SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
     การทดลองของเมนเดล
     เมน เดลประสบผลสำาเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการ
     ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆมา
     ได้เนื่องจากสาเหตุสำาคัญสองประการ คือ

1.    เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำาการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ใน
      การทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้าน
      พันธุศาสตร์หลายประการ เช่น
      1.1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้
      ได้ง่าย หรือจะทำาการผสมข้ามพันธุ์ (cross-fertilized) เพื่อสร้าง
      ลูกผสมก็ทำาได้ง่ายโดยวิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination)
      1.2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำานุบำารุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูก
      ตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season)
      หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย
      1.3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ทีแตกต่างกันชัดเจนหลาย
                                                 ่
      ลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำามาใช้ 7 ลักษณะด้วย
      กัน
2.    เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง
      2.1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน
      เมื่อเข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการ
      ถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อม ๆ กัน
      2.2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่
      ตรงกันข้ามกัน มาทำาการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย
      (hand pollination )
      2.3 ลูกผสมจากข้อ 2.2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1( first filial
      generation) นำาลูกผสมที่ได้มาปลูกดูลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร
      บันทึกลักษณะและจำานวนที่พบ 2.4 ปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสม
      กันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือ F2( second filial
      generation) นำาลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ทีเกิดขึ้นว่าเป็น
                                                            ่
      อย่างไร บันทึกลักษณะและจำานวนที่พบ


     ลักษณะต่าง ๆ ของถัวลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอด
                       ่
     ลักษณะพันธุกรรม
1.    ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled)
2.    สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green)
3.    สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว (purple & white)
4.    ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted)
5.    ลักษณะสีของฝัก – สีเขียว และ สีเหลือง (green & yellow )
6.    ลักษณะตำาแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด
      (axial & terminal)
7.    ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short)




     ลักษณะที่แตกต่างกันอย่าง เห็นได้ชัด 7 ลักษณะ
     ที่มา
     science.rbru.ac.th/~winp/images/4032401_gen/03mendelian.p
     df
     ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล

1. การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดย
   ปัจจัย (fector) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene)
2. ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยัง
   รุ่นต่อไปได้
3. ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียนหนึ่งมาจากพ่อและ
                                                       ี
   อีกยีนมาจากแม่
4. เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ(gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆจะแยกออกจาก
                                ์
   กันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละเซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กัน
   ได้ใหม่อีกในไซโกต
5. ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุน F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่
                            ่
   สามารถแสดงออกมาได้
6.   ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า
     ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และมี
     โอกาสปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย
     (recessive)
7.   ในรุน F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็น
         ่
     อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1

More Related Content

What's hot

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 

What's hot (20)

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
wan
wanwan
wan
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 

Similar to การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล

บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่plernpit19
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.41. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4ToomtamBio
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบNattayaporn Dokbua
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 

Similar to การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล (20)

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.41. พันธุกรรมเต็ม ม.4
1. พันธุกรรมเต็ม ม.4
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
Test
TestTest
Test
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 

การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล

  • 1. การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล การทดลองของเมนเดล เมน เดลประสบผลสำาเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆมา ได้เนื่องจากสาเหตุสำาคัญสองประการ คือ 1. เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำาการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ใน การทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้าน พันธุศาสตร์หลายประการ เช่น 1.1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ ได้ง่าย หรือจะทำาการผสมข้ามพันธุ์ (cross-fertilized) เพื่อสร้าง ลูกผสมก็ทำาได้ง่ายโดยวิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) 1.2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำานุบำารุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูก ตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย 1.3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ทีแตกต่างกันชัดเจนหลาย ่ ลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำามาใช้ 7 ลักษณะด้วย กัน 2. เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง 2.1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อเข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการ ถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อม ๆ กัน 2.2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ ตรงกันข้ามกัน มาทำาการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination ) 2.3 ลูกผสมจากข้อ 2.2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1( first filial generation) นำาลูกผสมที่ได้มาปลูกดูลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำานวนที่พบ 2.4 ปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสม กันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือ F2( second filial generation) นำาลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ทีเกิดขึ้นว่าเป็น ่ อย่างไร บันทึกลักษณะและจำานวนที่พบ ลักษณะต่าง ๆ ของถัวลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอด ่ ลักษณะพันธุกรรม
  • 2. 1. ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled) 2. สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green) 3. สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว (purple & white) 4. ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted) 5. ลักษณะสีของฝัก – สีเขียว และ สีเหลือง (green & yellow ) 6. ลักษณะตำาแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด (axial & terminal) 7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short) ลักษณะที่แตกต่างกันอย่าง เห็นได้ชัด 7 ลักษณะ ที่มา science.rbru.ac.th/~winp/images/4032401_gen/03mendelian.p df ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล 1. การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดย ปัจจัย (fector) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene) 2. ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยัง รุ่นต่อไปได้ 3. ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียนหนึ่งมาจากพ่อและ ี อีกยีนมาจากแม่ 4. เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ(gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆจะแยกออกจาก ์ กันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละเซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กัน ได้ใหม่อีกในไซโกต 5. ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุน F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่ ่ สามารถแสดงออกมาได้
  • 3. 6. ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และมี โอกาสปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive) 7. ในรุน F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็น ่ อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1