SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 1
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ร่าง รธน. มี.ค. 59
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2
ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้
โดยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
• ความคุ้มครองที่ชัดเจน
“ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
ย่อมได้รับความคุ้มครอง”
3
บททั่วไป
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
• ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
• รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
• ถ้าไม่ได้กาหนดเรื่องใดไว้ ให้ทาตามประเพณีการปกครองฯ
เมื่อมีปัญหาให้วินิจฉัยโดยที่ประชุมร่วมของ
• ประธานสภาผู้แทนราษฎร / ประธานวุฒิสภา / นายกรัฐมนตรี /
ประธานศาลฎีกา / ประธานศาลปกครองสูงสุด / ประธานศาลรัฐธรรมนูญ / ประธานองค์กร
อิสระ / ผู้นาฝ่ายค้านในรัฐสภา
• ผลคาวินิจฉัยผูกพัน รัฐสภา ครม. ศาล
องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ
4
บททั่วไป
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
พระมหากษัตริย์
องค์พระมหากษัตริย์ทรงดารงอยู่ในฐานะ
อันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้
(บทบัญญัติในหมวดนี้ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา)
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 5
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
สิทธิและเสรีภาพ
ของปวงชนชาวไทย
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 6
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
กาหนดหลักการใหม่
• ถ้าไม่มีข้อห้าม หรือจากัดใน รธน. หรือกฎหมาย
ประชาชนย่อมมีสิทธิทาได้และได้รับความคุ้มครอง
• การใช้สิทธิของประชาชนต้องไม่กระทบ
(1) ความมั่นคงของรัฐ (2) ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
(3) ไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของผู้อื่น
 กาหนดหลักประกันเพิ่มเติม
• ถ้าเรื่องใด รธน. กาหนดให้เป็นไปตามกฎหมาย
แม้จะยังไม่ตรากฎหมายเรื่องนั้น การใช้สิทธิหรือเสรีภาพ
ย่อมทาได้ตามเจตนารมณ์ของ รธน.
• หากถูกละเมิดตามที่ รธน.คุ้มครอง
: ย่อมใช้สิทธิทางศาลหรือยกเป็นข้อต่อสู้ได้
: ถ้าเสียหาย ย่อมมีสิทธิได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือ
จากรัฐตามที่กฎหมายกาหนด
หลักประกันสิทธิและเสรีภาพ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 7
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ห้ามเลือกปฏิบัติ
ไม่ว่าจะแตกต่างเพราะ
- ถิ่นกาเนิด - เชื้อชาติ
- ภาษา - เพศ
- อายุ - ความพิการ
- สภาพทางกายหรือสุขภาพ
- สถานะของบุคคล
- ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม
- ความเชื่อทางศาสนา
- การศึกษาอบรม
- ความคิดเห็นทางการเมือง
อันไม่ขัดต่อ รธน.
- หรือ เหตุอื่นใด
ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
มาตรการที่รัฐกาหนด
• เพื่อขจัดอุปสรรค
หรือส่งเสริมให้บุคคลใช้สิทธิ
หรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกันกับคนอื่น
• เพื่อคุ้มครองหรืออานวย
ความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คน
พิการ ผู้ด้อยโอกาส
“ไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดย
ไม่เป็นธรรม”
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 8
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
สิทธิและเสรีภาพที่กาหนดใน รธน.
หลักการ : รับรองและคุ้มครอง
เช่น ชีวิตและร่างกาย หลักประกันการที่จะต้องไม่รับโทษทางอาญา
ไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน การนับถือศาสนา ความเป็นอยู่ส่วนตัว ฯลฯ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 9
• เข้าชื่อเสนอกฎหมายที่เกี่ยวกับ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหน้าที่
ของรัฐ (ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 10,000 คน)
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
รับรองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว /
เกียรติยศ / ชื่อเสียง รวมถึงเรื่อง
“ข้อมูลส่วนบุคคล”
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 10
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
คุ้มครองเสรีภาพทางวิชาการ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 11
สิทธิของประชาชน
ที่จะได้รับจากรัฐ
ในการปกป้องสิทธิ
และเสรีภาพของตน
รับทราบและเข้าถึงข้อมูล/ข่าวสารสาธารณะ
ตามที่กฎหมายกาหนด
เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐ และได้รับ
แจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว
ฟ้องหน่วยงานรัฐให้รับผิดเนื่องจากการกระทาหรือละเว้น
การกระทา ของข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้างของ
หน่วยงานนั้น
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
สิทธิของชุมชน
อนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี
จัดการ บารุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน
เข้าชื่อเสนอแนะหน่วยงานรัฐให้ดาเนินการที่เป็นประโยชน์ต่อ
ประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้นดาเนินการที่อาจกระทบความเป็นอยู่ และรัฐ
ต้องจัดให้ประชาชนมีส่วนร่วมตามวิธีการที่กฎหมายกาหนด
จัดให้มีระบบสวัสดิการของชุมชน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 12
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
องค์กรเพื่อคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิที่เป็นอิสระ
คุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค
และได้รับการสนับสนุนจากรัฐ
ผู้บริโภคมีสิทธิในการรวมตัวกันจัดตั้ง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 13
ด้านการรู้ข้อมูลที่เป็นจริง ด้านความปลอดภัย
ด้านความเป็นธรรมในการทาสัญญาและด้านอื่นๆ
ผู้บริโภคจะได้รับการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ด้านสุขภาพอนามัย
การบริการสาธารณสุข
• มารดามีสิทธิได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือก่อน
และหลังคลอด
• บุคคลผู้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ
ที่เหมาะสมจากรัฐ
• อายุเกิน 60 ปี + ไม่มีรายได้เพียงพอ
แก่การยังชีพ
• บุคคลผู้ยากไร้
ความคุ้มครองและ
ช่วยเหลือจากรัฐ
• ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
• ทุกคนมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัด
โรคติดต่ออันตรายจากรัฐ
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 14
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 15
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
หน้าที่ของปวงชนชาวไทย10 ประการ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 16
พิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ป้องกันประเทศ
พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิ
ผลประโยชน์ของชาติ
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน และ
ให้ความร่วมมือในการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย
ปฏิบัติตามกฎหมาย
ศึกษาเล่าเรียน
ภาคบังคับ
รับราชการทหาร
ไม่ละเมิดสิทธิ
และเสรีภาพของคนอื่น
ใช้สิทธิเลือกตั้ง
ลงประชามติอย่างอิสระ
ร่วมมือและสนับสนุน
การอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
และมรดกทางวัฒนธรรม
เสียภาษี
ไม่สนับสนุนการทุจริต
ประพฤติมิชอบ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
หน้าที่ของรัฐ
กาหนดให้รัฐต้องทาหรือจัดให้มีสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึง
ถ้ารัฐไม่ทาตาม ประชาชนย่อมมีสิทธิติดตามและเร่งให้รัฐดาเนินการ
หรือฟ้องร้องเพื่อจัดให้ประชาชนได้รับประโยชน์นั้น
ตามวิธีการที่กฎหมายกาหนด
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 17
การศึกษา
การรักษาความสงบเรียบร้อย
คลื่นความถี่ และวงโคจรดาวเทียม
ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ
สาธารณสุข และสาธารณูปโภค การรักษาผลประโยชน์ชาติ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ
การศึกษา
 ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเป็นเวลา 12 ปี ตั้งแต่อนุบาล
จนจบการศึกษาภาคบังคับ
 จัดให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้าเรียนอนุบาลโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
 จัดให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในทุกระบบตามความถนัด
 ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
 จัดให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนค่าใช้จ่าย
 จัดตั้งกองทุนเพื่อดูแล ลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา และเสริมสร้างพัฒนาครู
ผ่านงบประมาณ มาตรการทางภาษี หรือเงินบริจาค
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 18
เป้าหมายการศึกษา เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ
เชี่ยวชาญตามความถนัด
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
การรักษาความสงบเรียบร้อย
หน้าที่ของรัฐ
 รักษาไว้ซึ่งสถาบัน เอกราช อธิปไตย
ปฏิบัติตามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 19
สาธารณสุข
 จัดทาบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง
 ส่งเสริมความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพและการป้องกันโรค
 ดูแลผู้ยากไร้ให้มีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุข โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
 ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
สาธารณูปโภค
หน้าที่ของรัฐ
 จัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทั่วถึง
 ดูแลไม่ให้เรียกเก็บค่าบริการจนเป็นภาระแก่ประชาชนเกินสมควร
 รักษาโครงสร้างพื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภคที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต หรือเพื่อความมั่นคงของ
รัฐไว้โดยรัฐเป็นเจ้าของไม่น้อยกว่า 51%
 ถ้านาสาธารณูปโภคของรัฐไปให้เอกชนดาเนินการ รัฐต้องได้รับประโยชน์
ตอบแทนอย่างเป็นธรรม
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 20
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ศิลปะ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ
หน้าที่ของรัฐ
 อนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และ
ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วม
 อนุรักษ์ คุ้มครอง บารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ ใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ
ให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
 หากกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย
คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม
อย่างรุนแรง ต้องมีการศึกษาและประเมินผลกระทบ และรับฟังความคิดเห็นก่อน
และรัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด รวมทั้งให้มีการเยียวยา
ความเสียหายต่อประชาชนและชุมชน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 21
ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วม
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ
คลื่นความถี่ และวงโคจรดาวเทียม
 รักษาคลื่นความถี่และสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติ
เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน
 ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่
 มีมาตรการป้องกันมิให้มีการแสวงหาประโยชน์โดยไม่เป็นธรรม
หรือสร้างภาระแก่ผู้บริโภคเกินความจาเป็น
 มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบและกากับการดาเนินการ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 22
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ
การรักษาผลประโยชน์ชาติ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 23
 รักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัด
 จัดระบบภาษีให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคม
 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการ
ทุจริตประพฤติมิชอบ
 จัดมาตรการและกลไกการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพเพื่อขจัด
การทุจริตประพฤติมิชอบ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
แนวนโยบายแห่งรัฐ
 มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
 ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติและคนไทย
ในต่างประเทศ
 อุปถัมภ์คุ้มครองพุทธศาสนา และศาสนาอื่น รวมทั้งส่งเสริมการเผยแผ่หลักธรรมของ
พุทธศาสนา และป้องกันการบ่อนทาลาย
 กระบวนการยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ สะดวก รวดเร็ว
ไม่เสียค่าใช้จ่ายเกินสมควรและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส
 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาศิลปวิทยาการ ทุกแขนง
 คุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ
 เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี
มีคุณภาพ ความสามารถสูงขึ้น
เป็น “แนวทางรัฐตรากฎหมาย & กาหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน”
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 24
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
แนวนโยบายแห่งรัฐ
เป็น “แนวทางรัฐตรากฎหมาย & กาหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน”
 พึงวางแผนการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน ด้วยการวางผังเมือง จัดสรรทรัพยากร
ที่ดินและน้าอย่างทั่วถึง ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและการใช้งานอย่างคุ้มค่า
พัฒนาส่งเสริมพลังงานทางเลือก
 ช่วยเหลือเกษตรกรให้ประกอบเกษตรกรรมอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ต้นทุนต่า
 ส่งเสริมการทางานและคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย สุขอนามัยที่ดี
ได้รับรายได้ สวัสดิการ เหมาะแก่การดารงชีพ
 จัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม และสร้างเสถียรภาพ
ให้แก่ระบบสหกรณ์และรัฐวิสาหกิจของประชาชนและชุมชน
 การบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
 มีกฎหมายเท่าที่จาเป็น และประชาชนเข้าถึง ทาความเข้าใจได้
 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครอง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 25
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
รัฐสภา
• วาระ 5 ปี
นับแต่วันประกาศผลการเลือก
• ได้วาระเดียว
• สมาชิกภาพเริ่มนับแต่วันที่ กกต.
ประกาศผลการเลือก
• วาระ 4 ปี
นับแต่วันเลือกตั้ง
• สมาชิกภาพเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง
• บัตรเลือกตั้งใบเดียวได้ ส.ส. 2 ประเภท
ส.ส.
แบบแบ่งเขต (เขต
ละ 1 คน)
500 คน
ส.ส.
แบบบัญชีรายชื่อ
150 คน
สภาผู้แทนราษฎร
200 คน
วุฒิสภา
350 คนร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 26
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
1. มีสัญชาติไทย หรือกรณีแปลงสัญชาติ
ต้องได้รับสัญชาติไทยมาไม่น้อยกว่า 5ปี
2. มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง
3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง
ไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
ลักษณะต้องห้าม
1. เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
3. ต้องคุมขังอยู่โดยหมายศาล
4. วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน
27ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. มีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองเดียวติดต่อกัน
ไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันเลือกตั้ง
4. ส.ส.แบบแบ่งเขต จะต้อง
- มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัคร
ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับถึงวันสมัคร
รับเลือกตั้ง
- เกิดในจังหวัดที่สมัคร
- เคยเรียนในจังหวัดที่สมัครไม่น้อยกว่า 5 ปี
การศึกษา
- เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ใน
หน่วยงานรัฐ / เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ในจังหวัดที่สมัคร ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
คุณสมบัติ ส.ส.
28
ลักษณะต้องห้าม
• ติดยา / ล้มละลาย
• ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน
• ต้องห้ามใช้สิทธิเลือกตั้ง
• อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
• อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือถูกเพิก
ถอนสิทธิ
• ถูกจาคุกโดยหมายศาล
• เคยถูกจาคุกและพ้นโทษยังไม่ถึง 10 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่
เพราะเหตุประมาทหรือลหุโทษ
• เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุทุจริต
• เคยต้องคาพิพากษาว่าร่ารวยผิดปกติ / ทาผิดต่อหน้าที่ /
ความผิดร้ายแรง / ทุจริตในการเลือกตั้ง
• เป็นข้าราชการประจา พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานรัฐ
• เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น
• เป็น ส.ว. หรือพ้นจากความเป็น ส.ว. ยังไม่เกิน 2 ปี
• เป็นตุลาการศาล รธน. หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
• อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
*โปรดดูตามมาตรา 98
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ส.ว. : 200 คน
ที่มา -- เรื่องของประชาชน ประชาชนสมัครเอง
เลือกกันเอง-พรรคการเมืองและนักการเมืองไม่เกี่ยว
29
จัดกลุ่ม / เลือกอย่างไร ?
- การแบ่งกลุ่มต้องทาให้ ประชาชนที่มีคุณสมบัติทุกคน
สามารถอยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ ตามวิธีการที่กาหนดใน
กฎหมายลูก
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
อายุ 5 ปี เป็นได้ครั้งเดียว
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
การเลือก ส.ว.
เรื่องของประชาชน ประชาชนสมัครเอง-เลือกกันเอง-นักการเมืองไม่เกี่ยว
ประชาชนทุกกลุ่มของสังคม
มีสิทธิสมัคร
สมัครได้ที่อาเภอ ที่มีภูมิลาเนาหรือ
ทางานอยู่
กกต. ตรวจสอบคุณสมบัติ
และประกาศรายชื่อ
ระดับประเทศ
เหลือ 200 คน
ระดับจังหวัด
จังหวัดละไม่เกิน 100 คน
ระดับอาเภอ
อาเภอละไม่เกิน 100 คน
กกต.
ประกาศผลการเลือก
ส.ว. จากประชาชนตัวจริง
ผู้สมัครเลือกกันเอง
ไม่ให้เลือกกลุ่มตัวเอง ป้องกัน block
votes
30
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
 สัญชาติไทยโดยการเกิด
 อายุไม่ต่ากว่า 40 ปี ในวันสมัครรับเลือก
 ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ในด้านที่สมัครไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือมี
ลักษณะตามที่กาหนดไว้ใน พ.ร.บ.ประกอบ รธน.
 มีความสัมพันธ์กับพื้นที่ที่สมัคร
ลักษณะต้องห้าม*
• ต้องห้ามสมัครรับเลือกตั้ง
• เป็นข้าราชการ
• เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
• เป็น/เคยเป็น ส.ส. ผู้ดารงตาแหน่งในพรรคการเมือง รัฐมนตรี สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น เว้น
แต่พ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
• ต้องไม่มี พ่อ แม่ ลูก คู่สมรส เป็น ส.ส. ส.ว. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ผู้สมัคร ส.ว. ในคราวเดียวกัน หรือผู้ดารงตาแหน่งในศาล รธน. ในองค์กรอิสระ
คุณสมบัติ ส.ว.
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 31
*โปรดดูตามมาตรา 108
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
พ.ร.บ.ประกอบ รธน.
1. การเลือกตั้ง ส.ส.
2. การได้มาซึ่ง ส.ว.
3. คณะกรรมการ
การเลือกตั้ง
4. พรรคการเมือง
5. วิธีพิจารณาของ
ศาล รธน.
6. วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้
ดารงตาแหน่งทางการเมือง
7. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
8. การป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริต
9. การตรวจเงินแผ่นดิน
10. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 32
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
คณะรัฐมนตรี
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 33
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
กรอบการปฏิบัติงานของ ครม.
ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ เปิดเผย รอบคอบ
เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศและ
ประชาชนมีส่วนร่วม
รักษาวินัย
การเงินการคลัง
สร้างเสริมสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่าง
เป็นธรรม ผาสุก สามัคคีปรองดอง
ปฏิบัติตาม
หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 34
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
35
การขัดกันแห่งผลประโยชน์
วางมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของนักการเมือง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
36
“การกระทาที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์”
ห้าม ส.ส. ส.ว.
• ดารงตาแหน่งหรือหน้าที่ในหน่วยงานรัฐ หรือสภา
ท้องถิ่น
• ขัดขวางแทรกแซงการใช้สิทธิหรือเสรีภาพของสื่อ
• แทรกแซง ก้าวก่าย การรับสัมปทาน / เข้าเป็น
คู่สัญญาในลักษณะผูกขาด
ตัดตอน / หุ้นส่วนบริษัทที่ได้รับสัมปทาน *
• รับเงินหรือประโยชน์เป็นพิเศษที่
ไม่สมควรได้จากหน่วยงานของรัฐ *
* รวมถึง คู่สมรส บุตร คนอื่นที่ถูกใช้/
ร่วมดาเนินการ/ได้รับมอบหมาย
ห้ามใช้สถานะ ส.ส. ส.ว.
ก้าวก่ายหรือแทรกแซง
• การปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้าง
ในหน่วยงานรัฐ
• มีส่วนร่วมในการใช้จ่ายงบประมาณ/จัดสรร
โครงการ
• บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนขั้น ปรับ
เงินเดือน
รัฐมนตรี
การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เพื่อประโยชน์ตนเอง/ผู้อื่น/พรรคการเมือง ตามที่กาหนดใน
มาตรฐานทางจริยธรรม
• ต้องห้ามเหมือน ส.ส./ส.ว.
เว้นแต่ เป็นการทาตามหน้าที่
• รมต. จะต้อง
• ไม่เป็นลูกจ้าง
• ไม่เป็นหุ้นส่วน/ถือหุ้น ตามจานวนที่
กฎหมายบัญญัติ (ใช้กับ
คู่สมรส/ บุตร ที่ยังไม่บรรลุ
นิติภาวะของรัฐมนตรีด้วย)
ห้ามใช้สถานะ รมต.
ก้าวก่ายหรือแทรกแซง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
มีอิสระ ในการพิจารณา พิพากษาอรรถคดีต่างๆ
โดย รวดเร็ว เป็นธรรม ปราศจากอคติทั้งปวง
ศาล
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 37
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ศาลยุติธรรม
• พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่ รธน. หรือกฎหมาย กาหนดให้อยู่ในอานาจศาล
อื่น
ศาลปกครอง
• พิจารณาพิพากษาคดีปกครอง อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย
หรือการดาเนินกิจการทางปกครอง
ศาลทหาร
• พิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทาผิดอยู่ในอานาจศาลทหาร และคดีอื่นตามที่
กฎหมายกาหนด
ศาลรัฐธรรมนูญ
• วินิจฉัยว่ากฎหมายหรือร่างกฎหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่
• วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจของ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา ครม. องค์กร
อิสระ
• หน้าที่และอานาจอื่นตามที่กาหนดใน รธน.
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 38
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ศาลรัฐธรรมนูญ
ตุลาการศาล รธน.
• จานวน 9 คน
• วาระ 7 ปี วาระเดียว
• องค์คณะ ไม่น้อยกว่า 7 คน
คาวินิจฉัย ศาล รธน.
• เมื่อศาล รธน. รับเรื่องใดไว้แล้ว
ตุลาการต้องวินิจฉัยทุกประเด็น
• คาวินิจฉัยเป็นเด็ดขาด ผูกพันรัฐสภา ครม. ศาล
องค์กรอิสระและหน่วยงานของรัฐ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 39
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
อิสระในการปฏิบัติหน้าที่
ปฏิบัติหน้าที่และใช้อานาจ โดยสุจริต เที่ยงธรรม กล้าหาญ
ปราศจากอคติทั้งปวงในการใช้ดุลพินิจ
คณะกรรมการการเลือกตั้ง / ผู้ตรวจการแผ่นดิน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน / คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 40
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
• อายุ ไม่ต่ากว่า 45 แต่ไม่เกิน 70
• สัญชาติไทยโดยการเกิด
• การศึกษาไม่ต่ากว่า ป.ตรีหรือเทียบเท่า
• ซื่อสัตย์สุจริต
• มีสุขภาพที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนด
คุณสมบัติทั่วไปของ
ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 41
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ใช้บังคับกับ
• ตุลาการศาล รธน.
• ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
• ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
• หัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาล รธน.
และองค์กรอิสระ
• สภาผู้แทนฯ วุฒิสภา ครม.
“มาตรฐานทางจริยธรรม”
ร่วมกันกาหนดโดย
ศาล รธน. + องค์กรอิสระ
และรับฟังความคิดเห็นจาก
สภาผู้แทนฯ วุฒิสภา ครม.
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 42
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
กกต.
หน้าที่และอานาจ
เกี่ยวกับการออกเสียงประชามติและการเลือกตั้ง ส.ส. ส.ว.
และการเลือกตั้งท้องถิ่น
• จัด/ดาเนินการ/ควบคุมดูแล
• สืบสวน ไต่สวน หากสงสัยหรือพบเห็นทุจริต
• ระงับ ยับยั้ง แก้ไขเปลี่ยนแปลง ยกเลิก สั่งเลือกตั้งใหม่
• ระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งชั่วคราว
สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี
เกี่ยวกับพรรคการเมือง
• ดูแลการดาเนินงานของพรรคการเมือง
ให้เป็นไปตามกฎหมาย
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 43
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ผู้ตรวจการแผ่นดิน
สรรหา 3 คน วาระเดียว 7 ปี
หน้าที่และอานาจ
• เสนอให้ปรับปรุงกฎหมายที่ก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนหรือไม่เป็นธรรมแก่ประชาชนหรือเป็นภาระเกิน
สมควร (แม้กฎหมายจะออกโดยชอบ
แต่หากเดือดร้อนก็สามารถเสนอให้แก้ไขได้)
• แสวงหาข้อเท็จจริงและเสนอให้ระงับความเดือดร้อน เมื่อมีคน
เดือดร้อน หรือได้รับความไม่เป็นธรรมจากการปฏิบัติตาม
กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ
• เสนอต่อ ครม. ให้ทราบถึงเรื่องที่รัฐยังไม่ได้ทาตามหน้าที่ที่กาหนด
ใน รธน.
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 44
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ปปช.
สรรหา 9 คน วาระเดียว 7 ปี
ไต่สวน
ตรวจสอบบัญชี
ทรัพย์สินร่ารวย
ผิดปกติ
ทุจริตต่อ
หน้าที่
ใช้อานาจ
มิชอบ
ฝ่าฝืนมาตรฐาน
ทางจริยธรรม
• ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
• ตุลาการศาล รธน.
• ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
• ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
จงใจใช้หน้าที่และอานาจ
ขัด รธน. หรือกม.
เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทาผิดต่อตาแหน่งหน้าที่
ราชการ หรือหน้าที่ในการ
ยุติธรรม
คู่สมรส บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 45
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ถ้า ปปช. ทุจริตเสียเอง ?
ปปช.
กระบวนการตรวจสอบ
ประธานรัฐสภา
ถูกกล่าวหาโดย
• ส.ส. ส.ว. หรือทั้งสองสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิกทั้งหมดที่มี
• ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 20,000 คน
ประธานศาลฎีกา
• ข้อกล่าวหาไม่มีมูล = ยุติเรื่อง
• ผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง = ส่งศาลฎีกาวินิจฉัยว่าผิดจริยธรรมอย่าง
ร้ายแรง
• มีพฤติการณ์ตามที่ถูกกล่าวหา = ส่งให้อัยการสูงสุดฟ้องคดีต่อ
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ตั้ง คณะผู้ไต่สวนอิสระ ดาเนินการไต่สวน
เสนอเรื่องต่อ
ถ้าเห็นว่ามีเหตุตามที่ถูกกล่าวหา ส่งเรื่องให้
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 46
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
คตง.
หน้าที่และอานาจ ของ คตง.
• วางนโยบาย และเกณฑ์มาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดิน
• ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะ รวมถึงการแก้ไข
ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน
• ลงโทษทางปกครอง กรณีทาผิดวินัยการเงินการคลัง
มี “ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน” ที่เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
• ตรวจเงินแผ่นดิน
• ตรวจผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงิน
มีระบบตรวจสอบที่โปร่งใส เป็นธรรม
• เสนอผลการตรวจสอบต่อ ส.ส. ส.ว. ครม. และเปิดเผยต่อประชาชน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 47
สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี
หน้าที่และอานาจ
• ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
และเสนอมาตรการป้องกันหรือแก้ไขที่เหมาะสม รวมทั้งการเยียวยา
ผู้ได้รับความเสียหาย
• รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
• เสนอแนะมาตรการ/แนวทางการส่งเสริมและคุ้มครอง
• ชี้แจงข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง หากมีรายงาน
ในประเทศที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม
• ส่งเสริมให้เกิดความตระหนัก
ของความสาคัญในสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 48
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
องค์กรอัยการ
พนักงานอัยการ
• อิสระในการพิจารณาสั่งคดี และการปฏิบัติหน้าที่
• ปฏิบัติหน้าที่ รวดเร็ว เที่ยงธรรม ปราศจากอคติทั้งปวง
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 49
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
การปกครองส่วนท้องถิ่น
1. เป็นไปตาม หลักแห่งการปกครองตนเอง
2. ยึดเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น
3. คานึงถึงความเหมาะสมและจาเป็นของแต่ละท้องถิ่น
4. การบริหารบุคคลต้องใช้ ระบบคุณธรรม
5. สับเปลี่ยนบุคลากรระหว่างกันได้
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 50
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
จัดทาเพื่อคนในท้องถิ่น
• บริการสาธารณะ
• กิจกรรมสาธารณะ
• การจัดการศึกษา
รัฐต้องสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีรายได้ของตนเอง
ในระหว่างที่ยังดาเนินการมิได้ รัฐต้องจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
• จัดระบบภาษีที่เหมาะสม
• ส่งเสริมการหารายได้
• รัฐต้องเปิดเผยและรายงานผลการดาเนินงาน
ให้ประชาชนทราบและมีกลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ร่วมทา หรือให้เอกชนหรือหน่วยงานรัฐทาได้ถ้าจะเป็นประโยชน์มากกว่า
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 51
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
การแก้ไขเพิ่มเติม รธน.
แก้ได้เมื่อทุกภาคส่วนเห็นดีเห็นงามร่วมกัน
แต่ถ้าเป็นเรื่องสาคัญต้องผ่านการลงประชามติก่อน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 52
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
หลักเกณฑ์การแก้ไขเพิ่มเติม รธน.
ญัตติขอแก้ไข
• ครม.
• ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจานวน
ส.ส. ที่มีอยู่ทั้งหมด
• ส.ส. + ส.ว. ไม่น้อยกว่า
1 ใน 5 ของจานวนสมาชิกที่มีอยู่
ทั้งหมดของทั้งสองสภา
• ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 50,000
คน
เสนอเป็น
ร่าง รธน. แก้ไขเพิ่มเติม
รัฐสภา
พิจารณา 3 วาระ
วาระ 1 : รับหลักการ
• เรียกชื่อ + ลงคะแนนเปิดเผย
• คะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของสมาชิก
ทั้งหมดของทั้งสองสภา ในจานวนนั้น
ตัองมี ส.ว. เห็นชอบไม่น้อยกว่า 1 ใน
3 ของ ส.ว. ทั้งหมด
วาระ 2 : เรียงมาตรา
• ถือเสียงข้างมาก
• ถ้าประชาชนเสนอ ต้องให้ผู้แทนที่
เข้าชื่อเสนอได้แสดงความคิดเห็น
วาระ 3 : ขั้นสุดท้าย
• เรียกชื่อ + ลงคะแนนเปิดเผย
• คะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด
ที่มีทั้งสองสภาในจานวนนี้ต้องมีเสียง
เห็นด้วยของฝ่ายค้านไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 20 และเสียงเห็นด้วยของ ส.ว.
ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 53
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
• ประเทศชาติสงบเรียบร้อย สามัคคีปรองดอง พัฒนาอย่างยั่งยืน
เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาวัตถุ & จิตใจ
• สังคมสงบสุข เป็นธรรม ทัดเทียม
• ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
การปฏิรูปประเทศ
แต่ละด้านต้องเริ่ม ภายใน 1 ปี นับแต่ รธน. นี้ใช้บังคับ
7 ด้านการเมือง / การบริหารราชการแผ่นดิน / กฎหมาย
กระบวนการยุติธรรม / การศึกษา / เศรษฐกิจ / อื่นๆ
เป้าหมาย
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 54
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
55
การปฏิรูปประเทศ
ด้านการเมือง
• สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ประชาชนมีส่วนร่วม ยอมรับความเห็นต่าง
• ให้พรรคการเมืองเป็นสถาบันการเมืองของประชาชน ทากิจกรรมร่วมกันโดยเปิดเผยและตรวจสอบ
ได้
• ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อประชาชน
• มีกลไกแก้วิกฤติการเมืองโดยสันติวิธี
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
56
การปฏิรูปประเทศ
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
• พัฒนาโครงสร้างหน่วยงานของรัฐ การบริหารงานบุคคลของภาครัฐและบูรณาการ
ฐานข้อมูล
• จัดทาระบบการซื้อจัดจ้างคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้
• ใช้เทคโนโลยีในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
57
การปฏิรูปประเทศ
ด้านกฎหมาย
• ปรับปรุงให้ทันสมัย มีความคล่องตัว ไม่สร้างภาระเกินความจาเป็น
• พัฒนาฐานข้อมูลกฎหมาย ประชาชนเข้าถึงได้
• ช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
58
การปฏิรูปประเทศ
ด้านกระบวนการยุติธรรม
• กาหนดระยะเวลาทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรม
• ระบบสอบสวนมีการถ่วงดุลระหว่างตารวจและอัยการ
• ให้ประชาชนมีทางเลือกใช้ประโยชน์จากนิติวิทยาศาสตร์
• บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ลดความไม่เป็นธรรมในสังคม
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
59
การปฏิรูปประเทศ
ด้านการศึกษา
• ให้เด็กได้รับการพัฒนาตั้งแต่ยังเยาว์วัย
• ให้ทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทัดเทียมกัน
• ให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ และต้องจัดให้มีกฎหมายภายใน 1 ปี
• มีกลไกการผลิต คัดกรองและพัฒนาครูให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
• ปรับปรุงการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
60
การปฏิรูปประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
• ขจัดอุปสรรค เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน
• ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยี
• เก็บภาษีอย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า
• ส่งเสริมสหกรณ์
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
61
การปฏิรูปประเทศ
ด้านอื่นๆ
• บริหารจัดการทรัพยากรน้า ที่มีประสิทธิภาพอย่างเป็นธรรมอย่างยั่งยืน
• กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม
• จัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ
• มีหลักประกันสุขภาพให้ทุกคนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
• มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
บทเฉพาะกาล
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 62
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
ส.ว. ในวาระเริ่มแรก ?
ในช่วง 5 ปีแรก เมื่อ รธน.ใช้บังคับ และได้ ส.ส. แล้ว ให้มี ส.ว. ในวาระเริ่มแรกไปก่อน
วาระ 5 ปี นับแต่โปรดเกล้าฯ เมื่อแต่งตั้งครบ 5 ปี ก็หมดวาระไปในตัว
จานวน 250 คน
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
กกต. จัดให้มีการเลือกจากบุคคลกลุ่ม
ต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับอาเภอ จังหวัด
ประเทศ จานวน 200 คน
เสนอรายชื่อต่อ คณะกรรมการ เพื่อ
คสช. พิจารณาเลือกเหลือ 50 คน
กลุ่มที่ 3
แต่งตั้งโดยตาแหน่ง 6 คน
ปลัดกระทรวงกลาโหม
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ผู้บัญชาการทหารบก
ผู้บัญชาการทหารเรือ
ผู้บัญชาการทหารอากาศ
ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ
50 6
การได้มา
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
มีคณะกรรมการที่ คสช.
แต่งตั้ง
จานวน 9 คน
พิจารณารายชื่อ
400 คน
เสนอรายชื่อ ต่อ คสช. เลือก
เหลือ 194
194
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
64
หน้าที่พิเศษของ ส.ว. ในวาระเริ่มแรก
 ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัด ให้
รัฐบาลดาเนินการตามแผนปฏิรูป
ประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ
ทุก 3 เดือน
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
กรธ.
ร่างรัฐธรรมนูญ
เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559
65
เรื่องที่รัฐสภาต้องพิจารณาประชุมร่วมกัน
ในวาระเริ่มแรก
 พิจารณาร่าง พ.ร.บ. ที่ ส.ส. หรือ ส.ว. ยับยั้งไว้อันเกี่ยวกับ
(1) การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิด
ต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หน้าที่ในการยุติธรรม พนักงาน
ของรัฐ อันมีผลให้ผู้กระทาความผิดพ้นจากความผิด
หรือไม่ต้องรับโทษ
(2) ร่าง พ.ร.บ. ที่ ส.ว. มีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ว่ามีผลกระทบต่อการดาเนินกระบวนการยุติธรรม
อย่างร้ายแรง
 ขอยกเว้นไม่แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชี
รายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง
เฉพาะเมื่อไม่อาจแต่งตั้งนายกฯจากบัญชีรายชื่อได้
ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ

More Related Content

Viewers also liked

แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติ
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติ
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติประพันธ์ เวารัมย์
 
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)Supha Khamprakhon
 
ใบความรู้ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4page
ใบความรู้  พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4pageใบความรู้  พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4page
ใบความรู้ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่ายสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858Aphisit Aunbusdumberdor
 

Viewers also liked (20)

ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติ
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติ
ร่างรัฐธรรมนูญ 59 ฉบับก่อนลงประชามติ
 
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
 
ใบความรู้ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4page
ใบความรู้  พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4pageใบความรู้  พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4page
ใบความรู้ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ป.3+445+dltvsocp3+54soc p03f 16-4page
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษาประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
ประเทศไทยกับอนาคตใหม่ทางการศึกษา
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาษา)
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
 

Similar to ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559

Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909CUPress
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
Panel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfPanel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfdatahatch
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550Parun Rutjanathamrong
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 

Similar to ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559 (20)

Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
Panel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfPanel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdf
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครูเอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
 

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559

  • 1. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 1
  • 2. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ร่าง รธน. มี.ค. 59 ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้ โดยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • 3. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 • ความคุ้มครองที่ชัดเจน “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง” 3 บททั่วไป ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 4. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 • ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ • รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด • ถ้าไม่ได้กาหนดเรื่องใดไว้ ให้ทาตามประเพณีการปกครองฯ เมื่อมีปัญหาให้วินิจฉัยโดยที่ประชุมร่วมของ • ประธานสภาผู้แทนราษฎร / ประธานวุฒิสภา / นายกรัฐมนตรี / ประธานศาลฎีกา / ประธานศาลปกครองสูงสุด / ประธานศาลรัฐธรรมนูญ / ประธานองค์กร อิสระ / ผู้นาฝ่ายค้านในรัฐสภา • ผลคาวินิจฉัยผูกพัน รัฐสภา ครม. ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ 4 บททั่วไป ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 5. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 พระมหากษัตริย์ องค์พระมหากษัตริย์ทรงดารงอยู่ในฐานะ อันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ (บทบัญญัติในหมวดนี้ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา) ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 5
  • 6. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 สิทธิและเสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 6
  • 7. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 กาหนดหลักการใหม่ • ถ้าไม่มีข้อห้าม หรือจากัดใน รธน. หรือกฎหมาย ประชาชนย่อมมีสิทธิทาได้และได้รับความคุ้มครอง • การใช้สิทธิของประชาชนต้องไม่กระทบ (1) ความมั่นคงของรัฐ (2) ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (3) ไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของผู้อื่น  กาหนดหลักประกันเพิ่มเติม • ถ้าเรื่องใด รธน. กาหนดให้เป็นไปตามกฎหมาย แม้จะยังไม่ตรากฎหมายเรื่องนั้น การใช้สิทธิหรือเสรีภาพ ย่อมทาได้ตามเจตนารมณ์ของ รธน. • หากถูกละเมิดตามที่ รธน.คุ้มครอง : ย่อมใช้สิทธิทางศาลหรือยกเป็นข้อต่อสู้ได้ : ถ้าเสียหาย ย่อมมีสิทธิได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือ จากรัฐตามที่กฎหมายกาหนด หลักประกันสิทธิและเสรีภาพ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 7
  • 8. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ห้ามเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะแตกต่างเพราะ - ถิ่นกาเนิด - เชื้อชาติ - ภาษา - เพศ - อายุ - ความพิการ - สภาพทางกายหรือสุขภาพ - สถานะของบุคคล - ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม - ความเชื่อทางศาสนา - การศึกษาอบรม - ความคิดเห็นทางการเมือง อันไม่ขัดต่อ รธน. - หรือ เหตุอื่นใด ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน มาตรการที่รัฐกาหนด • เพื่อขจัดอุปสรรค หรือส่งเสริมให้บุคคลใช้สิทธิ หรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกันกับคนอื่น • เพื่อคุ้มครองหรืออานวย ความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คน พิการ ผู้ด้อยโอกาส “ไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดย ไม่เป็นธรรม” ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 8
  • 9. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 สิทธิและเสรีภาพที่กาหนดใน รธน. หลักการ : รับรองและคุ้มครอง เช่น ชีวิตและร่างกาย หลักประกันการที่จะต้องไม่รับโทษทางอาญา ไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน การนับถือศาสนา ความเป็นอยู่ส่วนตัว ฯลฯ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 9 • เข้าชื่อเสนอกฎหมายที่เกี่ยวกับ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหน้าที่ ของรัฐ (ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 10,000 คน)
  • 10. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 รับรองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว / เกียรติยศ / ชื่อเสียง รวมถึงเรื่อง “ข้อมูลส่วนบุคคล” ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 10 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น คุ้มครองเสรีภาพทางวิชาการ
  • 11. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 11 สิทธิของประชาชน ที่จะได้รับจากรัฐ ในการปกป้องสิทธิ และเสรีภาพของตน รับทราบและเข้าถึงข้อมูล/ข่าวสารสาธารณะ ตามที่กฎหมายกาหนด เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐ และได้รับ แจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว ฟ้องหน่วยงานรัฐให้รับผิดเนื่องจากการกระทาหรือละเว้น การกระทา ของข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้างของ หน่วยงานนั้น
  • 12. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 สิทธิของชุมชน อนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี จัดการ บารุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน เข้าชื่อเสนอแนะหน่วยงานรัฐให้ดาเนินการที่เป็นประโยชน์ต่อ ประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้นดาเนินการที่อาจกระทบความเป็นอยู่ และรัฐ ต้องจัดให้ประชาชนมีส่วนร่วมตามวิธีการที่กฎหมายกาหนด จัดให้มีระบบสวัสดิการของชุมชน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 12
  • 13. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 องค์กรเพื่อคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิที่เป็นอิสระ คุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค และได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ผู้บริโภคมีสิทธิในการรวมตัวกันจัดตั้ง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 13 ด้านการรู้ข้อมูลที่เป็นจริง ด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรมในการทาสัญญาและด้านอื่นๆ ผู้บริโภคจะได้รับการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
  • 14. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ด้านสุขภาพอนามัย การบริการสาธารณสุข • มารดามีสิทธิได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือก่อน และหลังคลอด • บุคคลผู้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ ที่เหมาะสมจากรัฐ • อายุเกิน 60 ปี + ไม่มีรายได้เพียงพอ แก่การยังชีพ • บุคคลผู้ยากไร้ ความคุ้มครองและ ช่วยเหลือจากรัฐ • ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ ไม่เสียค่าใช้จ่าย • ทุกคนมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัด โรคติดต่ออันตรายจากรัฐ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 14
  • 15. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 15
  • 16. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย10 ประการ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 16 พิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ป้องกันประเทศ พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิ ผลประโยชน์ของชาติ สาธารณสมบัติของแผ่นดิน และ ให้ความร่วมมือในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ปฏิบัติตามกฎหมาย ศึกษาเล่าเรียน ภาคบังคับ รับราชการทหาร ไม่ละเมิดสิทธิ และเสรีภาพของคนอื่น ใช้สิทธิเลือกตั้ง ลงประชามติอย่างอิสระ ร่วมมือและสนับสนุน การอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางวัฒนธรรม เสียภาษี ไม่สนับสนุนการทุจริต ประพฤติมิชอบ
  • 17. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 หน้าที่ของรัฐ กาหนดให้รัฐต้องทาหรือจัดให้มีสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึง ถ้ารัฐไม่ทาตาม ประชาชนย่อมมีสิทธิติดตามและเร่งให้รัฐดาเนินการ หรือฟ้องร้องเพื่อจัดให้ประชาชนได้รับประโยชน์นั้น ตามวิธีการที่กฎหมายกาหนด ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 17 การศึกษา การรักษาความสงบเรียบร้อย คลื่นความถี่ และวงโคจรดาวเทียม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ สาธารณสุข และสาธารณูปโภค การรักษาผลประโยชน์ชาติ
  • 18. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ การศึกษา  ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเป็นเวลา 12 ปี ตั้งแต่อนุบาล จนจบการศึกษาภาคบังคับ  จัดให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้าเรียนอนุบาลโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย  จัดให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในทุกระบบตามความถนัด  ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต  จัดให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนค่าใช้จ่าย  จัดตั้งกองทุนเพื่อดูแล ลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา และเสริมสร้างพัฒนาครู ผ่านงบประมาณ มาตรการทางภาษี หรือเงินบริจาค ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 18 เป้าหมายการศึกษา เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญตามความถนัด
  • 19. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 การรักษาความสงบเรียบร้อย หน้าที่ของรัฐ  รักษาไว้ซึ่งสถาบัน เอกราช อธิปไตย ปฏิบัติตามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 19 สาธารณสุข  จัดทาบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง  ส่งเสริมความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพและการป้องกันโรค  ดูแลผู้ยากไร้ให้มีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุข โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย  ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย
  • 20. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 สาธารณูปโภค หน้าที่ของรัฐ  จัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทั่วถึง  ดูแลไม่ให้เรียกเก็บค่าบริการจนเป็นภาระแก่ประชาชนเกินสมควร  รักษาโครงสร้างพื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภคที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต หรือเพื่อความมั่นคงของ รัฐไว้โดยรัฐเป็นเจ้าของไม่น้อยกว่า 51%  ถ้านาสาธารณูปโภคของรัฐไปให้เอกชนดาเนินการ รัฐต้องได้รับประโยชน์ ตอบแทนอย่างเป็นธรรม ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 20
  • 21. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ศิลปะ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ หน้าที่ของรัฐ  อนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วม  อนุรักษ์ คุ้มครอง บารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ ใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน  หากกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม อย่างรุนแรง ต้องมีการศึกษาและประเมินผลกระทบ และรับฟังความคิดเห็นก่อน และรัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด รวมทั้งให้มีการเยียวยา ความเสียหายต่อประชาชนและชุมชน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 21 ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วม
  • 22. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ คลื่นความถี่ และวงโคจรดาวเทียม  รักษาคลื่นความถี่และสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติ เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน  ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์จากคลื่นความถี่  มีมาตรการป้องกันมิให้มีการแสวงหาประโยชน์โดยไม่เป็นธรรม หรือสร้างภาระแก่ผู้บริโภคเกินความจาเป็น  มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ รับผิดชอบและกากับการดาเนินการ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 22
  • 23. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559หน้าที่ของรัฐ การรักษาผลประโยชน์ชาติ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 23  รักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัด  จัดระบบภาษีให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคม  ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการ ทุจริตประพฤติมิชอบ  จัดมาตรการและกลไกการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพเพื่อขจัด การทุจริตประพฤติมิชอบ
  • 24. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 แนวนโยบายแห่งรัฐ  มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล  ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติและคนไทย ในต่างประเทศ  อุปถัมภ์คุ้มครองพุทธศาสนา และศาสนาอื่น รวมทั้งส่งเสริมการเผยแผ่หลักธรรมของ พุทธศาสนา และป้องกันการบ่อนทาลาย  กระบวนการยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ สะดวก รวดเร็ว ไม่เสียค่าใช้จ่ายเกินสมควรและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส  ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาศิลปวิทยาการ ทุกแขนง  คุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ  เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพ ความสามารถสูงขึ้น เป็น “แนวทางรัฐตรากฎหมาย & กาหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน” ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 24
  • 25. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 แนวนโยบายแห่งรัฐ เป็น “แนวทางรัฐตรากฎหมาย & กาหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน”  พึงวางแผนการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้า และพลังงาน ด้วยการวางผังเมือง จัดสรรทรัพยากร ที่ดินและน้าอย่างทั่วถึง ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและการใช้งานอย่างคุ้มค่า พัฒนาส่งเสริมพลังงานทางเลือก  ช่วยเหลือเกษตรกรให้ประกอบเกษตรกรรมอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ต้นทุนต่า  ส่งเสริมการทางานและคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย สุขอนามัยที่ดี ได้รับรายได้ สวัสดิการ เหมาะแก่การดารงชีพ  จัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม และสร้างเสถียรภาพ ให้แก่ระบบสหกรณ์และรัฐวิสาหกิจของประชาชนและชุมชน  การบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  มีกฎหมายเท่าที่จาเป็น และประชาชนเข้าถึง ทาความเข้าใจได้  ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครอง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 25
  • 26. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 รัฐสภา • วาระ 5 ปี นับแต่วันประกาศผลการเลือก • ได้วาระเดียว • สมาชิกภาพเริ่มนับแต่วันที่ กกต. ประกาศผลการเลือก • วาระ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง • สมาชิกภาพเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง • บัตรเลือกตั้งใบเดียวได้ ส.ส. 2 ประเภท ส.ส. แบบแบ่งเขต (เขต ละ 1 คน) 500 คน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 150 คน สภาผู้แทนราษฎร 200 คน วุฒิสภา 350 คนร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 26
  • 27. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 1. มีสัญชาติไทย หรือกรณีแปลงสัญชาติ ต้องได้รับสัญชาติไทยมาไม่น้อยกว่า 5ปี 2. มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง 3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง ลักษณะต้องห้าม 1. เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช 2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 3. ต้องคุมขังอยู่โดยหมายศาล 4. วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน 27ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 28. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2. มีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง 3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองเดียวติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันเลือกตั้ง 4. ส.ส.แบบแบ่งเขต จะต้อง - มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัคร ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับถึงวันสมัคร รับเลือกตั้ง - เกิดในจังหวัดที่สมัคร - เคยเรียนในจังหวัดที่สมัครไม่น้อยกว่า 5 ปี การศึกษา - เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ใน หน่วยงานรัฐ / เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในจังหวัดที่สมัคร ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี คุณสมบัติ ส.ส. 28 ลักษณะต้องห้าม • ติดยา / ล้มละลาย • ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน • ต้องห้ามใช้สิทธิเลือกตั้ง • อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง • อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือถูกเพิก ถอนสิทธิ • ถูกจาคุกโดยหมายศาล • เคยถูกจาคุกและพ้นโทษยังไม่ถึง 10 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ เพราะเหตุประมาทหรือลหุโทษ • เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุทุจริต • เคยต้องคาพิพากษาว่าร่ารวยผิดปกติ / ทาผิดต่อหน้าที่ / ความผิดร้ายแรง / ทุจริตในการเลือกตั้ง • เป็นข้าราชการประจา พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานรัฐ • เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น • เป็น ส.ว. หรือพ้นจากความเป็น ส.ว. ยังไม่เกิน 2 ปี • เป็นตุลาการศาล รธน. หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ • อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ *โปรดดูตามมาตรา 98
  • 29. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ส.ว. : 200 คน ที่มา -- เรื่องของประชาชน ประชาชนสมัครเอง เลือกกันเอง-พรรคการเมืองและนักการเมืองไม่เกี่ยว 29 จัดกลุ่ม / เลือกอย่างไร ? - การแบ่งกลุ่มต้องทาให้ ประชาชนที่มีคุณสมบัติทุกคน สามารถอยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ ตามวิธีการที่กาหนดใน กฎหมายลูก ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ อายุ 5 ปี เป็นได้ครั้งเดียว
  • 30. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 การเลือก ส.ว. เรื่องของประชาชน ประชาชนสมัครเอง-เลือกกันเอง-นักการเมืองไม่เกี่ยว ประชาชนทุกกลุ่มของสังคม มีสิทธิสมัคร สมัครได้ที่อาเภอ ที่มีภูมิลาเนาหรือ ทางานอยู่ กกต. ตรวจสอบคุณสมบัติ และประกาศรายชื่อ ระดับประเทศ เหลือ 200 คน ระดับจังหวัด จังหวัดละไม่เกิน 100 คน ระดับอาเภอ อาเภอละไม่เกิน 100 คน กกต. ประกาศผลการเลือก ส.ว. จากประชาชนตัวจริง ผู้สมัครเลือกกันเอง ไม่ให้เลือกกลุ่มตัวเอง ป้องกัน block votes 30
  • 31. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559  สัญชาติไทยโดยการเกิด  อายุไม่ต่ากว่า 40 ปี ในวันสมัครรับเลือก  ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ในด้านที่สมัครไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือมี ลักษณะตามที่กาหนดไว้ใน พ.ร.บ.ประกอบ รธน.  มีความสัมพันธ์กับพื้นที่ที่สมัคร ลักษณะต้องห้าม* • ต้องห้ามสมัครรับเลือกตั้ง • เป็นข้าราชการ • เป็นสมาชิกพรรคการเมือง • เป็น/เคยเป็น ส.ส. ผู้ดารงตาแหน่งในพรรคการเมือง รัฐมนตรี สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น เว้น แต่พ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี • ต้องไม่มี พ่อ แม่ ลูก คู่สมรส เป็น ส.ส. ส.ว. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ผู้สมัคร ส.ว. ในคราวเดียวกัน หรือผู้ดารงตาแหน่งในศาล รธน. ในองค์กรอิสระ คุณสมบัติ ส.ว. ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 31 *โปรดดูตามมาตรา 108
  • 32. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 พ.ร.บ.ประกอบ รธน. 1. การเลือกตั้ง ส.ส. 2. การได้มาซึ่ง ส.ว. 3. คณะกรรมการ การเลือกตั้ง 4. พรรคการเมือง 5. วิธีพิจารณาของ ศาล รธน. 6. วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ ดารงตาแหน่งทางการเมือง 7. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 8. การป้องกันและปราบปรามการ ทุจริต 9. การตรวจเงินแผ่นดิน 10. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 32
  • 33. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 คณะรัฐมนตรี ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 33
  • 34. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 กรอบการปฏิบัติงานของ ครม. ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ เปิดเผย รอบคอบ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศและ ประชาชนมีส่วนร่วม รักษาวินัย การเงินการคลัง สร้างเสริมสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่าง เป็นธรรม ผาสุก สามัคคีปรองดอง ปฏิบัติตาม หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 34
  • 35. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 35 การขัดกันแห่งผลประโยชน์ วางมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของนักการเมือง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 36. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 36 “การกระทาที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์” ห้าม ส.ส. ส.ว. • ดารงตาแหน่งหรือหน้าที่ในหน่วยงานรัฐ หรือสภา ท้องถิ่น • ขัดขวางแทรกแซงการใช้สิทธิหรือเสรีภาพของสื่อ • แทรกแซง ก้าวก่าย การรับสัมปทาน / เข้าเป็น คู่สัญญาในลักษณะผูกขาด ตัดตอน / หุ้นส่วนบริษัทที่ได้รับสัมปทาน * • รับเงินหรือประโยชน์เป็นพิเศษที่ ไม่สมควรได้จากหน่วยงานของรัฐ * * รวมถึง คู่สมรส บุตร คนอื่นที่ถูกใช้/ ร่วมดาเนินการ/ได้รับมอบหมาย ห้ามใช้สถานะ ส.ส. ส.ว. ก้าวก่ายหรือแทรกแซง • การปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้าง ในหน่วยงานรัฐ • มีส่วนร่วมในการใช้จ่ายงบประมาณ/จัดสรร โครงการ • บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนขั้น ปรับ เงินเดือน รัฐมนตรี การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อประโยชน์ตนเอง/ผู้อื่น/พรรคการเมือง ตามที่กาหนดใน มาตรฐานทางจริยธรรม • ต้องห้ามเหมือน ส.ส./ส.ว. เว้นแต่ เป็นการทาตามหน้าที่ • รมต. จะต้อง • ไม่เป็นลูกจ้าง • ไม่เป็นหุ้นส่วน/ถือหุ้น ตามจานวนที่ กฎหมายบัญญัติ (ใช้กับ คู่สมรส/ บุตร ที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของรัฐมนตรีด้วย) ห้ามใช้สถานะ รมต. ก้าวก่ายหรือแทรกแซง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 37. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 มีอิสระ ในการพิจารณา พิพากษาอรรถคดีต่างๆ โดย รวดเร็ว เป็นธรรม ปราศจากอคติทั้งปวง ศาล ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 37
  • 38. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ศาลยุติธรรม • พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่ รธน. หรือกฎหมาย กาหนดให้อยู่ในอานาจศาล อื่น ศาลปกครอง • พิจารณาพิพากษาคดีปกครอง อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือการดาเนินกิจการทางปกครอง ศาลทหาร • พิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทาผิดอยู่ในอานาจศาลทหาร และคดีอื่นตามที่ กฎหมายกาหนด ศาลรัฐธรรมนูญ • วินิจฉัยว่ากฎหมายหรือร่างกฎหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ • วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจของ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา ครม. องค์กร อิสระ • หน้าที่และอานาจอื่นตามที่กาหนดใน รธน. ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 38
  • 39. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาล รธน. • จานวน 9 คน • วาระ 7 ปี วาระเดียว • องค์คณะ ไม่น้อยกว่า 7 คน คาวินิจฉัย ศาล รธน. • เมื่อศาล รธน. รับเรื่องใดไว้แล้ว ตุลาการต้องวินิจฉัยทุกประเด็น • คาวินิจฉัยเป็นเด็ดขาด ผูกพันรัฐสภา ครม. ศาล องค์กรอิสระและหน่วยงานของรัฐ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 39
  • 40. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ อิสระในการปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่และใช้อานาจ โดยสุจริต เที่ยงธรรม กล้าหาญ ปราศจากอคติทั้งปวงในการใช้ดุลพินิจ คณะกรรมการการเลือกตั้ง / ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน / คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 40
  • 41. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 • อายุ ไม่ต่ากว่า 45 แต่ไม่เกิน 70 • สัญชาติไทยโดยการเกิด • การศึกษาไม่ต่ากว่า ป.ตรีหรือเทียบเท่า • ซื่อสัตย์สุจริต • มีสุขภาพที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนด คุณสมบัติทั่วไปของ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 41
  • 42. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ใช้บังคับกับ • ตุลาการศาล รธน. • ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ • ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน • หัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาล รธน. และองค์กรอิสระ • สภาผู้แทนฯ วุฒิสภา ครม. “มาตรฐานทางจริยธรรม” ร่วมกันกาหนดโดย ศาล รธน. + องค์กรอิสระ และรับฟังความคิดเห็นจาก สภาผู้แทนฯ วุฒิสภา ครม. ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 42
  • 43. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 กกต. หน้าที่และอานาจ เกี่ยวกับการออกเสียงประชามติและการเลือกตั้ง ส.ส. ส.ว. และการเลือกตั้งท้องถิ่น • จัด/ดาเนินการ/ควบคุมดูแล • สืบสวน ไต่สวน หากสงสัยหรือพบเห็นทุจริต • ระงับ ยับยั้ง แก้ไขเปลี่ยนแปลง ยกเลิก สั่งเลือกตั้งใหม่ • ระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งชั่วคราว สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี เกี่ยวกับพรรคการเมือง • ดูแลการดาเนินงานของพรรคการเมือง ให้เป็นไปตามกฎหมาย ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 43
  • 44. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ผู้ตรวจการแผ่นดิน สรรหา 3 คน วาระเดียว 7 ปี หน้าที่และอานาจ • เสนอให้ปรับปรุงกฎหมายที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนหรือไม่เป็นธรรมแก่ประชาชนหรือเป็นภาระเกิน สมควร (แม้กฎหมายจะออกโดยชอบ แต่หากเดือดร้อนก็สามารถเสนอให้แก้ไขได้) • แสวงหาข้อเท็จจริงและเสนอให้ระงับความเดือดร้อน เมื่อมีคน เดือดร้อน หรือได้รับความไม่เป็นธรรมจากการปฏิบัติตาม กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ • เสนอต่อ ครม. ให้ทราบถึงเรื่องที่รัฐยังไม่ได้ทาตามหน้าที่ที่กาหนด ใน รธน. ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 44
  • 45. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ปปช. สรรหา 9 คน วาระเดียว 7 ปี ไต่สวน ตรวจสอบบัญชี ทรัพย์สินร่ารวย ผิดปกติ ทุจริตต่อ หน้าที่ ใช้อานาจ มิชอบ ฝ่าฝืนมาตรฐาน ทางจริยธรรม • ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง • ตุลาการศาล รธน. • ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ • ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน จงใจใช้หน้าที่และอานาจ ขัด รธน. หรือกม. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทาผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ ราชการ หรือหน้าที่ในการ ยุติธรรม คู่สมรส บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 45
  • 46. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ถ้า ปปช. ทุจริตเสียเอง ? ปปช. กระบวนการตรวจสอบ ประธานรัฐสภา ถูกกล่าวหาโดย • ส.ส. ส.ว. หรือทั้งสองสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิกทั้งหมดที่มี • ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 20,000 คน ประธานศาลฎีกา • ข้อกล่าวหาไม่มีมูล = ยุติเรื่อง • ผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง = ส่งศาลฎีกาวินิจฉัยว่าผิดจริยธรรมอย่าง ร้ายแรง • มีพฤติการณ์ตามที่ถูกกล่าวหา = ส่งให้อัยการสูงสุดฟ้องคดีต่อ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตั้ง คณะผู้ไต่สวนอิสระ ดาเนินการไต่สวน เสนอเรื่องต่อ ถ้าเห็นว่ามีเหตุตามที่ถูกกล่าวหา ส่งเรื่องให้ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 46
  • 47. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 คตง. หน้าที่และอานาจ ของ คตง. • วางนโยบาย และเกณฑ์มาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดิน • ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะ รวมถึงการแก้ไข ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน • ลงโทษทางปกครอง กรณีทาผิดวินัยการเงินการคลัง มี “ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน” ที่เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ • ตรวจเงินแผ่นดิน • ตรวจผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงิน มีระบบตรวจสอบที่โปร่งใส เป็นธรรม • เสนอผลการตรวจสอบต่อ ส.ส. ส.ว. ครม. และเปิดเผยต่อประชาชน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 47 สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี
  • 48. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 สรรหา 7 คน วาระเดียว 7 ปี หน้าที่และอานาจ • ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเสนอมาตรการป้องกันหรือแก้ไขที่เหมาะสม รวมทั้งการเยียวยา ผู้ได้รับความเสียหาย • รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน • เสนอแนะมาตรการ/แนวทางการส่งเสริมและคุ้มครอง • ชี้แจงข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง หากมีรายงาน ในประเทศที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม • ส่งเสริมให้เกิดความตระหนัก ของความสาคัญในสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 48
  • 49. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 องค์กรอัยการ พนักงานอัยการ • อิสระในการพิจารณาสั่งคดี และการปฏิบัติหน้าที่ • ปฏิบัติหน้าที่ รวดเร็ว เที่ยงธรรม ปราศจากอคติทั้งปวง ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 49
  • 50. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 การปกครองส่วนท้องถิ่น 1. เป็นไปตาม หลักแห่งการปกครองตนเอง 2. ยึดเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น 3. คานึงถึงความเหมาะสมและจาเป็นของแต่ละท้องถิ่น 4. การบริหารบุคคลต้องใช้ ระบบคุณธรรม 5. สับเปลี่ยนบุคลากรระหว่างกันได้ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 50
  • 51. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 จัดทาเพื่อคนในท้องถิ่น • บริการสาธารณะ • กิจกรรมสาธารณะ • การจัดการศึกษา รัฐต้องสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีรายได้ของตนเอง ในระหว่างที่ยังดาเนินการมิได้ รัฐต้องจัดสรรงบประมาณสนับสนุน • จัดระบบภาษีที่เหมาะสม • ส่งเสริมการหารายได้ • รัฐต้องเปิดเผยและรายงานผลการดาเนินงาน ให้ประชาชนทราบและมีกลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมทา หรือให้เอกชนหรือหน่วยงานรัฐทาได้ถ้าจะเป็นประโยชน์มากกว่า ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 51
  • 52. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 การแก้ไขเพิ่มเติม รธน. แก้ได้เมื่อทุกภาคส่วนเห็นดีเห็นงามร่วมกัน แต่ถ้าเป็นเรื่องสาคัญต้องผ่านการลงประชามติก่อน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 52
  • 53. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 หลักเกณฑ์การแก้ไขเพิ่มเติม รธน. ญัตติขอแก้ไข • ครม. • ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจานวน ส.ส. ที่มีอยู่ทั้งหมด • ส.ส. + ส.ว. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจานวนสมาชิกที่มีอยู่ ทั้งหมดของทั้งสองสภา • ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 50,000 คน เสนอเป็น ร่าง รธน. แก้ไขเพิ่มเติม รัฐสภา พิจารณา 3 วาระ วาระ 1 : รับหลักการ • เรียกชื่อ + ลงคะแนนเปิดเผย • คะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของสมาชิก ทั้งหมดของทั้งสองสภา ในจานวนนั้น ตัองมี ส.ว. เห็นชอบไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของ ส.ว. ทั้งหมด วาระ 2 : เรียงมาตรา • ถือเสียงข้างมาก • ถ้าประชาชนเสนอ ต้องให้ผู้แทนที่ เข้าชื่อเสนอได้แสดงความคิดเห็น วาระ 3 : ขั้นสุดท้าย • เรียกชื่อ + ลงคะแนนเปิดเผย • คะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด ที่มีทั้งสองสภาในจานวนนี้ต้องมีเสียง เห็นด้วยของฝ่ายค้านไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 และเสียงเห็นด้วยของ ส.ว. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 53
  • 54. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 • ประเทศชาติสงบเรียบร้อย สามัคคีปรองดอง พัฒนาอย่างยั่งยืน เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาวัตถุ & จิตใจ • สังคมสงบสุข เป็นธรรม ทัดเทียม • ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ การปฏิรูปประเทศ แต่ละด้านต้องเริ่ม ภายใน 1 ปี นับแต่ รธน. นี้ใช้บังคับ 7 ด้านการเมือง / การบริหารราชการแผ่นดิน / กฎหมาย กระบวนการยุติธรรม / การศึกษา / เศรษฐกิจ / อื่นๆ เป้าหมาย ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 54
  • 55. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 55 การปฏิรูปประเทศ ด้านการเมือง • สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ประชาชนมีส่วนร่วม ยอมรับความเห็นต่าง • ให้พรรคการเมืองเป็นสถาบันการเมืองของประชาชน ทากิจกรรมร่วมกันโดยเปิดเผยและตรวจสอบ ได้ • ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อประชาชน • มีกลไกแก้วิกฤติการเมืองโดยสันติวิธี ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 56. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 56 การปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน • พัฒนาโครงสร้างหน่วยงานของรัฐ การบริหารงานบุคคลของภาครัฐและบูรณาการ ฐานข้อมูล • จัดทาระบบการซื้อจัดจ้างคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้ • ใช้เทคโนโลยีในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 57. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 57 การปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมาย • ปรับปรุงให้ทันสมัย มีความคล่องตัว ไม่สร้างภาระเกินความจาเป็น • พัฒนาฐานข้อมูลกฎหมาย ประชาชนเข้าถึงได้ • ช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 58. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 58 การปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม • กาหนดระยะเวลาทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรม • ระบบสอบสวนมีการถ่วงดุลระหว่างตารวจและอัยการ • ให้ประชาชนมีทางเลือกใช้ประโยชน์จากนิติวิทยาศาสตร์ • บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ลดความไม่เป็นธรรมในสังคม ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 59. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 59 การปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา • ให้เด็กได้รับการพัฒนาตั้งแต่ยังเยาว์วัย • ให้ทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทัดเทียมกัน • ให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ และต้องจัดให้มีกฎหมายภายใน 1 ปี • มีกลไกการผลิต คัดกรองและพัฒนาครูให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู • ปรับปรุงการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 60. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 60 การปฏิรูปประเทศ ด้านเศรษฐกิจ • ขจัดอุปสรรค เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน • ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยี • เก็บภาษีอย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า • ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 61. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 61 การปฏิรูปประเทศ ด้านอื่นๆ • บริหารจัดการทรัพยากรน้า ที่มีประสิทธิภาพอย่างเป็นธรรมอย่างยั่งยืน • กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม • จัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ • มีหลักประกันสุขภาพให้ทุกคนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม • มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 62. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 บทเฉพาะกาล ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 62
  • 63. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 ส.ว. ในวาระเริ่มแรก ? ในช่วง 5 ปีแรก เมื่อ รธน.ใช้บังคับ และได้ ส.ส. แล้ว ให้มี ส.ว. ในวาระเริ่มแรกไปก่อน วาระ 5 ปี นับแต่โปรดเกล้าฯ เมื่อแต่งตั้งครบ 5 ปี ก็หมดวาระไปในตัว จานวน 250 คน กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กกต. จัดให้มีการเลือกจากบุคคลกลุ่ม ต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับอาเภอ จังหวัด ประเทศ จานวน 200 คน เสนอรายชื่อต่อ คณะกรรมการ เพื่อ คสช. พิจารณาเลือกเหลือ 50 คน กลุ่มที่ 3 แต่งตั้งโดยตาแหน่ง 6 คน ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ 50 6 การได้มา ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ มีคณะกรรมการที่ คสช. แต่งตั้ง จานวน 9 คน พิจารณารายชื่อ 400 คน เสนอรายชื่อ ต่อ คสช. เลือก เหลือ 194 194
  • 64. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 64 หน้าที่พิเศษของ ส.ว. ในวาระเริ่มแรก  ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัด ให้ รัฐบาลดาเนินการตามแผนปฏิรูป ประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ ทุก 3 เดือน ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
  • 65. กรธ. ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อลงประชามติ 7 ส.ค. 2559 65 เรื่องที่รัฐสภาต้องพิจารณาประชุมร่วมกัน ในวาระเริ่มแรก  พิจารณาร่าง พ.ร.บ. ที่ ส.ส. หรือ ส.ว. ยับยั้งไว้อันเกี่ยวกับ (1) การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิด ต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หน้าที่ในการยุติธรรม พนักงาน ของรัฐ อันมีผลให้ผู้กระทาความผิดพ้นจากความผิด หรือไม่ต้องรับโทษ (2) ร่าง พ.ร.บ. ที่ ส.ว. มีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ว่ามีผลกระทบต่อการดาเนินกระบวนการยุติธรรม อย่างร้ายแรง  ขอยกเว้นไม่แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชี รายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง เฉพาะเมื่อไม่อาจแต่งตั้งนายกฯจากบัญชีรายชื่อได้ ร่วมสร้างกติกาประชาธิปไตย ร่วมใจลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ