเป็นเลื่อนขึ้นมา อยู่ลาดับ 4 ในกลุ่มโรค
4
ทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2549) นอกจากนี้ พบว่า ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้น ได้ร่วมกับ
โรคอื่นๆ ทางกาย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และ การติดสารเสพติด
เป็นต้น และภาวะซึมเศร้าเองถึงแม้ จะมีการพยากรณ์โรคที่ดีแต่มีอาการกาเริบของโรค เกิดขึ้นได้บ่อย (วิจารณ์ วิชัย
ยะ, 2533) ที่ยิ่งไปกว่านั้น การที่ผู้ป่วยต้องเผชิญกับภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุสาคัญ ที่นาไปสู่การฆ่าตัวตาย สอดคล้อง
กับการรายงานของ มาโนช หล่อตระกูล (2544) ที่พบว่า ประมาณร้อยละ 20-35 ของผู้ที่ฆ่าตัวตาย มีสาเหตุมาจาก
ภาวะซึมเศร้า จากอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซึมเศร้าและ ผลกระทบที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทาให้มีนักวิจัย
ในศาสตร์สาขาวิชาชีพต่างๆ ทาการวิจัยเกี่ยวกับภาวะ ซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น ในแง่มุมทางด้านชีววิทยาการแพทย์ จิต
เวชศาสตร์ มานุษยวิทยาการแพทย์ และจิตวิทยา เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อภาวะซึมเศร้าอย่างถ่องแท้ (ศิริพร จิรวัฒน์
กุล, 2546) สาหรับการทาวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้า แม้ไม่ปรากฏหลักฐานบันทึกที่แน่ชัดว่า เริ่มเกิดขึ้นครั้งแรก
เมื่อไร แต่จากการสืบค้นข้อมูลทาง ฐานข้อมูลออนไลน์เท่าที่สามารถสืบค้นได้ พบว่า งานวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
ในประเทศไทยมีการเผยแพร่ ผลงานวิจัยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 หลังจากการเริ่มต้น ดังกล่าว พบว่า มีงานวิจัยที่
เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ตีพิมพ์ เผยแพร่ออกมาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งถึงในปัจจุบัน 414 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับ
ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ทิศทางการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
มีการพัฒนา ขึ้นมาเรื่อยๆ จากการวิจัยเชิงบรรยายไปสู่การวิจัย เชิงทดลอง และรายละเอียดของผลงานวิจัยแต่ละ
ฉบับ มีความหลากหลาย แตกต่างกันออกไปตามปัญหาการวิจัย หรือคาถามการวิจัย ที่เป็นตัวกาหนดให้วัตถุประสงค์
ในการวิจัยรวมถึงแบบการวิจัยแตกต่างกันออกไปด้วย เช่นกัน จากระยะเวลาในการเริ่มต้นทาการวิจัยที่เกี่ยวกับ
ภาวะซึมเศร้ารวมกับปริมาณงานวิจัยที่มีจานวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างในรายละเอียดทาให้เกิดข้อสงสัยว่า องค์
ความรู้ในเรื่องภาวะซึมเศร้าในปัจจุบันเป็นอย่างไร ซึ่งการที่จะทราบว่าในปัจจุบันการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีการทา
วิจัยถึงระดับใด องค์ความรู้ที่ได้เป็นอย่างไร จะได้ จากการวิจัยแบบสารวจผลงานวิจัยที่ผ่านมา เพราะการ สารวจ
งานวิจัยจะทาให้เห็นว่ามีประเด็นใดที่สามารถนาไป สังเคราะห์สรุปเป็นความรู้และนาไปปฏิบัติได้ (Wojner, 1996
อ้างใน ฉวีวรรณ ธงชัย, 2547) แต่อย่างไร ก็ตาม จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทยยัง
ไม่พบว่ามีนักวิจัยคนใดทาการสารวจ และรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อนามา วิเคราะห์และศึกษาดูว่า
ในอดีตที่ผ่านมางานวิจัยมี คุณลักษณะงานวิจัยและรายละเอียดผลวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยเป็น
อย่างไร ด้วยเหตุผล ดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นพยาบาลสาขาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวชเล็งเห็น
ความสาคัญและเกิด ความสนใจที่จะสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทยที่มีการศึกษาในกลุ่ม
ประชากรผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ เพื่อทาการรวบรวมและสังเคราะห์ให้ได้ ข้อสรุปและองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
ใน ประเทศไทยในกลุ่มประชากรผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่จะ นาองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์งานวิจัยในครั้งนี้ ไปใช้
ประโยชน์ในงานวิจัยได้ต่อไปในอนาคต ปัญหาการวิจัย 1. คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึม เศร้าใน
ประเทศไทยเป็นอย่างไร 2. ผลการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย มีรายละเอียดเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์
การวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย จาแนกตาม 1.1 คุณลักษณะ
งานวิจัย (Research characteristics) ได้แก่ ชนิดงานวิจัย ปี พ.ศ.ที่พิมพ์ งานวิจัย แหล่งผลิตงานวิจัย และประเภท
การวิจัย 1.2 ปัญหาการวิจัย (Research question/ objective) ได้แก่ ปัญหาการวิจัยหรือคาถามการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย 1.3 กรอบแนวคิดและทฤษฎี (Theoretical/ conceptual framework) ได้แก่ สมมติฐานการ
วิจัย กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย 1.4 วิธีดาเนินการวิจัย (Research methodology) ได้แก่ แบบการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. เพื่อวิเคราะห์และสรุป
องค์ความรู้จากผลการวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยตามรูปแบบ การวิจัย 415 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และ
คณะ Vol. 17 No. 3 กรอบแนวคิดในการวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดที่
ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เองจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสารวจ งานวิจัยมาเป็นแนวทางในการศึกษา ซึ่ง
อธิบายได้ว่า การสารวจรวบรวมและทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยจะทาให้สามารถระบุองค์
ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย และระบุ ช่องว่างขององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน ประเทศ
5
ไทย ซึ่งจะนาไปสู่ข้อเสนอแนะและทิศทาง การวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยต่อไป วิธีดาเนินการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ งานวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็น
พ.ศ.แรกที่มีการตีพิมพ์งานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะ ระบุองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย ระบุช่องว่าง
องค์ความรู้ ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย สารวจ รวบรวมและ ทบทวนงานวิจัยที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ใน
ประเทศไทย ข้อเสนอแนะทิศทาง การวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าใน ประเทศไทย แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดในการ
วิจัย ซึมเศร้าในประเทศไทย ถึงปี พ.ศ. 2550 ผู้วิจัยทาการ ศึกษาจากประชากร โดยกาหนดเกณฑ์ในการคัดเลือก
งานวิจัยในการศึกษา ดังนี้ เกณฑ์การคัดเลือก 1. เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในกลุ่มประชากรหรือ
กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนไทย ในวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2. เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ทั้งที่เป็นส่วน
หนึ่งของการศึกษาจัดทาโดยนักศึกษา ระดับมหาบัณฑิตและ/หรือดุษฎีบัณฑิต และไม่เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษา
จัดทาโดยนักวิจัย ในสาขาวิชาชีพ ต่างๆ ที่เป็นประชาชนไทย 3. เป็นงานวิจัยที่มีรูปเล่มงานวิจัยฉบับเต็มปรากฏ อยู่ใน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ในสถาบันที่จัดการศึกษา หลักสูตรมหาบัณฑิตและ/หรือดุษฎีบัณฑิต หรือในสังกัด 416 การ
สารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ของ
ทบวงมหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิต 4. กรณีที่พบรายชื่องานวิจัยจากฐานข้อมูลออน
ไลน์มากกว่า 1 ฐานข้อมูล ผู้วิจัยเลือกศึกษาจากแหล่ง ใดแหล่งหนึ่ง 5. ไม่เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
ที่เกี่ยวกับยา พืชสมุนไพร การทดลองทางห้องปฏิบัติ การและการศึกษาในสัตว์ทดลอง วิธีการสืบค้นงานวิจัย 1.
ฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย และฐานข้อมูลออนไลน์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิต
โดยกาหนดคาสาคัญในการสืบค้น ดังนี้ “ซึมเศร้า” “ภาวะซึมเศร้า” “Depression” และ “Depressive
Symptom” 2. การสืบค้นด้วยตนเอง 3. การสืบค้นโดยอาศัยความร่วมมือจากเครือข่าย จากการสืบค้นฐานข้อมูล
ห้องสมุดสถาบันพบ จานวนผลงานวิจัยทั้งหมดจานวน 429 เรื่อง เมื่อใช้เกณฑ์ การคัดเลือกเข้าพบว่ามีงานวิจัยที่
เข้าเกณฑ์และใช้ใน การศึกษา จานวน 122 เรื่อง และการสืบค้นด้วยตนเอง จากฐานข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทางด้านสุขภาพจิต พบจานวนผลงานวิจัยทั้งหมด จานวน 367 เรื่อง เมื่อใช้ เกณฑ์การคัดเลือกเข้าพบว่ามีงานวิจัยที่
เข้าเกณฑ์และ ใช้ในการศึกษา จานวน 61 เรื่อง ดังนั้น เมื่อรวมจานวน งานวิจัยทั้งที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาและ
งานวิจัยที่ ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเท่าที่สามารถสืบค้นได้ จากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และอาศัย
ความร่วมมือจากเครือข่าย พบว่า มีงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย จานวน
183 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่
แบบบันทึก ข้อมูลการสารวจงานวิจัยทางการพยาบาลที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
โดย ใช้แนวคิดของระเบียบวิธีวิจัย ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของงานวิจัย และตอนที่ 2
รายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะของงานวิจัย โดยข้อความ ในแบบบันทึกข้อมูลงานวิจัย ประกอบด้วยข้อความ 2
ลักษณะคือ แบบเลือกตอบ และแบบเติมข้อความ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ความถูกต้อง ความชัดเจน ความครอบคลุม ความเหมาะสมของภาษา และการ
จัดลาดับความต่อเนื่องของภาษา การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. สืบค้นรายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศ
ไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2517 ถึงปี พ.ศ. 2550 จากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และอาศัย ความร่วมมือจาก
เครือข่าย 2. ตรวจสอบจานวนรายชื่องานวิจัยที่ได้จากการ สืบค้นทั้งหมด หากพบว่ารายชื่อใดมีความซ้าซ้อนกัน ใน
ชื่อเรื่องและชื่อนักวิจัย ผู้วิจัยทาการคัดออกจากงาน วิจัย เพื่อสรุปจานวนรายชื่อทั้งหมด 3. คัดเลือกงานวิจัยให้ตรง
ตามเกณฑ์การคัด เลือกประชากรที่ผู้วิจัยกาหนด 4. ติดตามงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ จากห้องสมุดใน สังกัด
ทบวงมหาวิทยาลัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิตด้วยตนเอง 5. อ่านงานวิจัยอย่างละเอียดและบันทึก
ข้อมูล งานวิจัยตามแบบบันทึก 417 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์
ข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณลักษณะงานวิจัย ได้แก่ ชนิดงานวิจัย ปี พ.ศ. ที่พิมพ์งานวิจัย แหล่งผลิต งานวิจัย ประเภทการ
วิจัย ปัญหาการวิจัย หรือคาถาม การวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย แบบ การวิจัย กรอบแนวคิดและ
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และสถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วย
6
โปรแกรมสาเร็จรูป และ ใช้สถิติบรรยาย ซึ่งได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ บรรยายคุณลักษณะของงานวิจัย 2.
วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ เนื้อหาตาม
รูปแบบการวิจัย ผลการวิจัย ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ คุณลักษณะ ของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน
ผู้ใหญ่และผู้สูง อายุในประเทศไทย และรายละเอียดผลการวิจัยที่เกี่ยว กับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย 1.
คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ชนิดงานวิจัย ส่วนใหญ่
เป็นงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับ มหาบัณฑิต ร้อยละ 95.9 ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุด คือ ปี
พ.ศ. 2547-2550 ร้อยละ 37.8 แหล่งผลิตส่วนใหญ่ มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ร้อยละ 66.7 ประเภทการวิจัย เป็น
การวิจัยพื้นฐานร้อยละ 60.1 การระบุปัญหาหรือคาถาม การวิจัยและการไม่ระบุมีจานวนใกล้เคียงกันร้อยละ 50.8
และร้อยละ 49.2 ตามลาดับ ในขณะที่งานวิจัยทั้งหมด มีการระบุวัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัยที่ระบุ ส่วน
ใหญ่เป็นสมมติฐานแบบมีทิศทางมากที่สุดร้อยละ 50.5 งานวิจัยส่วนใหญ่ระบุกรอบแนวคิดร้อยละ 56.3 โดยงานวิจัย
ที่ระบุกรอบแนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 54.4 ทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้ทฤษฎี
ทางจิตสังคมร้อยละ 63.8 แบบการวิจัย ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองร้อยละ 66.1 สาหรับแบบ
แผนการวิจัยของการวิจัยแบบทดลอง และแบบกึ่งทดลองส่วนใหญ่เป็นการวัดก่อนหลัง 2 กลุ่ม ร้อยละ 59.7
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทาการศึกษาในผู้ป่วยร้อยละ 56.8 เพศที่ทาการศึกษาวิจัย ส่วนใหญ่ศึกษาทั้งใน
เพศชายและเพศหญิงร้อยละ 65.0 ช่วงวัยที่ทาการศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาในวัยผู้ใหญ่ร้อยละ 54.1 สถานที่ที่ใช้ในการ
เก็บข้อมูลส่วนใหญ่ทาการ เก็บข้อมูลในโรงพยาบาลร้อยละ 73.2 โดยเป็นการ เก็บข้อมูลที่แผนกผู้ป่วยในร้อยละ 50.7
การคานวณ ขนาดกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ระบุการคานวณร้อยละ 63.9 สาหรับขนาดกลุ่มตัวอย่างเมื่อวิเคราะห์ตาม
แบบ การวิจัย พบว่า การวิจัยแบบไม่ทดลองใช้ขนาดกลุ่ม ตัวอย่าง 120-300 คน คิดเป็นร้อยละ 78.9 การวิจัย แบบ
ทดลองและกึ่งทดลองใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างน้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 57.9 และการวิจัย คุณภาพใช้
ขนาดกลุ่มตัวอย่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0 การได้มาของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่ใช้หลัก
ความน่าจะเป็นร้อยละ 60.7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่ใช้ The Center for Epidemiologic Studies-
Depression Scale (CES-D) Beck Depression Inventory (BDI) และ Thai Geriatric Depression Scale
(TGDS) มีจานวนใกล้เคียงกันร้อยละ 16.4 ร้อยละ 15.8 และ 13.2 ตามลาดับ ประเภทเครื่องมือที่ใช้วัด ภาวะ
ซึมเศร้า ส่วนใหญ่เป็น Self-Rating scale ร้อยละ 87.9 และเครื่องมือส่วนใหญ่ระบุวิธีการสร้างเครื่องมือ ร้อยละ
93.7 วิธีการสร้างเครื่องมือวัดภาวะซึมเศร้า ที่พบมากที่สุดคือ นาเครื่องมือที่พัฒนาแล้วมาใช้ ร้อยละ 89.6 สาหรับ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ส่วนใหญ่ตรวจสอบทั้งความเที่ยงและความตรงร้อยละ 62.1 และวิธีการเก็บข้อมูล
ส่วนใหญ่เป็นการเก็บข้อมูล 418 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J •
October - December 2011 จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิร้อยละ 96.2 การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนใหญ่ใช้การวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงปริมาณร้อยละ 95.1 โดยในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณพบว่า ใช้ทั้งสถิติ บรรยายและสถิติอ้างอิงร่วมกัน
มากที่สุดร้อยละ 92.3 สาหรับสถิติบรรยายที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ส่วนใหญ่ใช้สถิติชนิดพาราเมตริกซ์ โดยเป็นการใช้สถิติ t-test มากที่สุด และใน
ส่วนของ สถิติอ้างอิงชนิดนันพาราเมตริกซ์ใช้สถิติไคสแควร์ (chi square) มากที่สุด 2. รายละเอียดผลการวิจัยที่
เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การวิจัยแบบไม่ทดลอง แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของ
การศึกษาออกเป็น 3 วัตถุประสงค์คือ การศึกษา ความชุกและอุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้า การศึกษาปัจจัย ที่มี
ความสัมพันธ์และปัจจัยที่ทานายภาวะซึมเศร้า และ การศึกษาเพื่อพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้า มีรายละเอียด ดังนี้
2.1.1 ความชุกและอุบัติการณ์ของการเกิด ภาวะซึมเศร้า จานวน 40 เรื่อง ส่วนใหญ่ เป็นการศึกษา ความชุกแบบ
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (point prevalence) พบความชุกของภาวะซึมเศร้าร้อยละ 2.8-78.05 และ เมื่อพิจารณา
การศึกษาความชุกตามกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ความชุกของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มสตรีที่เป็นหญิงตั้งครรภ์ ระยะคลอดและ
ระยะหลังคลอดร้อยละ 2.8-38.5 กลุ่มสตรีวัยทองร้อยละ 13.0-78.05 กลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 29.4-64.7 กลุ่มผู้ป่วย
โรคทางกายเรื้อรัง ร้อยละ 6.7-69.2 และกลุ่มผู้ป่วยโรคทางจิตร้อยละ 8.7-38.3 ในการศึกษาความชุกดังกล่าวมี
7
งานวิจัย 2 เรื่องที่รายงานผลการวิจัยอย่างชัดเจนว่า ความชุก ในการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้หญิงสูงกว่าผู้ชาย สาหรับ
การศึกษาอุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าพบว่า มีการศึกษา จานวน 5 เรื่อง ทาการศึกษาในกลุ่มสตรีระยะตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด และการศึกษาในสตรีวัยทอง พบอุบัติการณ์ ร้อยละ 6.67-38.05 เมื่อแยกตามกลุ่มตัวอย่าง พบ
อุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มสตรีระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดร้อยละ 6.67-38.5 และอุบัติ การณ์ของ
ภาวะซึมเศร้าในสตรีวัยทองร้อยละ 13.0 2.1.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ ซึมเศร้าและปัจจัยที่ทานายภาวะ
ซึมเศร้า จานวน 58 เรื่อง สรุปผลตามลักษณะกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วย ทางกาย ผู้ป่วยทางจิต กลุ่มสตรีตั้งครรภ์
และหลังคลอด กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มสตรีวัยทอง และกลุ่มผู้ดูแล แบ่งเป็น ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านชีวภาพ
(biological factor) ปัจจัยด้านจิตใจ (psychological factor) และปัจจัย ด้านสังคม (social factor) ได้ดังนี้
2.1.2.1 กลุ่มผู้ป่วยทางกาย พบปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ เพศหญิง
อาชีพ สถานภาพสมรสที่หย่าร้าง หรือหม้าย ปริมาณการใช้แอมเฟตามีน ปัญหาการเงิน และภาวะถอนพิษยา ปัจจัย
ด้านชีวภาพ ได้แก่ การวินิจฉัย ว่าเป็นมะเร็งปากมดลูก การรักษาด้วยการฉายรังสี การหมดสมรรถภาพทางเพศ
สาหรับความรุนแรงของโรค ผลกระทบของความเจ็บป่วย ความเหนื่อยล้า ความบกพร่อง ในการมองเห็น จานวนข้อที่
บวม จานวนข้อที่กดเจ็บ ความปวด อาการหายใจลาบาก ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ความเชื่อเรื่องบุญกรรม ความรู้สึกมี
คุณค่าในตนเอง ระดับความหวัง ปัจจัยด้านสังคม พบว่า งานอดิเรก ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาคดีความ การเฝ้าบ้าน
และ สถานที่ตั้งของแหล่งขายยาเสพติด การสนับสนุนทาง สังคม การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม สัมพันธภาพ ใน
ครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต 2.1.2.2 กลุ่มผู้ป่วยทางจิต พบ
ปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ การทางานและการมีโรคทางกาย อายุ 419
สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 เพศ และ สถานภาพสมรส ปัจจัยด้านชีวภาพ ได้แก่ ประวัติคนใน
ครอบครัวป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ปัจจัย ด้านจิตใจ ได้แก่ ประวัติการสูญเสียมารดาก่อน 11 ปี ความคิดอัตโนมัติด้านลบ
อาการรู้สึกผิด การจัดการ สิ่งเร้าภายใน ความรู้สึกการเป็นเจ้าของ ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดใน
ชีวิต การรับรู้ความเครียด ความขัดแย้งระหว่างบุคคล การสนับสนุนทางสังคม 2.1.2.3 กลุ่มผู้สูงอายุ พบปัจจัยที่มี
ความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ โรคประจาตัว แหล่งที่มาของรายได้ เพศ อายุตั้งแต่ 65 ปี
ขึ้นไป สถานภาพสมรส รายได้ที่แตกต่างกัน ภาวะ สุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปัจจัยด้านชีวภาพ ได้แก่ การจัดการ ความ
เจ็บปวด การใช้ยาประจา การรับรู้ความรุนแรงของ การเจ็บป่วย จานวนครั้งของปัญหาสุขภาพ ภาวะสมองเสื่อม
ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ความหวังความว้าเหว่ อัตมโนทัศน์ ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ งานอดิเรก การติดต่อกับลูกหลาน
การเป็นเจ้าของบ้าน การเป็นสมาชิกชมรม การให้คาแนะนา กับคนอื่น สภาพการอยู่อาศัย และสาเหตุที่ไม่ทางาน
สัมพันธภาพภายในครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจาวัน เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต การศึกษา
การมีส่วนร่วมในสังคม การออกกาลังกาย งานอดิเรก สัมพันธภาพภายในครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติ
กิจวัตรประจาวัน และการมีส่วนร่วมในสังคม 2.1.2.4 กลุ่มสตรีวัยเปลี่ยน พบปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า
ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ศาสนา จานวนบุตรที่มีความเพียงพอของรายได้ และปัญหาสุขภาพจิต ปัจจัยด้าน
ชีวภาพ พบว่า ประวัติ ซึมเศร้าในอดีต ลักษณะการมีประจาเดือนอาการใน วัยหมด และอาการในวัยหมด
ประจาเดือน ปัจจัยด้าน จิตใจ ได้แก่ ทัศนคติต่อภาวะหมดประจาเดือน และ ลักษณะบุคลิกภาพความรู้สึกไม่สบายใจ
ต่อการเจ็บป่วย ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ปัญหาคู่สมรส การสนับสนุนทางสังคม 2.1.2.5
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลัง คลอด พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ การ
ประกอบอาชีพ จานวนบุตร ประวัติสุขภาพจิตในอดีต ประวัติการมีโรคประจาตัวระยะ 2–7 วันหลังคลอด รายได้
อายุ ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ปัจจัยด้านอารมณ์และการที่เพศของบุตรไม่ตรงตาม ต้องการมีความสัมพันธ์กับภาวะ
ซึมเศร้า อาการวิตกกังวล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ภาพลักษณ์ ความตั้งใจใน การมีบุตร การรับรู้ความสามารถใน
การเป็นมารดา ปัจจัย ด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต สิ่งรบกวน ในชีวิต เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน
สัมพันธภาพระหว่าง คู่สมรส แรงสนับสนุนทางสังคม การเบิกค่ารักษาพยาบาล ความพึงพอใจในชีวิตสมรส และ
ความสัมพันธ์กับมารดา 2.1.2.6 กลุ่มผู้ดูแล พบปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่
8
สถานภาพสมรส ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ เจตคติต่อ ความตาย การรับรู้ภาระในการดูแล การรับรู้ความเข้มแข็ง ของ
ครอบครัว ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ ระยะเวลาหลังจาก ที่บุตรได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมาธิสั้นนานกว่า 12 เดือน
ระยะเวลาในการดูแลของผู้ดูแล 2.1.3 การศึกษาพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้า จานวน 15 เรื่อง พบว่า เป็นงานวิจัย
เพื่อพัฒนาแบบวัด ภาวะซึมเศร้าจานวน 14 เรื่อง และงานวิจัยเพื่อพัฒนา แบบวัดที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าเพียง 1
เรื่อง โดย งานวิจัยเพื่อพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้ามีวัตถุประสงค์ เพื่อคัดกรองภาวะซึมเศร้า (screening) จานวน 8
เรื่อง เพื่อประเมินผลการรักษาภาวะซึมเศร้า (clinical) จานวน 7 เรื่อง และงานวิจัยดังกล่าวทาการศึกษาในกลุ่ม
ผู้สูงอายุ จานวน 2 เรื่อง ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรังจานวน 3 เรื่อง ผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าจานวน 8 เรื่องและมารดาหลัง
คลอด จานวน 1 เรื่อง นอกจากนี้ พบว่างานวิจัยเพื่อพัฒนา แบบวัดภาวะซึมเศร้าผู้วิจัยทาการแปลหรือดัดแปลง จาก
แบบวัดภาวะซึมเศร้าที่ได้มาตรฐานจานวน 10 เรื่อง 420 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย
Rama Nurs J • October - December 2011 และเป็นแบบวัดที่สร้างขึ้นใหม่ จานวน 5 เรื่อง 2.2 การวิจัยแบบ
ทดลอง/กึ่งทดลอง จานวน 57 เรื่อง สรุปออกเป็น 2 ประเด็น คือ ผลการวิเคราะห์ รูปแบบการบาบัด และผลลัพธ์การ
วิจัย มีรายละเอียด ดังนี้ 2.2.1 รูปแบบการบาบัด พบว่า ในอดีต ที่ผ่านมางานวิจัยมีรูปแบบการให้การบาบัดภาวะ
ซึมเศร้า ในกลุ่มต่อไปนี้ กลุ่มผู้ป่วยทางกาย กลุ่มผู้มีปัญหาทาง สุขภาพจิต จิตเวช และสารเสพติด กลุ่มผู้สูงอายุ และ
กลุ่มผู้ดูแล 2.2.1.1 กลุ่มผู้ป่วยทางกาย พบการ บาบัด จานวน 28 เรื่อง โดยมีรูปแบบการบาบัดที่ หลากหลาย
แตกต่างกันตามลักษณะผู้ป่วย ดังนี้ - ผู้ป่วยมะเร็ง พบการบาบัดจานวน 10 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการบาบัดที่เกี่ยวกับ
การผ่อนคลาย - ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและ เอดส์ (HIV) พบการบาบัดจานวน 9 เรื่อง ส่วนใหญ่ เป็นการบาบัดที่
เกี่ยวกับการให้คาปรึกษา - ผู้ป่วยพิการ พบการบาบัดจานวน 7 เรื่อง โดยเป็นการบาบัดที่เกี่ยวกับการให้คาปรึกษา
และการผ่อนคลาย - ผู้ป่วยไตวาย พบการฝึกอานาปาน สติสมาธิ จานวน 1 เรื่อง 2.2.1.2 กลุ่มผู้มีปัญหาทาง
สุขภาพจิต จิตเวช และสารเสพติด จานวน 12 เรื่อง โดยเป็นการ บาบัดที่มุ่งปรับกระบวนการคิด และการบาบัด
บางส่วน มุ่งเน้นด้านสังคม 2.2.1.3 กลุ่มผู้สูงอายุ พบการบาบัด จานวน 12 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการบาบัดที่มุ่งเน้นด้าน
พฤติกรรม 2.2.1.4 กลุ่มผู้ดูแล พบการบาบัด จานวน 5 เรื่อง โดยเป็นการบาบัดที่มุ่งเน้นทางด้านสังคม และด้าน
กระบวนการคิด 2.2.2 วิเคราะห์ผลลัพธ์จากการวิจัย พบว่า ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังทางกายและกลุ่มผู้สูงอายุพบว่า
ทุกรูปแบบการบาบัดทาให้ภาวะซึมเศร้าดีขึ้น 2.3 การวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าเป็นการศึกษา เกี่ยวกับประสบการณ์
การรับรู้ และการจัดการภาวะ ซึมเศร้า ส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหา เพื่อการบรรเทา หรือหลีกเลี่ยงการเกิดอาการ
แบ่งการจัดการออกเป็น 2 ประเด็นหลักคือ การจัดการอาการโดยผู้อื่น ได้แก่ การไปพบแพทย์ ไปโรงพยาบาล เพื่อ
การรับประทานยา การรักษาด้วยไฟฟ้า และการรับคาปรึกษา และการจัดการ โดยตนเอง ได้แก่ การใช้วิธีการอดทน
การพึ่งยาและ แอลกอฮฮล์ การปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองชีวิต จนเกิดการตระหนักรู้ถึงที่มาของปัญหา และ
เข้าใจตนเอง โดยสร้างเสริมพลังอานาจในตนเองและปรับเปลี่ยนวิธี คิดในทางร้ายมากกว่าเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่นจนหลุด
พ้น จากภาวะซึมเศร้า อภิปรายผล จากผลการสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุประเทศ
ไทยจานวน 183 เรื่อง ผู้วิจัยพบประเด็นที่น่าสนใจที่สะท้อนให้เห็นคุณลักษณะ งานวิจัยและรายละเอียดผลการวิจัยที่
นาไปสู่ข้อเสนอแนะ และทิศทางการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี้ ส่วนที่ 1
คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย พบว่า ชนิดงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่เป็น ส่วน
หนึ่งของการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์ งานวิจัยมากที่สุด คือ ปีพ.ศ. 2547-2550 แหล่งผลิต ส่วนใหญ่
มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ประเภทการวิจัยเป็น การวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยทั้งหมดมีการระบุวัตถุประสงค์ การวิจัย
กรอบแนวคิดส่วนใหญ่ระบุกรอบแนวคิดซึ่ง 421 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 งานวิจัยที่ระบุกรอบ
แนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้ ทฤษฎีทางจิตสังคม แบบการ
วิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัย เชิงปริมาณแบบไม่ทดลอง ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม ผู้ป่วยทางกายโรคเรื้อรัง มีการใช้
CES-D, BDI, TGDS เป็นแบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะ ซึมเศร้าเป็นส่วนมาก ซึ่งเป็นเครื่องมือ
แบบสอบถาม ด้วยตนเอง (Self-rating scale) จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย เพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็วในช่วง 9 ปี ที่ผ่านมา สะท้อนให้ เห็นว่า ประเทศไทยให้ความสาคัญในการวิจัยและศึกษา ภาวะซึมเศร้าอย่าง
9
ต่อเนื่อง ซึ่งการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของงานวิจัยอาจมีความเกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เกิด จากภาวะซึมเศร้า ที่เพิ่ม
มากขึ้นกว่าในอดีตที่ผ่านมา จากข้อมูลการสารวจจานวนและอัตราผู้ป่วยทางสุขภาพจิต ของประเทศไทยปี พ.ศ.
2553 พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรค ซึมเศร้าอยู่ลาดับ 4 ในกลุ่มโรคทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข,
2553) ส่งผลให้กรมสุขภาพจิต มีนโยบายการดาเนินงานที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อให้การช่วยเหลือและป้องกันการ
เกิดภาวะซึมเศร้า เช่น การส่งเสริมให้ทาวิจัยเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน ปีพ.ศ. 2540 และเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับ
ภาวะซึมเศร้า ให้ประชาชนทราบ ผ่านทางฐานข้อมูลของกรมสุขภาพจิต และสื่อต่างๆ ในการดาเนินงานดังกล่าวของ
กรมสุขภาพจิต มีความชัดเจนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการกาหนดเป้าหมายใน
ยุทธศาสตร์ ระดับชาติเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า การดาเนินการต่อเนื่อง มาจนถึงในปัจจุบัน (ธรณินทร์ กองสุข และคณะ
, 2549ก) นอกจากนี้ การเพิ่มจานวนขึ้นอาจเกี่ยวข้องกับการที่ นักวิจัยมีองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทาวิจัยและ
ระเบียบวิธีวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น ในส่วนของงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นประเภทพื้นฐาน สะท้อนให้เห็นว่าองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับ
ภาวะซึมเศร้า ในอดีตที่ผ่านมาอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการทาวิจัยเพื่อ ให้มีความเข้าใจในภาวะซึมเศร้าและเกิดองค์
ความรู้ที่ สามารถอธิบายการเกิดภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ในบริบทที่แตกต่างกัน การระบุกรอบแนวคิดสะท้อนให้
เห็นว่างานวิจัยมีทิศทางของการทาวิจัยที่ชัดเจน เพราะ การระบุกรอบแนวคิดช่วยให้นักวิจัยอื่นหรือผู้ที่สนใจ ใน
งานวิจัยเรื่องนั้นเกิดความเข้าใจในแนวความคิดหรือ ความคิดรวบยอดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เนื่องจากกรอบแนวคิด ทาให้
เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ ปรากฏการณ์ หรือตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาได้อย่างชัดเจน สาหรับ
ประเด็นของงานวิจัยที่ระบุกรอบแนวคิดที่สร้าง จากแนวคิดหรือทฤษฎีโดยใช้ทฤษฎีทางจิตสังคม (Psychological
theories) เป็นส่วนใหญ่ สะท้อนให้เห็นว่า ในงานวิจัยครั้งนี้ภาวะซึมเศร้ามีความเกี่ยวข้องทั้งด้านจิตใจ และด้านสังคม
โดยเป็นปัจจัยที่สาคัญและมีบทบาทที่ ทาให้กระบวนการคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมเกิด การเปลี่ยนแปลง แบบการ
วิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ แบบไม่ทดลองสะท้อนให้เห็นว่า นักวิจัยส่วนใหญ่ให้ ความสนใจในประเด็นของ
ลักษณะทั่วไปของภาวะซึมเศร้า รวมถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์หรือปัจจัยที่ทานายการเกิด ภาวะซึมเศร้า อย่างไรก็
ตาม ที่ผ่านมาการวิจัยเกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย อยู่ใน ระยะเริ่มต้นของการวิจัยที่
เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ซึ่งทาให้ นักวิจัยส่วนใหญ่จาเป็นต้องหาความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะ ซึมเศร้าให้ได้มากพอก่อนที่จะ
ทาการวิจัยแบบอื่นต่อไป เนื่องจากองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยแบบไม่ทดลอง จะเป็นองค์ความรู้พื้นฐานที่ช่วยทาให้
นักวิจัยการทาวิจัย เชิงทดลอง/กึ่งทดลองซึ่งเป็นการวิจัยที่เน้นในเรื่อง ของการจัดกิจกรรมการช่วยเหลือบุคคลที่มี
ภาวะซึมเศร้า ที่มีความแตกต่างกันในเรื่องของเพศ อายุ รวมถึงสถานภาพ ทางสังคมได้อย่างเหมาะสมต่อไป
สอดคล้องกับวิลเลียม และคณะ (Williams, Hagerty, & Ketefian, 2005) 422 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะ
ซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ที่กล่าวว่า นักวิจัยที่มีมุมมองต่อภาวะซึมเศร้า
โดยมุ่งที่ ประสบการณ์ของบุคคลได้รับจากการเกิดภาวะซึมเศร้า จะทาการวิจัยเชิงคุณภาพ เพราะทาให้เกิดความ
เข้าใจ บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้ามากขึ้น ในทางตรงข้าม ถ้านักวิจัย มีมุมมองต่อภาวะซึมเศร้าโดยมุ่งที่ความสัมพันธ์ การ
ทานาย และการทดสอบปัจจัยหรือคุณลักษณะที่อาจเกี่ยวข้อง กับการเกิดภาวะซึมเศร้า จะทาการวิจัยเชิงปริมาณ
เพราะ ทาให้เกิดแนวทางที่เหมาะสมในการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะ ซึมเศร้า สาหรับในงานวิจัยเชิงคุณภาพถึงแม้ว่าจะมี
จานวน งานวิจัยไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยเชิงปริมาณ แต่สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของนักวิจัยใน
การทาวิจัย เชิงคุณภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจในข้อมูลด้านคุณภาพ ของภาวะซึมเศร้าให้ลึกซึ้งขึ้น เนื่องจากการวิจัย
เชิงคุณภาพ มีความสาคัญในแง่ของการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ของบุคคล หรือเป็นการค้นหาความหมาย
ตามการรับรู้ ของบุคคล เช่น ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิด ภาวะซึมเศร้า การจัดการกับอาการซึมเศร้า เป็นต้น
ซึ่ง ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถอธิบาย ได้ด้วยวิจัยเชิงปริมาณ ดังนั้น หากนักวิจัยมีข้อมูลด้าน
คุณภาพของภาวะซึมเศร้าจะช่วยให้บุคลากรในแต่ละ ศาสตร์สาขาวิชาชีพมีเกิดความเข้าใจปรากฏการณ์เหล่านั้น มาก
ขึ้น ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ป่วยทางกายโรคเรื้อรัง สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับโรคทางกาย
เรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และการติดสารเสพติด เป็นต้น
กล่าวคือ ภาวะซึมเศร้าอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นหรือเป็น ปัจจัยเสริมให้เกิดโรคหรือปัญหาทางร่างกายอื่นๆ ตามมา เช่น
10
โรคมะเร็ง โรคเอดส์ โรคเบาหวาน โรคพาร์คินสัน โรคอัลไซเมอร์ เป็นต้น สอดคล้องกับรายงานขององค์การ อนามัย
โลก (World Health Organization, 2007) ที่ รายงานอัตราการเกิดภาวะซึมเศร้าทั้งการเกิดภาวะซึมเศร้า อย่าง
เดียวและการเกิดภาวะซึมเศร้าร่วมกับโรคอื่นๆ เช่น โรคทางกายเรื้อรัง ได้แก่ โรคหัวใจ โรคข้อเสื่อม โรคหอบหืด และ
โรคเบาหวาน เป็นต้น และการศึกษาของ โกลด์แมนและคณะ (Goldman, Nielsen, & Champion, 1999) ที่พบว่า
ภาวะซึมเศร้าพบได้บ่อยร่วมกับโรค วิตกกังวล การใช้สารเสพติดและผู้ป่วยทางกาย เช่นเดียว กับการศึกษาของ บาล
วินและโอเบียล (Baldwin & O’Brien, 2002) ซึ่งพบว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นได้ทั้งสาเหตุและ โรคร่วมในโรคทางกาย
เรื้อรัง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน และยังพบเพิ่มสูงขึ้นในกลุ่มโรคอัลไซเมอร์ โรคหัวใจ กระดูกสะโพก
หัก และโรคปอดเรื้อรัง เป็นต้น สาหรับขนาดกลุ่มตัวอย่างแสดงให้เห็นว่างานวิจัย เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และ
ผู้สูงอายุ ในประเทศไทย คานึงถึงการเลือกขนาดกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เหมาะสม กับแบบการวิจัย รวมถึงคานึงการเป็น
ตัวแทนของประชากร โดยรวม โดยเฉพาะในการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง ซึ่งจาเป็นต้องมีการวางกาหนดกลุ่ม
ตัวอย่างให้เหมาะสม กับการบาบัดที่ให้ (intervention) สอดคล้องกับสภา การวิจัยแห่งชาติ (2550) ในเรื่องขนาด
กลุ่มตัวอย่าง ว่าขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่จะมีค่าความคลาดเคลื่อน มาตรฐานจะลดลงในลักษณะที่แปรผกผันกับกลุ่ม
ตัวอย่าง และขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยแบบไม่ทดลอง จะมีขนาดใหญ่กว่าการวิจัยแบบทดลอง/กึ่งทดลอง
เช่นเดียวกับงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก เนื่องจากต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลจนข้อมูลอิ่มตัว และ
การได้มาของกลุ่มตัวอย่างพบว่า ส่วนใหญ่ไม่ใช้หลัก ความน่าจะเป็น แต่เป็นแบบเฉพาะเจาะจงมากที่สุด อาจ
เกี่ยวเนื่องจากภาวะซึมเศร้าหรือตัวแปรที่ผู้วิจัยต้องการ ศึกษา เป็นภาวะที่มีลักษณะที่เฉพาะ ดังนั้น ผู้วิจัยต้องมี การ
กาหนดลักษณะกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เป็นตามข้อตกลง เบื้องต้นและเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ตรงกับสนใจและให้ได้ ความจริง
ในส่วนการเลือกใช้ CES-D, BDI, TGDS เป็น แบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะซึมเศร้า 423 สุทธานันท์
ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 เป็นส่วนมาก แสดงให้เห็นว่าการศึกษาภาวะซึมเศร้ามี วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรอง
ภาวะซึมเศร้ามากกว่าศึกษา เพื่อประเมินผลการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดกรอง ภาวะซึมเศร้าในชุมชน เพราะ
แบบวัดทั้ง 3 แบบวัด เป็น เครื่องมือที่สามารถใช้วัดภาวะซึมเศร้าได้กับกลุ่มตัวอย่าง ที่มีจานวนมาก สามารถตอบได้
ด้วยตนเองเข้าใจได้ง่าย และมีข้อคาถามที่ไม่มากนัก สอดคล้องกับธรณินทร์ กองสุข และคณะ (2549ข, หน้า 24)
พบว่า ข้อดีของแบบสอบถาม CES-D คือ สะดวกที่จะนาไปใช้ ประหยัดเวลาและค่า ใช้จ่าย และง่ายต่อการแปลผล
เครื่องมือมีความเหมาะสม ที่สุดในการนาไปคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เนื่องจากมีความแม่นตรงสูงใน
การวัด ประเภทของ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล พบว่า งานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือแบบสอบถามด้วย
ตนเอง (Self-rating scale) นั้นสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญกับข้อมูล ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างว่าเป็นข้อมูลที่มี
ความน่าเชื่อถือ มากกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่น เนื่องจากกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ที่ตอบแบบวัดหรือแบบสอบถามด้วย
ตนเองโดยตรง อีกทั้งผู้ตอบแบบวัดหรือแบบทดสอบไม่ต้องกังวลใน การตอบ ส่วนที่ 2 ผลการวิจัยของงานวิจัยที่
เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย 2.1 งานวิจัยแบบไม่ทดลอง พบว่า มีการศึกษา ความชุก
และอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซึมเศร้าในหลาย กลุ่มประชากร และในแต่ละกลุ่มที่ศึกษาพบความชุกของ ภาวะ
ซึมเศร้ากันแตกต่างกัน สอดคล้องกับการศึกษา ของธรณินทร์ กองสุขและคณะ (2549ข, หน้า 24) ที่ กล่าวว่า “การที่
ความชุกของโรคซึมเศร้าแตกต่างกันไป ในแต่ละประเทศอาจเนื่องมาจากความแตกต่างของ ช่วงเวลาที่ศึกษา เกณฑ์
ในการวินิจฉัย ระเบียบวิธีวิจัยที่ ใช้และวัฒนธรรม” ซึ่งสอดคล้องกับนันทิกา ทวิชาชาติ (2548) ที่กล่าวว่า การศึกษา
ระบาดวิทยาของโรคต่างๆ มีประโยชน์อย่างมากต่อการวิจัยการรักษาพยาบาลผู้ป่วย และนโยบายทางสุขภาพจิต
ข้อมูลที่ได้ในอดีตสามารถ บอกถึงระยะของการดาเนินโรค อาการความผิดปกติ ทางจิต จะช่วยในการจัดระบบการ
บริการ การดูแลรักษา และการป้องกันที่ครอบคลุม ข้อสังเกตที่ได้จะช่วยให้ บุคคลากรทางด้านสุขภาพได้ตระหนักถึง
การดูแลสุขภาพ และการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมมากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาความชุกทาให้พบว่า
ภาวะซึมเศร้า มีความสัมพันธ์กับภาวะทางกาย นอกจากนี้ การศึกษา ในแต่ละกลุ่มประชากรอาจเกี่ยวข้องกับการใช้
ระเบียบ วิธีวิจัยที่แตกต่างกัน เช่น ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา สถานที่ ที่ทาการศึกษา และแบบวัดภาวะซึมเศร้าที่นักวิจัย
เลือกใช้ จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ ซึมเศร้า เมื่อวิเคราะห์ภาพรวมพบว่า ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่
Depression
Depression
Depression
Depression

More Related Content

Similar to Depression

ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจlalita Panyarat
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง mligarner7859
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียJirapa_01
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya apisarajk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 

Similar to Depression (20)

ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
 
Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
Beopgjeopf
BeopgjeopfBeopgjeopf
Beopgjeopf
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 

Depression

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ซึมเศร้า...ใกล้เรากว่าที่คิด (BE DEPRESSION) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว นิชากร ปามูล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว นิชากร ปามูล เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ซึมเศร้า...ใกล้เรากว่าที่คิด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) BE DEPRESSION ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทา นางสาว นิชากร ปามูล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบัน ‘ภาวะโรคซึมเศร้า’ พบมากในวัยรุ่นไทย เนื่องจากในปัจจุบันมีหลายปัจจัยในการกระตุ้นให้เกิด ภาวะซึมเศร้า ทั้งเรื่องการเรียน ครอบครัว และปัญหาอื่นๆที่สามารถเป็นสิ่งเร้าทาให้เกิดความผิดปกติทางด้าน อารมณ์และความคิดในด้านลบ เช่น เบื่อหน่าย ไม่มีความสุข ท้อแท้ หดหู่ สิ้นหวัง เป็นต้น ซึ่งหากผู้ที่อยู่ในภาวะโรค ซึมเศร้าไม่ได้เข้ารับการรักษาหรือไม่รู้ตัวว่าตนอยู่ในภาวะซึมเศร้าอาจจะจบปัญหาโดยการฆ่าตัวตาย ถ้าเรายังไม่ ตระหนักถึงปัญหาจากภาวะโรคซึมเศร้าที่อยู่ใกล้ตัวเราในปัจจุบัน สิ่งนี้อาจจะส่งผลเสียไปถึงอนาคต และแน่นอนว่า วัยรุ่นส่วนใหญ่ถึงแม้จะรู้ตัวว่าอยู่ในภาวะโรคซึมเศร้าก็ยังไม่กล้าเข้ารับการรักษา เนื่องจากมีความกลัวและการรักษา ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ดังนั้นดิฉันจึงตัดสินใจที่จะนาปัญหาเหล่านี้มาดาเนินงานในรูปแบบโครงงานการศึกษา เพื่อให้ ทุกคนได้ตระหนักและรับรู้เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อสามารถนาไปปรับใช้กับตนเองและคนรอบข้าง รวมถึงสามารถ เป็นสื่อเพื่อการเรียนรู้กับผู้ที่สนใจสืบต่อไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นสื่อและประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้ที่สนใจ 2.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อเหลีกเลี่ยงภาวะซึมเศร้า 3.เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติตนที่มีสิทธิ์เป็นกลุ่มเสียงภาวะซึมเศร้าหรือมีภาวะโรคซึมเศร้า ขอบเขตโครงงาน ศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย โดย สุทธานันท์ ชุนแจ่ม พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพจิต และจิตเวช) โสภิณ แสงอ่อน Ph.D. (Nursing) ทัศนา ทวีคูณ Ph.D. (Nursing) งานวิจัยในครั้งนี้เป็นการสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2517-2550 เพื่อ ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยและวิเคราะห์รายละเอียดผลวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุใน ประเทศไทย โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และความร่วมมือจากเครือข่าย พบงานวิจัยทั้งหมด จานวน 183 เรื่อง แบ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณจานวน 177 เรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพจานวน 5 เรื่อง และการวิจัย
  • 3. 3 ผสมผสานจานวน 1 เรื่อง ผลการวิจัย มี 2 ประเด็นหลักคือ 1) คุณลักษณะของงานวิจัยพบว่า ชนิดงานวิจัยส่วนใหญ่ เป็นงานวิจัยที่เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุดคือ ปี พ.ศ. 2547- 2550 แหล่งผลิตส่วนใหญ่มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ประเภทการวิจัยเป็นการวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยทั้งหมด มีการระบุ วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีที่ใช้ใน งานวิจัยส่วนใหญ่ใช้ ทฤษฎีทางจิตสังคม แบบการวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลอง ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ป่วย ทางกายโรคเรื้อรัง มีการใช้ Center for Epidemiologic StudiesDepression Scale (CES-D), Beck Depression Inventory (BDI), Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) เป็นแบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะ ซึมเศร้าเป็นส่วนมาก 2) รายละเอียด ผลการวิจัยวิเคราะห์ตามการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองจานวน 120 เรื่อง และแบบทดลอง/ แบบกึ่งทดลองจานวน 57 เรื่อง พบว่า การวิจัยแบบไม่ทดลองเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความชุก และ อุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าจานวน 40 เรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และทานายภาวะซึมเศร้า จานวน 58 เรื่อง และ การพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้าจานวน 15 เรื่อง ส่วนการวิจัยแบบ ทดลอง/แบบกึ่งทดลอง พบว่า ส่วนใหญ่เป็น การศึกษาผลของการบาบัดทางด้านจิตสังคมที่มี หลากหลายรูปแบบ เช่น การให้คาปรึกษาทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล ตามแนวคิดทฤษฎีต่างๆ เช่น Gestalt และ Roger เป็นต้น การบาบัดทางความคิด การบาบัดทางความคิดและ พฤติกรรม การทาสมาธิ และการผ่อนคลาย เป็นต้น จากการสารวจงานวิจัยในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า งานวิจัยที่ เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทยเป็นการศึกษาในผู้ป่วยทางกายเป็น ส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงควร สนับสนุนให้มีการศึกษาในผู้ป่วยทางจิตหรือในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะซึมเศร้า เช่น กลุ่มผู้ดูแล กลุ่มคนทางาน เป็นต้น ให้เพิ่มมากขึ้นและสนับสนุนให้มีการวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูให้มาก ขึ้น คาสาคัญ: การสารวจงานวิจัย ภาวะซึมเศร้า งานวิจัยในประเทศไทย *Corresponding author, พยาบาลวิชาชีพ (ด้านการสอน) ปฏิบัติการที่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี E-mail: suthanan_p@windowslive.com **ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ***อาจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 413 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 ความเป็นมาและความสาคัญของ ปัญหา การที่บุคคลต้องเผชิญกับเหตุการณ์ต่างๆใน ชีวิตประจาวัน เช่น การเสียชีวิตของบุคคลสาคัญในชีวิต การหย่า ร้าง การประสบปัญหาในการทางาน การประสบ ปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการไม่สมหวังในสิ่ง คาดหวังไว้ อาจ เป็นปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลกระทบต่อ จิตใจทาให้บุคคลนั้นเกิดความรู้สึกสูญเสีย ผิดหวัง เครียด ส่งผลให้เกิดอารมณ์ เศร้าหรือมีภาวะซึมเศร้าตามมา จากการศึกษาและวิจัยพบว่า ปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่มีผล ต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าคือ ปัจจัยด้านชีววิทยา เช่น พันธุกรรม ความผิดปกติของสารสื่อประสาท และ ความผิดปกติของฮอร์โมน เป็นต้น จาก การศึกษาพบว่า ภาวะซึมเศร้ามักพบในผู้ที่หย่าร้าง แยกทาง หรืออยู่คนเดียว โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายเป็นอัตรา 2:1 (Stahl, 2000) ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะซึมเศร้าจะส่งผล ต่อตัวบุคคล ครอบครัว และสังคม ในเรื่อง ความรู้สึก การดาเนินชีวิตประจาวัน และเศรษฐกิจ (มาโนช หล่อตระกูล, 2544; รวิวรรณ คาเงิน, 2546; American Psychological Association, 1994 as cited in Lilja, Hellzen, Lind, & Hellzen, 2006) ซึ่งสอดคล้องกับ รายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่พบว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุของภาวะ การสูญเสียความสามารถของ ประชากรโลก 1 ใน 10 อันดับแรก คิดเป็นร้อยละ 10.7 ของประชากรโลก (Murray & Lopez, 1996) และ คาดการณ์ว่าในปี 2020 (พ.ศ. 2560) หรืออีก 14 ปี ข้างหน้า ความสูญเสีย ด้านเศรษฐกิจและสังคมจากภาวะซึมเศร้า จะเพิ่มสูงขึ้นเป็น ลาดับ 2 รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือดในทุกประเทศ ทั่วโลก โดยคิดเป็นร้อยละ 10-25 ใน ผู้หญิงและร้อยละ 5-12 ในผู้ชายที่เป็นโรคนี้ (Murray & Lopez, 1996) สาหรับในประเทศไทยพบผู้ป่วยภาวะ ซึมเศร้ามากขึ้น ในทุกกลุ่มอายุและทุกเพศ ข้อมูลการสารวจจานวน และอัตราผู้ป่วยทางสุขภาพจิตของประเทศไทยปี พ.ศ. 2548 พบผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าจานวน 93,566 คน คิดเป็นอัตรา 149.90 ต่อแสนประชากร และเป็นลาดับ 5 ใน กลุ่มโรคทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข, 2548) และในปีพ.ศ. 2549 พบผู้ป่วย ภาวะซึมเศร้าเพิ่ม จานวนมากขึ้นเป็น 116,847 คน คิดเป็นอัตรา 185.98 ต่อแสนประชากรและเป็นเลื่อนขึ้นมา อยู่ลาดับ 4 ในกลุ่มโรค
  • 4. 4 ทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2549) นอกจากนี้ พบว่า ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้น ได้ร่วมกับ โรคอื่นๆ ทางกาย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และ การติดสารเสพติด เป็นต้น และภาวะซึมเศร้าเองถึงแม้ จะมีการพยากรณ์โรคที่ดีแต่มีอาการกาเริบของโรค เกิดขึ้นได้บ่อย (วิจารณ์ วิชัย ยะ, 2533) ที่ยิ่งไปกว่านั้น การที่ผู้ป่วยต้องเผชิญกับภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุสาคัญ ที่นาไปสู่การฆ่าตัวตาย สอดคล้อง กับการรายงานของ มาโนช หล่อตระกูล (2544) ที่พบว่า ประมาณร้อยละ 20-35 ของผู้ที่ฆ่าตัวตาย มีสาเหตุมาจาก ภาวะซึมเศร้า จากอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซึมเศร้าและ ผลกระทบที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทาให้มีนักวิจัย ในศาสตร์สาขาวิชาชีพต่างๆ ทาการวิจัยเกี่ยวกับภาวะ ซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น ในแง่มุมทางด้านชีววิทยาการแพทย์ จิต เวชศาสตร์ มานุษยวิทยาการแพทย์ และจิตวิทยา เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อภาวะซึมเศร้าอย่างถ่องแท้ (ศิริพร จิรวัฒน์ กุล, 2546) สาหรับการทาวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้า แม้ไม่ปรากฏหลักฐานบันทึกที่แน่ชัดว่า เริ่มเกิดขึ้นครั้งแรก เมื่อไร แต่จากการสืบค้นข้อมูลทาง ฐานข้อมูลออนไลน์เท่าที่สามารถสืบค้นได้ พบว่า งานวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทยมีการเผยแพร่ ผลงานวิจัยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 หลังจากการเริ่มต้น ดังกล่าว พบว่า มีงานวิจัยที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ตีพิมพ์ เผยแพร่ออกมาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งถึงในปัจจุบัน 414 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ทิศทางการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า มีการพัฒนา ขึ้นมาเรื่อยๆ จากการวิจัยเชิงบรรยายไปสู่การวิจัย เชิงทดลอง และรายละเอียดของผลงานวิจัยแต่ละ ฉบับ มีความหลากหลาย แตกต่างกันออกไปตามปัญหาการวิจัย หรือคาถามการวิจัย ที่เป็นตัวกาหนดให้วัตถุประสงค์ ในการวิจัยรวมถึงแบบการวิจัยแตกต่างกันออกไปด้วย เช่นกัน จากระยะเวลาในการเริ่มต้นทาการวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้ารวมกับปริมาณงานวิจัยที่มีจานวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างในรายละเอียดทาให้เกิดข้อสงสัยว่า องค์ ความรู้ในเรื่องภาวะซึมเศร้าในปัจจุบันเป็นอย่างไร ซึ่งการที่จะทราบว่าในปัจจุบันการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีการทา วิจัยถึงระดับใด องค์ความรู้ที่ได้เป็นอย่างไร จะได้ จากการวิจัยแบบสารวจผลงานวิจัยที่ผ่านมา เพราะการ สารวจ งานวิจัยจะทาให้เห็นว่ามีประเด็นใดที่สามารถนาไป สังเคราะห์สรุปเป็นความรู้และนาไปปฏิบัติได้ (Wojner, 1996 อ้างใน ฉวีวรรณ ธงชัย, 2547) แต่อย่างไร ก็ตาม จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทยยัง ไม่พบว่ามีนักวิจัยคนใดทาการสารวจ และรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อนามา วิเคราะห์และศึกษาดูว่า ในอดีตที่ผ่านมางานวิจัยมี คุณลักษณะงานวิจัยและรายละเอียดผลวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยเป็น อย่างไร ด้วยเหตุผล ดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นพยาบาลสาขาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวชเล็งเห็น ความสาคัญและเกิด ความสนใจที่จะสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทยที่มีการศึกษาในกลุ่ม ประชากรผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ เพื่อทาการรวบรวมและสังเคราะห์ให้ได้ ข้อสรุปและองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ใน ประเทศไทยในกลุ่มประชากรผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่จะ นาองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์งานวิจัยในครั้งนี้ ไปใช้ ประโยชน์ในงานวิจัยได้ต่อไปในอนาคต ปัญหาการวิจัย 1. คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึม เศร้าใน ประเทศไทยเป็นอย่างไร 2. ผลการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย มีรายละเอียดเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย จาแนกตาม 1.1 คุณลักษณะ งานวิจัย (Research characteristics) ได้แก่ ชนิดงานวิจัย ปี พ.ศ.ที่พิมพ์ งานวิจัย แหล่งผลิตงานวิจัย และประเภท การวิจัย 1.2 ปัญหาการวิจัย (Research question/ objective) ได้แก่ ปัญหาการวิจัยหรือคาถามการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย 1.3 กรอบแนวคิดและทฤษฎี (Theoretical/ conceptual framework) ได้แก่ สมมติฐานการ วิจัย กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย 1.4 วิธีดาเนินการวิจัย (Research methodology) ได้แก่ แบบการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. เพื่อวิเคราะห์และสรุป องค์ความรู้จากผลการวิจัย ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยตามรูปแบบ การวิจัย 415 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และ คณะ Vol. 17 No. 3 กรอบแนวคิดในการวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดที่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เองจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสารวจ งานวิจัยมาเป็นแนวทางในการศึกษา ซึ่ง อธิบายได้ว่า การสารวจรวบรวมและทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยจะทาให้สามารถระบุองค์ ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย และระบุ ช่องว่างขององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน ประเทศ
  • 5. 5 ไทย ซึ่งจะนาไปสู่ข้อเสนอแนะและทิศทาง การวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยต่อไป วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ งานวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็น พ.ศ.แรกที่มีการตีพิมพ์งานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะ ระบุองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย ระบุช่องว่าง องค์ความรู้ ที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย สารวจ รวบรวมและ ทบทวนงานวิจัยที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ใน ประเทศไทย ข้อเสนอแนะทิศทาง การวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าใน ประเทศไทย แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดในการ วิจัย ซึมเศร้าในประเทศไทย ถึงปี พ.ศ. 2550 ผู้วิจัยทาการ ศึกษาจากประชากร โดยกาหนดเกณฑ์ในการคัดเลือก งานวิจัยในการศึกษา ดังนี้ เกณฑ์การคัดเลือก 1. เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในกลุ่มประชากรหรือ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนไทย ในวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2. เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ทั้งที่เป็นส่วน หนึ่งของการศึกษาจัดทาโดยนักศึกษา ระดับมหาบัณฑิตและ/หรือดุษฎีบัณฑิต และไม่เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษา จัดทาโดยนักวิจัย ในสาขาวิชาชีพ ต่างๆ ที่เป็นประชาชนไทย 3. เป็นงานวิจัยที่มีรูปเล่มงานวิจัยฉบับเต็มปรากฏ อยู่ใน ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ในสถาบันที่จัดการศึกษา หลักสูตรมหาบัณฑิตและ/หรือดุษฎีบัณฑิต หรือในสังกัด 416 การ สารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ของ ทบวงมหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิต 4. กรณีที่พบรายชื่องานวิจัยจากฐานข้อมูลออน ไลน์มากกว่า 1 ฐานข้อมูล ผู้วิจัยเลือกศึกษาจากแหล่ง ใดแหล่งหนึ่ง 5. ไม่เป็นงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ที่เกี่ยวกับยา พืชสมุนไพร การทดลองทางห้องปฏิบัติ การและการศึกษาในสัตว์ทดลอง วิธีการสืบค้นงานวิจัย 1. ฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย และฐานข้อมูลออนไลน์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิต โดยกาหนดคาสาคัญในการสืบค้น ดังนี้ “ซึมเศร้า” “ภาวะซึมเศร้า” “Depression” และ “Depressive Symptom” 2. การสืบค้นด้วยตนเอง 3. การสืบค้นโดยอาศัยความร่วมมือจากเครือข่าย จากการสืบค้นฐานข้อมูล ห้องสมุดสถาบันพบ จานวนผลงานวิจัยทั้งหมดจานวน 429 เรื่อง เมื่อใช้เกณฑ์ การคัดเลือกเข้าพบว่ามีงานวิจัยที่ เข้าเกณฑ์และใช้ใน การศึกษา จานวน 122 เรื่อง และการสืบค้นด้วยตนเอง จากฐานข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทางด้านสุขภาพจิต พบจานวนผลงานวิจัยทั้งหมด จานวน 367 เรื่อง เมื่อใช้ เกณฑ์การคัดเลือกเข้าพบว่ามีงานวิจัยที่ เข้าเกณฑ์และ ใช้ในการศึกษา จานวน 61 เรื่อง ดังนั้น เมื่อรวมจานวน งานวิจัยทั้งที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาและ งานวิจัยที่ ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเท่าที่สามารถสืบค้นได้ จากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และอาศัย ความร่วมมือจากเครือข่าย พบว่า มีงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย จานวน 183 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ แบบบันทึก ข้อมูลการสารวจงานวิจัยทางการพยาบาลที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง โดย ใช้แนวคิดของระเบียบวิธีวิจัย ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของงานวิจัย และตอนที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะของงานวิจัย โดยข้อความ ในแบบบันทึกข้อมูลงานวิจัย ประกอบด้วยข้อความ 2 ลักษณะคือ แบบเลือกตอบ และแบบเติมข้อความ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ความถูกต้อง ความชัดเจน ความครอบคลุม ความเหมาะสมของภาษา และการ จัดลาดับความต่อเนื่องของภาษา การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. สืบค้นรายชื่องานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศ ไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2517 ถึงปี พ.ศ. 2550 จากฐานข้อมูลออนไลน์ สืบค้นด้วยตนเอง และอาศัย ความร่วมมือจาก เครือข่าย 2. ตรวจสอบจานวนรายชื่องานวิจัยที่ได้จากการ สืบค้นทั้งหมด หากพบว่ารายชื่อใดมีความซ้าซ้อนกัน ใน ชื่อเรื่องและชื่อนักวิจัย ผู้วิจัยทาการคัดออกจากงาน วิจัย เพื่อสรุปจานวนรายชื่อทั้งหมด 3. คัดเลือกงานวิจัยให้ตรง ตามเกณฑ์การคัด เลือกประชากรที่ผู้วิจัยกาหนด 4. ติดตามงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ จากห้องสมุดใน สังกัด ทบวงมหาวิทยาลัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาง ด้านสุขภาพจิตด้วยตนเอง 5. อ่านงานวิจัยอย่างละเอียดและบันทึก ข้อมูล งานวิจัยตามแบบบันทึก 417 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ ข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณลักษณะงานวิจัย ได้แก่ ชนิดงานวิจัย ปี พ.ศ. ที่พิมพ์งานวิจัย แหล่งผลิต งานวิจัย ประเภทการ วิจัย ปัญหาการวิจัย หรือคาถาม การวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย แบบ การวิจัย กรอบแนวคิดและ ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และสถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วย
  • 6. 6 โปรแกรมสาเร็จรูป และ ใช้สถิติบรรยาย ซึ่งได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ บรรยายคุณลักษณะของงานวิจัย 2. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ เนื้อหาตาม รูปแบบการวิจัย ผลการวิจัย ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ คุณลักษณะ ของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน ผู้ใหญ่และผู้สูง อายุในประเทศไทย และรายละเอียดผลการวิจัยที่เกี่ยว กับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย 1. คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ชนิดงานวิจัย ส่วนใหญ่ เป็นงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับ มหาบัณฑิต ร้อยละ 95.9 ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุด คือ ปี พ.ศ. 2547-2550 ร้อยละ 37.8 แหล่งผลิตส่วนใหญ่ มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ร้อยละ 66.7 ประเภทการวิจัย เป็น การวิจัยพื้นฐานร้อยละ 60.1 การระบุปัญหาหรือคาถาม การวิจัยและการไม่ระบุมีจานวนใกล้เคียงกันร้อยละ 50.8 และร้อยละ 49.2 ตามลาดับ ในขณะที่งานวิจัยทั้งหมด มีการระบุวัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัยที่ระบุ ส่วน ใหญ่เป็นสมมติฐานแบบมีทิศทางมากที่สุดร้อยละ 50.5 งานวิจัยส่วนใหญ่ระบุกรอบแนวคิดร้อยละ 56.3 โดยงานวิจัย ที่ระบุกรอบแนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมร้อยละ 54.4 ทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้ทฤษฎี ทางจิตสังคมร้อยละ 63.8 แบบการวิจัย ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองร้อยละ 66.1 สาหรับแบบ แผนการวิจัยของการวิจัยแบบทดลอง และแบบกึ่งทดลองส่วนใหญ่เป็นการวัดก่อนหลัง 2 กลุ่ม ร้อยละ 59.7 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทาการศึกษาในผู้ป่วยร้อยละ 56.8 เพศที่ทาการศึกษาวิจัย ส่วนใหญ่ศึกษาทั้งใน เพศชายและเพศหญิงร้อยละ 65.0 ช่วงวัยที่ทาการศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาในวัยผู้ใหญ่ร้อยละ 54.1 สถานที่ที่ใช้ในการ เก็บข้อมูลส่วนใหญ่ทาการ เก็บข้อมูลในโรงพยาบาลร้อยละ 73.2 โดยเป็นการ เก็บข้อมูลที่แผนกผู้ป่วยในร้อยละ 50.7 การคานวณ ขนาดกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ระบุการคานวณร้อยละ 63.9 สาหรับขนาดกลุ่มตัวอย่างเมื่อวิเคราะห์ตาม แบบ การวิจัย พบว่า การวิจัยแบบไม่ทดลองใช้ขนาดกลุ่ม ตัวอย่าง 120-300 คน คิดเป็นร้อยละ 78.9 การวิจัย แบบ ทดลองและกึ่งทดลองใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างน้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 57.9 และการวิจัย คุณภาพใช้ ขนาดกลุ่มตัวอย่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0 การได้มาของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่ใช้หลัก ความน่าจะเป็นร้อยละ 60.7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่ใช้ The Center for Epidemiologic Studies- Depression Scale (CES-D) Beck Depression Inventory (BDI) และ Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) มีจานวนใกล้เคียงกันร้อยละ 16.4 ร้อยละ 15.8 และ 13.2 ตามลาดับ ประเภทเครื่องมือที่ใช้วัด ภาวะ ซึมเศร้า ส่วนใหญ่เป็น Self-Rating scale ร้อยละ 87.9 และเครื่องมือส่วนใหญ่ระบุวิธีการสร้างเครื่องมือ ร้อยละ 93.7 วิธีการสร้างเครื่องมือวัดภาวะซึมเศร้า ที่พบมากที่สุดคือ นาเครื่องมือที่พัฒนาแล้วมาใช้ ร้อยละ 89.6 สาหรับ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ส่วนใหญ่ตรวจสอบทั้งความเที่ยงและความตรงร้อยละ 62.1 และวิธีการเก็บข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นการเก็บข้อมูล 418 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิร้อยละ 96.2 การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนใหญ่ใช้การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณร้อยละ 95.1 โดยในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณพบว่า ใช้ทั้งสถิติ บรรยายและสถิติอ้างอิงร่วมกัน มากที่สุดร้อยละ 92.3 สาหรับสถิติบรรยายที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ส่วนใหญ่ใช้สถิติชนิดพาราเมตริกซ์ โดยเป็นการใช้สถิติ t-test มากที่สุด และใน ส่วนของ สถิติอ้างอิงชนิดนันพาราเมตริกซ์ใช้สถิติไคสแควร์ (chi square) มากที่สุด 2. รายละเอียดผลการวิจัยที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในประเทศไทย มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การวิจัยแบบไม่ทดลอง แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของ การศึกษาออกเป็น 3 วัตถุประสงค์คือ การศึกษา ความชุกและอุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้า การศึกษาปัจจัย ที่มี ความสัมพันธ์และปัจจัยที่ทานายภาวะซึมเศร้า และ การศึกษาเพื่อพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้า มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1.1 ความชุกและอุบัติการณ์ของการเกิด ภาวะซึมเศร้า จานวน 40 เรื่อง ส่วนใหญ่ เป็นการศึกษา ความชุกแบบ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (point prevalence) พบความชุกของภาวะซึมเศร้าร้อยละ 2.8-78.05 และ เมื่อพิจารณา การศึกษาความชุกตามกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ความชุกของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มสตรีที่เป็นหญิงตั้งครรภ์ ระยะคลอดและ ระยะหลังคลอดร้อยละ 2.8-38.5 กลุ่มสตรีวัยทองร้อยละ 13.0-78.05 กลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 29.4-64.7 กลุ่มผู้ป่วย โรคทางกายเรื้อรัง ร้อยละ 6.7-69.2 และกลุ่มผู้ป่วยโรคทางจิตร้อยละ 8.7-38.3 ในการศึกษาความชุกดังกล่าวมี
  • 7. 7 งานวิจัย 2 เรื่องที่รายงานผลการวิจัยอย่างชัดเจนว่า ความชุก ในการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้หญิงสูงกว่าผู้ชาย สาหรับ การศึกษาอุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าพบว่า มีการศึกษา จานวน 5 เรื่อง ทาการศึกษาในกลุ่มสตรีระยะตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอด และการศึกษาในสตรีวัยทอง พบอุบัติการณ์ ร้อยละ 6.67-38.05 เมื่อแยกตามกลุ่มตัวอย่าง พบ อุบัติการณ์ของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มสตรีระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดร้อยละ 6.67-38.5 และอุบัติ การณ์ของ ภาวะซึมเศร้าในสตรีวัยทองร้อยละ 13.0 2.1.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ ซึมเศร้าและปัจจัยที่ทานายภาวะ ซึมเศร้า จานวน 58 เรื่อง สรุปผลตามลักษณะกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วย ทางกาย ผู้ป่วยทางจิต กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ และหลังคลอด กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มสตรีวัยทอง และกลุ่มผู้ดูแล แบ่งเป็น ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านชีวภาพ (biological factor) ปัจจัยด้านจิตใจ (psychological factor) และปัจจัย ด้านสังคม (social factor) ได้ดังนี้ 2.1.2.1 กลุ่มผู้ป่วยทางกาย พบปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ เพศหญิง อาชีพ สถานภาพสมรสที่หย่าร้าง หรือหม้าย ปริมาณการใช้แอมเฟตามีน ปัญหาการเงิน และภาวะถอนพิษยา ปัจจัย ด้านชีวภาพ ได้แก่ การวินิจฉัย ว่าเป็นมะเร็งปากมดลูก การรักษาด้วยการฉายรังสี การหมดสมรรถภาพทางเพศ สาหรับความรุนแรงของโรค ผลกระทบของความเจ็บป่วย ความเหนื่อยล้า ความบกพร่อง ในการมองเห็น จานวนข้อที่ บวม จานวนข้อที่กดเจ็บ ความปวด อาการหายใจลาบาก ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ความเชื่อเรื่องบุญกรรม ความรู้สึกมี คุณค่าในตนเอง ระดับความหวัง ปัจจัยด้านสังคม พบว่า งานอดิเรก ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาคดีความ การเฝ้าบ้าน และ สถานที่ตั้งของแหล่งขายยาเสพติด การสนับสนุนทาง สังคม การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม สัมพันธภาพ ใน ครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต 2.1.2.2 กลุ่มผู้ป่วยทางจิต พบ ปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ การทางานและการมีโรคทางกาย อายุ 419 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 เพศ และ สถานภาพสมรส ปัจจัยด้านชีวภาพ ได้แก่ ประวัติคนใน ครอบครัวป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ปัจจัย ด้านจิตใจ ได้แก่ ประวัติการสูญเสียมารดาก่อน 11 ปี ความคิดอัตโนมัติด้านลบ อาการรู้สึกผิด การจัดการ สิ่งเร้าภายใน ความรู้สึกการเป็นเจ้าของ ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดใน ชีวิต การรับรู้ความเครียด ความขัดแย้งระหว่างบุคคล การสนับสนุนทางสังคม 2.1.2.3 กลุ่มผู้สูงอายุ พบปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ โรคประจาตัว แหล่งที่มาของรายได้ เพศ อายุตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไป สถานภาพสมรส รายได้ที่แตกต่างกัน ภาวะ สุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปัจจัยด้านชีวภาพ ได้แก่ การจัดการ ความ เจ็บปวด การใช้ยาประจา การรับรู้ความรุนแรงของ การเจ็บป่วย จานวนครั้งของปัญหาสุขภาพ ภาวะสมองเสื่อม ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ความหวังความว้าเหว่ อัตมโนทัศน์ ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ งานอดิเรก การติดต่อกับลูกหลาน การเป็นเจ้าของบ้าน การเป็นสมาชิกชมรม การให้คาแนะนา กับคนอื่น สภาพการอยู่อาศัย และสาเหตุที่ไม่ทางาน สัมพันธภาพภายในครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจาวัน เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต การศึกษา การมีส่วนร่วมในสังคม การออกกาลังกาย งานอดิเรก สัมพันธภาพภายในครอบครัว ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจาวัน และการมีส่วนร่วมในสังคม 2.1.2.4 กลุ่มสตรีวัยเปลี่ยน พบปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ศาสนา จานวนบุตรที่มีความเพียงพอของรายได้ และปัญหาสุขภาพจิต ปัจจัยด้าน ชีวภาพ พบว่า ประวัติ ซึมเศร้าในอดีต ลักษณะการมีประจาเดือนอาการใน วัยหมด และอาการในวัยหมด ประจาเดือน ปัจจัยด้าน จิตใจ ได้แก่ ทัศนคติต่อภาวะหมดประจาเดือน และ ลักษณะบุคลิกภาพความรู้สึกไม่สบายใจ ต่อการเจ็บป่วย ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ปัญหาคู่สมรส การสนับสนุนทางสังคม 2.1.2.5 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลัง คลอด พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ การ ประกอบอาชีพ จานวนบุตร ประวัติสุขภาพจิตในอดีต ประวัติการมีโรคประจาตัวระยะ 2–7 วันหลังคลอด รายได้ อายุ ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ ปัจจัยด้านอารมณ์และการที่เพศของบุตรไม่ตรงตาม ต้องการมีความสัมพันธ์กับภาวะ ซึมเศร้า อาการวิตกกังวล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ภาพลักษณ์ ความตั้งใจใน การมีบุตร การรับรู้ความสามารถใน การเป็นมารดา ปัจจัย ด้านสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต สิ่งรบกวน ในชีวิต เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน สัมพันธภาพระหว่าง คู่สมรส แรงสนับสนุนทางสังคม การเบิกค่ารักษาพยาบาล ความพึงพอใจในชีวิตสมรส และ ความสัมพันธ์กับมารดา 2.1.2.6 กลุ่มผู้ดูแล พบปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่
  • 8. 8 สถานภาพสมรส ปัจจัยด้านจิตใจ ได้แก่ เจตคติต่อ ความตาย การรับรู้ภาระในการดูแล การรับรู้ความเข้มแข็ง ของ ครอบครัว ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ ระยะเวลาหลังจาก ที่บุตรได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมาธิสั้นนานกว่า 12 เดือน ระยะเวลาในการดูแลของผู้ดูแล 2.1.3 การศึกษาพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้า จานวน 15 เรื่อง พบว่า เป็นงานวิจัย เพื่อพัฒนาแบบวัด ภาวะซึมเศร้าจานวน 14 เรื่อง และงานวิจัยเพื่อพัฒนา แบบวัดที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าเพียง 1 เรื่อง โดย งานวิจัยเพื่อพัฒนาแบบวัดภาวะซึมเศร้ามีวัตถุประสงค์ เพื่อคัดกรองภาวะซึมเศร้า (screening) จานวน 8 เรื่อง เพื่อประเมินผลการรักษาภาวะซึมเศร้า (clinical) จานวน 7 เรื่อง และงานวิจัยดังกล่าวทาการศึกษาในกลุ่ม ผู้สูงอายุ จานวน 2 เรื่อง ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรังจานวน 3 เรื่อง ผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าจานวน 8 เรื่องและมารดาหลัง คลอด จานวน 1 เรื่อง นอกจากนี้ พบว่างานวิจัยเพื่อพัฒนา แบบวัดภาวะซึมเศร้าผู้วิจัยทาการแปลหรือดัดแปลง จาก แบบวัดภาวะซึมเศร้าที่ได้มาตรฐานจานวน 10 เรื่อง 420 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 และเป็นแบบวัดที่สร้างขึ้นใหม่ จานวน 5 เรื่อง 2.2 การวิจัยแบบ ทดลอง/กึ่งทดลอง จานวน 57 เรื่อง สรุปออกเป็น 2 ประเด็น คือ ผลการวิเคราะห์ รูปแบบการบาบัด และผลลัพธ์การ วิจัย มีรายละเอียด ดังนี้ 2.2.1 รูปแบบการบาบัด พบว่า ในอดีต ที่ผ่านมางานวิจัยมีรูปแบบการให้การบาบัดภาวะ ซึมเศร้า ในกลุ่มต่อไปนี้ กลุ่มผู้ป่วยทางกาย กลุ่มผู้มีปัญหาทาง สุขภาพจิต จิตเวช และสารเสพติด กลุ่มผู้สูงอายุ และ กลุ่มผู้ดูแล 2.2.1.1 กลุ่มผู้ป่วยทางกาย พบการ บาบัด จานวน 28 เรื่อง โดยมีรูปแบบการบาบัดที่ หลากหลาย แตกต่างกันตามลักษณะผู้ป่วย ดังนี้ - ผู้ป่วยมะเร็ง พบการบาบัดจานวน 10 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการบาบัดที่เกี่ยวกับ การผ่อนคลาย - ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและ เอดส์ (HIV) พบการบาบัดจานวน 9 เรื่อง ส่วนใหญ่ เป็นการบาบัดที่ เกี่ยวกับการให้คาปรึกษา - ผู้ป่วยพิการ พบการบาบัดจานวน 7 เรื่อง โดยเป็นการบาบัดที่เกี่ยวกับการให้คาปรึกษา และการผ่อนคลาย - ผู้ป่วยไตวาย พบการฝึกอานาปาน สติสมาธิ จานวน 1 เรื่อง 2.2.1.2 กลุ่มผู้มีปัญหาทาง สุขภาพจิต จิตเวช และสารเสพติด จานวน 12 เรื่อง โดยเป็นการ บาบัดที่มุ่งปรับกระบวนการคิด และการบาบัด บางส่วน มุ่งเน้นด้านสังคม 2.2.1.3 กลุ่มผู้สูงอายุ พบการบาบัด จานวน 12 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการบาบัดที่มุ่งเน้นด้าน พฤติกรรม 2.2.1.4 กลุ่มผู้ดูแล พบการบาบัด จานวน 5 เรื่อง โดยเป็นการบาบัดที่มุ่งเน้นทางด้านสังคม และด้าน กระบวนการคิด 2.2.2 วิเคราะห์ผลลัพธ์จากการวิจัย พบว่า ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังทางกายและกลุ่มผู้สูงอายุพบว่า ทุกรูปแบบการบาบัดทาให้ภาวะซึมเศร้าดีขึ้น 2.3 การวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าเป็นการศึกษา เกี่ยวกับประสบการณ์ การรับรู้ และการจัดการภาวะ ซึมเศร้า ส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหา เพื่อการบรรเทา หรือหลีกเลี่ยงการเกิดอาการ แบ่งการจัดการออกเป็น 2 ประเด็นหลักคือ การจัดการอาการโดยผู้อื่น ได้แก่ การไปพบแพทย์ ไปโรงพยาบาล เพื่อ การรับประทานยา การรักษาด้วยไฟฟ้า และการรับคาปรึกษา และการจัดการ โดยตนเอง ได้แก่ การใช้วิธีการอดทน การพึ่งยาและ แอลกอฮฮล์ การปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองชีวิต จนเกิดการตระหนักรู้ถึงที่มาของปัญหา และ เข้าใจตนเอง โดยสร้างเสริมพลังอานาจในตนเองและปรับเปลี่ยนวิธี คิดในทางร้ายมากกว่าเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่นจนหลุด พ้น จากภาวะซึมเศร้า อภิปรายผล จากผลการสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุประเทศ ไทยจานวน 183 เรื่อง ผู้วิจัยพบประเด็นที่น่าสนใจที่สะท้อนให้เห็นคุณลักษณะ งานวิจัยและรายละเอียดผลการวิจัยที่ นาไปสู่ข้อเสนอแนะ และทิศทางการวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี้ ส่วนที่ 1 คุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย พบว่า ชนิดงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่เป็น ส่วน หนึ่งของการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ปี พ.ศ. ที่ตีพิมพ์ งานวิจัยมากที่สุด คือ ปีพ.ศ. 2547-2550 แหล่งผลิต ส่วนใหญ่ มาจากทบวงมหาวิทยาลัย ประเภทการวิจัยเป็น การวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยทั้งหมดมีการระบุวัตถุประสงค์ การวิจัย กรอบแนวคิดส่วนใหญ่ระบุกรอบแนวคิดซึ่ง 421 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 งานวิจัยที่ระบุกรอบ แนวคิดส่วนใหญ่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้ ทฤษฎีทางจิตสังคม แบบการ วิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัย เชิงปริมาณแบบไม่ทดลอง ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม ผู้ป่วยทางกายโรคเรื้อรัง มีการใช้ CES-D, BDI, TGDS เป็นแบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะ ซึมเศร้าเป็นส่วนมาก ซึ่งเป็นเครื่องมือ แบบสอบถาม ด้วยตนเอง (Self-rating scale) จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วในช่วง 9 ปี ที่ผ่านมา สะท้อนให้ เห็นว่า ประเทศไทยให้ความสาคัญในการวิจัยและศึกษา ภาวะซึมเศร้าอย่าง
  • 9. 9 ต่อเนื่อง ซึ่งการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของงานวิจัยอาจมีความเกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เกิด จากภาวะซึมเศร้า ที่เพิ่ม มากขึ้นกว่าในอดีตที่ผ่านมา จากข้อมูลการสารวจจานวนและอัตราผู้ป่วยทางสุขภาพจิต ของประเทศไทยปี พ.ศ. 2553 พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรค ซึมเศร้าอยู่ลาดับ 4 ในกลุ่มโรคทางจิตเวช (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2553) ส่งผลให้กรมสุขภาพจิต มีนโยบายการดาเนินงานที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า เพื่อให้การช่วยเหลือและป้องกันการ เกิดภาวะซึมเศร้า เช่น การส่งเสริมให้ทาวิจัยเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าใน ปีพ.ศ. 2540 และเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้า ให้ประชาชนทราบ ผ่านทางฐานข้อมูลของกรมสุขภาพจิต และสื่อต่างๆ ในการดาเนินงานดังกล่าวของ กรมสุขภาพจิต มีความชัดเจนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการกาหนดเป้าหมายใน ยุทธศาสตร์ ระดับชาติเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า การดาเนินการต่อเนื่อง มาจนถึงในปัจจุบัน (ธรณินทร์ กองสุข และคณะ , 2549ก) นอกจากนี้ การเพิ่มจานวนขึ้นอาจเกี่ยวข้องกับการที่ นักวิจัยมีองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทาวิจัยและ ระเบียบวิธีวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น ในส่วนของงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นประเภทพื้นฐาน สะท้อนให้เห็นว่าองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้า ในอดีตที่ผ่านมาอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการทาวิจัยเพื่อ ให้มีความเข้าใจในภาวะซึมเศร้าและเกิดองค์ ความรู้ที่ สามารถอธิบายการเกิดภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย ในบริบทที่แตกต่างกัน การระบุกรอบแนวคิดสะท้อนให้ เห็นว่างานวิจัยมีทิศทางของการทาวิจัยที่ชัดเจน เพราะ การระบุกรอบแนวคิดช่วยให้นักวิจัยอื่นหรือผู้ที่สนใจ ใน งานวิจัยเรื่องนั้นเกิดความเข้าใจในแนวความคิดหรือ ความคิดรวบยอดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เนื่องจากกรอบแนวคิด ทาให้ เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ ปรากฏการณ์ หรือตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาได้อย่างชัดเจน สาหรับ ประเด็นของงานวิจัยที่ระบุกรอบแนวคิดที่สร้าง จากแนวคิดหรือทฤษฎีโดยใช้ทฤษฎีทางจิตสังคม (Psychological theories) เป็นส่วนใหญ่ สะท้อนให้เห็นว่า ในงานวิจัยครั้งนี้ภาวะซึมเศร้ามีความเกี่ยวข้องทั้งด้านจิตใจ และด้านสังคม โดยเป็นปัจจัยที่สาคัญและมีบทบาทที่ ทาให้กระบวนการคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมเกิด การเปลี่ยนแปลง แบบการ วิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ แบบไม่ทดลองสะท้อนให้เห็นว่า นักวิจัยส่วนใหญ่ให้ ความสนใจในประเด็นของ ลักษณะทั่วไปของภาวะซึมเศร้า รวมถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์หรือปัจจัยที่ทานายการเกิด ภาวะซึมเศร้า อย่างไรก็ ตาม ที่ผ่านมาการวิจัยเกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย อยู่ใน ระยะเริ่มต้นของการวิจัยที่ เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า ซึ่งทาให้ นักวิจัยส่วนใหญ่จาเป็นต้องหาความรู้ที่เกี่ยวกับภาวะ ซึมเศร้าให้ได้มากพอก่อนที่จะ ทาการวิจัยแบบอื่นต่อไป เนื่องจากองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยแบบไม่ทดลอง จะเป็นองค์ความรู้พื้นฐานที่ช่วยทาให้ นักวิจัยการทาวิจัย เชิงทดลอง/กึ่งทดลองซึ่งเป็นการวิจัยที่เน้นในเรื่อง ของการจัดกิจกรรมการช่วยเหลือบุคคลที่มี ภาวะซึมเศร้า ที่มีความแตกต่างกันในเรื่องของเพศ อายุ รวมถึงสถานภาพ ทางสังคมได้อย่างเหมาะสมต่อไป สอดคล้องกับวิลเลียม และคณะ (Williams, Hagerty, & Ketefian, 2005) 422 การสารวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะ ซึมเศร้าในประเทศไทย Rama Nurs J • October - December 2011 ที่กล่าวว่า นักวิจัยที่มีมุมมองต่อภาวะซึมเศร้า โดยมุ่งที่ ประสบการณ์ของบุคคลได้รับจากการเกิดภาวะซึมเศร้า จะทาการวิจัยเชิงคุณภาพ เพราะทาให้เกิดความ เข้าใจ บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้ามากขึ้น ในทางตรงข้าม ถ้านักวิจัย มีมุมมองต่อภาวะซึมเศร้าโดยมุ่งที่ความสัมพันธ์ การ ทานาย และการทดสอบปัจจัยหรือคุณลักษณะที่อาจเกี่ยวข้อง กับการเกิดภาวะซึมเศร้า จะทาการวิจัยเชิงปริมาณ เพราะ ทาให้เกิดแนวทางที่เหมาะสมในการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะ ซึมเศร้า สาหรับในงานวิจัยเชิงคุณภาพถึงแม้ว่าจะมี จานวน งานวิจัยไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยเชิงปริมาณ แต่สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของนักวิจัยใน การทาวิจัย เชิงคุณภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจในข้อมูลด้านคุณภาพ ของภาวะซึมเศร้าให้ลึกซึ้งขึ้น เนื่องจากการวิจัย เชิงคุณภาพ มีความสาคัญในแง่ของการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ของบุคคล หรือเป็นการค้นหาความหมาย ตามการรับรู้ ของบุคคล เช่น ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิด ภาวะซึมเศร้า การจัดการกับอาการซึมเศร้า เป็นต้น ซึ่ง ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถอธิบาย ได้ด้วยวิจัยเชิงปริมาณ ดังนั้น หากนักวิจัยมีข้อมูลด้าน คุณภาพของภาวะซึมเศร้าจะช่วยให้บุคลากรในแต่ละ ศาสตร์สาขาวิชาชีพมีเกิดความเข้าใจปรากฏการณ์เหล่านั้น มาก ขึ้น ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ป่วยทางกายโรคเรื้อรัง สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับโรคทางกาย เรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และการติดสารเสพติด เป็นต้น กล่าวคือ ภาวะซึมเศร้าอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นหรือเป็น ปัจจัยเสริมให้เกิดโรคหรือปัญหาทางร่างกายอื่นๆ ตามมา เช่น
  • 10. 10 โรคมะเร็ง โรคเอดส์ โรคเบาหวาน โรคพาร์คินสัน โรคอัลไซเมอร์ เป็นต้น สอดคล้องกับรายงานขององค์การ อนามัย โลก (World Health Organization, 2007) ที่ รายงานอัตราการเกิดภาวะซึมเศร้าทั้งการเกิดภาวะซึมเศร้า อย่าง เดียวและการเกิดภาวะซึมเศร้าร่วมกับโรคอื่นๆ เช่น โรคทางกายเรื้อรัง ได้แก่ โรคหัวใจ โรคข้อเสื่อม โรคหอบหืด และ โรคเบาหวาน เป็นต้น และการศึกษาของ โกลด์แมนและคณะ (Goldman, Nielsen, & Champion, 1999) ที่พบว่า ภาวะซึมเศร้าพบได้บ่อยร่วมกับโรค วิตกกังวล การใช้สารเสพติดและผู้ป่วยทางกาย เช่นเดียว กับการศึกษาของ บาล วินและโอเบียล (Baldwin & O’Brien, 2002) ซึ่งพบว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นได้ทั้งสาเหตุและ โรคร่วมในโรคทางกาย เรื้อรัง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน และยังพบเพิ่มสูงขึ้นในกลุ่มโรคอัลไซเมอร์ โรคหัวใจ กระดูกสะโพก หัก และโรคปอดเรื้อรัง เป็นต้น สาหรับขนาดกลุ่มตัวอย่างแสดงให้เห็นว่างานวิจัย เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ ในประเทศไทย คานึงถึงการเลือกขนาดกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เหมาะสม กับแบบการวิจัย รวมถึงคานึงการเป็น ตัวแทนของประชากร โดยรวม โดยเฉพาะในการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง ซึ่งจาเป็นต้องมีการวางกาหนดกลุ่ม ตัวอย่างให้เหมาะสม กับการบาบัดที่ให้ (intervention) สอดคล้องกับสภา การวิจัยแห่งชาติ (2550) ในเรื่องขนาด กลุ่มตัวอย่าง ว่าขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่จะมีค่าความคลาดเคลื่อน มาตรฐานจะลดลงในลักษณะที่แปรผกผันกับกลุ่ม ตัวอย่าง และขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยแบบไม่ทดลอง จะมีขนาดใหญ่กว่าการวิจัยแบบทดลอง/กึ่งทดลอง เช่นเดียวกับงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก เนื่องจากต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลจนข้อมูลอิ่มตัว และ การได้มาของกลุ่มตัวอย่างพบว่า ส่วนใหญ่ไม่ใช้หลัก ความน่าจะเป็น แต่เป็นแบบเฉพาะเจาะจงมากที่สุด อาจ เกี่ยวเนื่องจากภาวะซึมเศร้าหรือตัวแปรที่ผู้วิจัยต้องการ ศึกษา เป็นภาวะที่มีลักษณะที่เฉพาะ ดังนั้น ผู้วิจัยต้องมี การ กาหนดลักษณะกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้เป็นตามข้อตกลง เบื้องต้นและเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ตรงกับสนใจและให้ได้ ความจริง ในส่วนการเลือกใช้ CES-D, BDI, TGDS เป็น แบบสอบถามในการประเมินและคัดกรองภาวะซึมเศร้า 423 สุทธานันท์ ชุนแจ่ม และคณะ Vol. 17 No. 3 เป็นส่วนมาก แสดงให้เห็นว่าการศึกษาภาวะซึมเศร้ามี วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรอง ภาวะซึมเศร้ามากกว่าศึกษา เพื่อประเมินผลการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดกรอง ภาวะซึมเศร้าในชุมชน เพราะ แบบวัดทั้ง 3 แบบวัด เป็น เครื่องมือที่สามารถใช้วัดภาวะซึมเศร้าได้กับกลุ่มตัวอย่าง ที่มีจานวนมาก สามารถตอบได้ ด้วยตนเองเข้าใจได้ง่าย และมีข้อคาถามที่ไม่มากนัก สอดคล้องกับธรณินทร์ กองสุข และคณะ (2549ข, หน้า 24) พบว่า ข้อดีของแบบสอบถาม CES-D คือ สะดวกที่จะนาไปใช้ ประหยัดเวลาและค่า ใช้จ่าย และง่ายต่อการแปลผล เครื่องมือมีความเหมาะสม ที่สุดในการนาไปคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เนื่องจากมีความแม่นตรงสูงใน การวัด ประเภทของ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล พบว่า งานวิจัย ส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือแบบสอบถามด้วย ตนเอง (Self-rating scale) นั้นสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญกับข้อมูล ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างว่าเป็นข้อมูลที่มี ความน่าเชื่อถือ มากกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่น เนื่องจากกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ที่ตอบแบบวัดหรือแบบสอบถามด้วย ตนเองโดยตรง อีกทั้งผู้ตอบแบบวัดหรือแบบทดสอบไม่ต้องกังวลใน การตอบ ส่วนที่ 2 ผลการวิจัยของงานวิจัยที่ เกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้าในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในประเทศไทย 2.1 งานวิจัยแบบไม่ทดลอง พบว่า มีการศึกษา ความชุก และอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซึมเศร้าในหลาย กลุ่มประชากร และในแต่ละกลุ่มที่ศึกษาพบความชุกของ ภาวะ ซึมเศร้ากันแตกต่างกัน สอดคล้องกับการศึกษา ของธรณินทร์ กองสุขและคณะ (2549ข, หน้า 24) ที่ กล่าวว่า “การที่ ความชุกของโรคซึมเศร้าแตกต่างกันไป ในแต่ละประเทศอาจเนื่องมาจากความแตกต่างของ ช่วงเวลาที่ศึกษา เกณฑ์ ในการวินิจฉัย ระเบียบวิธีวิจัยที่ ใช้และวัฒนธรรม” ซึ่งสอดคล้องกับนันทิกา ทวิชาชาติ (2548) ที่กล่าวว่า การศึกษา ระบาดวิทยาของโรคต่างๆ มีประโยชน์อย่างมากต่อการวิจัยการรักษาพยาบาลผู้ป่วย และนโยบายทางสุขภาพจิต ข้อมูลที่ได้ในอดีตสามารถ บอกถึงระยะของการดาเนินโรค อาการความผิดปกติ ทางจิต จะช่วยในการจัดระบบการ บริการ การดูแลรักษา และการป้องกันที่ครอบคลุม ข้อสังเกตที่ได้จะช่วยให้ บุคคลากรทางด้านสุขภาพได้ตระหนักถึง การดูแลสุขภาพ และการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมมากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาความชุกทาให้พบว่า ภาวะซึมเศร้า มีความสัมพันธ์กับภาวะทางกาย นอกจากนี้ การศึกษา ในแต่ละกลุ่มประชากรอาจเกี่ยวข้องกับการใช้ ระเบียบ วิธีวิจัยที่แตกต่างกัน เช่น ช่วงเวลาที่ทาการศึกษา สถานที่ ที่ทาการศึกษา และแบบวัดภาวะซึมเศร้าที่นักวิจัย เลือกใช้ จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ ซึมเศร้า เมื่อวิเคราะห์ภาพรวมพบว่า ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่