SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
การศึกษาค้นคว้าหลักเกณฑ์
และวิธีการรับรองสถาบันพยาบาล
โดยสภาการพยาบาล
กลุ่มที่ 3
นางสาว ปุณรดา พวงสมัย
นาง นพัตธร พฤกษาอนันตกาล
นางสาว ชนิภา ยอยืนยง
พันตารวจโทหญิง พรณภัช ชั้นแจ่ม
ร้อยตารวจเอก อภิสิทธิ์ ตามสัตย์
ข้อบังคับสภาการพยาบาล
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษา
วิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๗๗ ง หน้า ๕๑-๖๒
“สถาบันการศึกษา”
•หมายความว่า
โรงเรียน วิทยาลัย คณะวิชา สานักวิชา หรือสถานศึกษาที่
เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งทาการสอนตามหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาขอขึ้นทะเบียนและ
รับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตาม
กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และให้
หมายความรวมถึงสถาบันการศึกษาที่มายื่นขอเปิ ดดาเนินการใหม่ซึ่งยัง
ไม่เคยได้รับการรับรองสถาบันการศึกษาจากสภาการพยาบาลอย่าง
ต่อเนื่องทุกปี จนมีผู้สาเร็จการศึกษา
“สถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง”
• หมายความว่า
สถาบันการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการเปิ ดดาเนินการสอนหลักสูตร
การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี
และได้รับการรับรองสถาบันการศึกษาครั้งล่าสุดจากสภาการพยาบาลเป็ นระยะเวลาไม่
น้อยกว่า ๔ ปี อย่างต่อเนื่องที่ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง จนถึงวันที่มีการทา
ข้อตกลงกันระหว่างสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยงกับสถาบันการศึกษาที่ขอเปิ ดดาเนินการ
ใหม่ ทั้งนี้ ข้อตกลงระหว่างสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยงกับสถาบันการศึกษาที่ขอเปิ ด
ดาเนินการใหม่จะต้องมีระยะเวลาจนกว่าจะมีผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรรุ่นแรก
และสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง ๑ แห่ง สามารถทาข้อตกลงเป็ นสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง
ให้กับสถาบันการศึกษาที่จะขอเปิ ดดาเนินการใหม่ได้ไม่เกิน ๑ แห่ง
“หลักสูตร”
•หมายความว่า
หลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ระดับปริญญาตรี หรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา
ตรี
“ผู้บริหารสถาบันการศึกษา”
•หมายความว่า
คณบดี หรือผู้อานวยการ ของสถาบันการศึกษาการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือตาแหน่งอื่นที่เทียบเท่า
“ผู้บริหารสถาบันการศึกษาระดับรอง”
•หมายความว่า
อาจารย์พยาบาลประจาที่ดารงตาแหน่งรองคณบดี
หัวหน้าภาควิชา หรือรองผู้อานวยการ ของสถาบันการศึกษา
การพยาบาลและการผดุงครรภ์หรือตาแหน่งอื่นที่เทียบเท่า ที่
ทาหน้าที่ช่วยบริหารสถาบันการศึกษา
•สถาบันการศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนลักษณะอื่นใด
ที่แตกต่างจากที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง รวมถึงการ
จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งหลัก ที่สภาการพยาบาลได้ให้
การรับรองแล้วให้ดาเนินการเช่นเดียวกับสถาบันการศึกษา
ใหม่ ตามข้อบังคับนี้โดยอนุโลม เว้นแต่คณะกรรมการจะ
กาหนดเป็ นอย่างอื่น
หมวด ๑
สถาบันการศึกษา
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.
๒๕๕๖
แบ่งออกเป็ น ๑๐ หมวด
หมวด ๑ สถาบันการศึกษา
•ส่วน ๑ ภารกิจหลัก
•ส่วนที่ ๒ การจัดองค์กร
•ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ส่วน ๑ ภารกิจหลัก
ข้อ ๙ สถาบันการศึกษาต้องมีภารกิจหลักอย่างน้อย ๔
ภารกิจ ดังนี้
๙.๑ การเรียนการสอน
๙.๒ การวิจัย
๙.๓ การบริการวิชาการแก่สังคม
๙.๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ
ส่วนที่ ๒ การจัดองค์กร
ข้อ ๑๔ สถาบันการศึกษาต้องมีการจัดองค์กร ดังนี้
๑๔.๑ กาหนดปรัชญาหรือปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์
ของสถาบันการศึกษาไว้อย่างชัดเจนเพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงาน
๑๔.๒ วางแผนงานให้สอดคล้องกับปรัชญาหรือปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธ
กิจและวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษา มีการดาเนินงานตามแผน มีการ
ประเมินแผนงานและโครงการเป็ นระยะ ๆ รวมทั้งมีการปรับปรุง เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กาหนด และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
๑๔.๓ กาหนดโครงสร้างและระบบการบริหารงานที่สอดคล้องกับพันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๑๕ สถาบันการศึกษาต้องมีการบริหารงาน
ข้อ ๑๖ สถาบันการศึกษาต้องมีอาคารสถานที่ ที่ใช้เป็ นที่ตั้ง
สถาบันการศึกษาและเป็ นสัดส่วนและมีที่ทางานเป็ นการ
เฉพาะ เหมาะสม เพียงพอและจาเป็ นแก่การบริหารงาน ทั้งนี้
เพื่อเอื้ออานวยต่อการปฏิบัติภารกิจและเสริมสร้างคุณภาพ
ชีวิตที่ดี
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๑๗ สถาบันการศึกษาต้องมีงบประมาณของตนเอง มีแผนและการ
จัดสรรงบประมาณที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ มีการควบคุม ตรวจสอบ
และประเมินผลการใช้งบประมาณอย่างเป็ นระบบ
ข้อ ๑๘ สถาบันการศึกษาต้องมีบุคลากรจานวนเพียงพอตามลักษณะ
งานและมีการกาหนดลักษณะงาน ขอบข่ายงาน และอานาจหน้าที่ของ
บุคลากรแต่ละตาแหน่งอย่างชัดเจน มีระบบการสรรหาพัฒนาและดารง
รักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มีระบบการประเมิน
บุคคลที่ชัดเจนและเป็ นธรรม
ข้อ ๑๙ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาและผู้บริหารสถาบันการศึกษาระดับรอง
๑๙.๑ มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งที่ไม่
หมดอายุ
๑๙.๒ มีคุณธรรม จริยธรรม
๑๙.๓ ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษจาคุก
ในความผิดที่กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
๑๙.๔ ไม่เป็ นโรคต้องห้ามตามที่สภาการพยาบาลกาหนด
๑๙.๕ ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย
๑๙.๖ ไม่เป็ นคนวิกลจริต คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๐ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาต้องมีคุณสมบัติเฉพาะและ
ประสบการณ์
๒๐.๑ เป็ นอาจารย์พยาบาลประจาหรือบุคลากรพยาบาลประจา มีวุฒิการศึกษาไม่ต่า
กว่า
ปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การบริหาร การศึกษา หรือ มี
ตาแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ำรองศำสตรำจำรย์สำขำพยำบำลศำสตร์
๒๐.๒ มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี
๒๐.๓ ดารงตาแหน่งบริหารในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี
๒๐.๔ เป็ นผู้ปฏิบัติงานประจาเต็มเวลาของสถาบันการศึกษานั้น
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๑ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาระดับรอง ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ
และประสบการณ์ ดังนี้
๒๑.๑ เป็ นอาจารย์พยาบาลประจา มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่า
ปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การบริหาร
การศึกษา หรือ มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่าผู้ช่วย
ศาสตราจารย์สาขาพยาบาลศาสตร์
๒๑.๒ มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่
น้อยกว่า ๕ ปี
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๒ ผู้บริหารสถาบันการศึกษามีหน้าที่ ดังนี้
๒๒.๑ บริหารงานให้สอดคล้องกับปรัชญาหรือปณิธาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษา และตาม
ข้อบังคับนี้
๒๒.๒ จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลให้ความ
เห็นชอบหรือรับรอง
๒๒.๓ มีภาระงานสอน
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๓ อาจารย์พยาบาลประจาต้องมี
๒๓.๑ คุณสมบัติตามข้อ ๑๙.๒ - ๑๙.๖
๒๓.๒ มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง หรือ...
๒๓.๓ สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาโทสาขา
พยาบาลศาสตร์ หรือสาขาอื่น โดยต้องสาเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์
ข้อ ๒๓ อาจารย์พยาบาลประจาต้องมี
ทั้งนี้ถ้าสาเร็จการศึกษาสาขาอื่นที่ไม่ใช่สาขาพยาบาลศาสตร์
ต้องมีจานวนรวมไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจา
ทั้งหมด
๒๓.๔ มีประสบการณ์การปฏิบัติการพยาบาลมาแล้วไม่น้อยกว่า
๒ ปี และมีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลในสถาบันการศึกษา
พยาบาลมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี
กรณีที่ไม่มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลใน
สถาบันการศึกษาต้องผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอน
ทางการพยาบาล หรือหลักสูตรด้านการจัดการเรียนการสอนทางการ
พยาบาลที่เทียบเคียงได้ และสภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
ส่วนที่ ๓ การ
บริหารงานข้อ ๒๔ สถาบันการศึกษาต้องจัดอัตราส่วนและสัดส่วนวุฒิการศึกษาของอาจารย์
พยาบาลประจา ดังนี้
๒๔.๑ อัตราส่วนของอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (Full
Time Equivalence Student : FTES) ไม่เกิน ๑ : ๖ กรณี
สถาบันการศึกษาใหม่ อัตราส่วนของอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาไม่เกิน ๑ : ๘
๒๔.๒ อัตราส่วนอาจารย์พยาบาลประจาหรืออาจารย์พยาบาลพิเศษสอนภาคปฏิบัติ
ต่อนักศึกษาในการสอนแต่ละรายวิชาของภาคปฏิบัติ ไม่เกิน ๑ : ๘ โดยต้องมีอาจารย์
พยาบาลพิเศษไม่มากกว่าร้อยละ ๒๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจา
๒๔.๓ สัดส่วนวุฒิการศึกษาของอาจารย์พยาบาลประจา โดยระดับปริญญาเอกหรือ
เทียบเท่าต้องมีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจาทั้งหมด
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๕ สถาบันการศึกษาต้องกาหนดหน้าที่และจัดภาระงานสอน
ของอาจารย์พยาบาลประจา ดังนี้
๒๕.๑ กาหนดหน้าที่อาจารย์พยาบาลประจาตามพันธกิจ
หลักของสถาบันการศึกษาและปริมาณงานสอดคล้องตามที่
สถาบันการศึกษาประกาศกาหนดและมีการประเมินผลอย่าง
ต่อเนื่อง
๒๕.๒ ภาระงานด้านการสอนต้องไม่น้อยกว่า ๖ หน่วย
ชั่วโมงแต่ไม่เกิน ๑๒ หน่วยชั่วโมงต่อ ๑ สัปดาห์
ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
ข้อ ๒๖ สถาบันการศึกษาต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิการศึกษาอื่น
ๆ ตามความเหมาะสมและจาเป็ น
ข้อ ๒๗ สถาบันการศึกษาต้องมีงานบริหารหลักสูตรและการเรียน
การสอน โดยมีโครงสร้างระบบ แผนการบริหารหลักสูตรและการ
เรียนการสอนที่ชัดเจน มีการดาเนินงานและมีการประเมินผล
ข้อ ๒๘ สถาบันการศึกษาต้องมีระบบข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อ
การบริหาร การเรียนการสอนการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม
และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
หมวด ๒
การจัดการเรียนการสอน
หมวด ๒ การจัดการเรียนการสอน
•ส่วนที่ ๑ หลักสูตร
•ส่วนที่ ๒ อาคาร และสถานที่ศึกษา
•ส่วนที่ ๓ อุปกรณ์การศึกษา
หมวด ๓
การประกันคุณภาพ
หมวด ๓ การประกันคุณภาพ
ข้อ ๓๕ สถาบันการศึกษาต้องมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่สภาการพยาบาลให้
การรับรองและการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษา
ดังนี้
๓๕.๑ การประกันคุณภาพภายใน ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี และผลการประกัน
คุณภาพภายในอยู่ในระดับดี
๓๕.๒ การประเมินคุณภาพภายนอก ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และได้รับการรับรอง
คุณภาพการประเมินภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สม
ศ.)
๓๕.๓ การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับดีตาม
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์เป็ นอย่างน้อย
๓๕.๔ มีการนาผลการประเมินคุณภาพภายนอก และการประกันคุณภาพภายในไปใช้
ปรับปรุงคุณภาพสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน ครบถ้วน
หมวด ๔
นักศึกษา
หมวด ๔ นักศึกษา
ข้อ ๓๖ สถาบันการศึกษาต้องมีการจัดการหรือดาเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาและ
สนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา ดังนี้
๓๖.๑ มีระบบการคัดเลือกนักศึกษา ระบบการติดตามผลการศึกษาของ
นักศึกษาและการประเมินผลคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรอย่าง
ต่อเนื่อง
๓๖.๒ มีองค์กรนักศึกษา มีแผนการจัดกิจกรรมหรือโครงการ แผน
งบประมาณสนับสนุน การพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมสุขภาพและผลการเรียนรู้
ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์
หมวด ๕
การขอรับรองสถาบันการศึกษา
หมวด ๕ การขอรับรองสถาบันการศึกษา
•ส่วนที่ ๑ คุณสมบัติผู้ขอรับรองสถาบันการศึกษา
•ส่วนที่ ๒ การยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษา
•ส่วนที่ ๓ การพิจารณาและการแจ้งผลการรับรอง
สถาบันการศึกษา
การแจ้งผลการรับรอง หรือไม่รับรองสถาบันการศึกษา ให้
เลขาธิการแจ้งให้ผู้ยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษาทราบภายใน
๑๒๐ วัน นับแต่วันที่สภาการพยาบาลได้รับคาขอพร้อมหลักฐาน
ครบถ้วนตามที่กาหนด
หมวด ๖
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ
สถาบันการศึกษา
หมวด ๗
การติดตามผลหลังการรับรอง
สถาบันการศึกษา
หมวด ๘
การเพิกถอนการรับรอง
สถาบันการศึกษา
หมวด ๙
ค่าธรรมเนียม
หมวด ๙ ค่าธรรมเนียม
ข้อ ๕๑ ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ดังนี้
๕๑.๑ การรับรองสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๔๐,๐๐๐ บาท
๕๑.๒ การรับรองสถาบันการศึกษาใหม่ ครั้งละ ๗๐,๐๐๐ บาท
๕๑.๓ การตรวจเยี่ยมและประเมินสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๓๐,๐๐๐ บาท
๕๑.๔ การตรวจเยี่ยมและประเมินสถาบันการศึกษาใหม่ ครั้งละ ๕๐,๐๐๐
บาท
๕๑.๕ การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๑๐,๐๐๐ บาท
หมวด ๑๐
บทเฉพาะกาล
หมวด ๑๐ บทเฉพาะกาล
ข้อ ๕๒ สถาบันการศึกษาใดที่สภาการพยาบาลรับรองและมีอาจารย์พยาบาลประจาที่สาเร็จ
การศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาโทสาขาอื่น และสภาการพยาบาลเคยให้การรับรองว่าเป็ น
อาจารย์พยาบาลประจา และสถาบันการศึกษานั้นยังเปิ ดดาเนินการต่อเนื่องจนถึงวันที่ข้อบังคับนี้มี
ผลใช้บังคับให้ถือว่าสถาบันการศึกษานั้นมีอาจารย์พยาบาลประจาตามข้อบังคับนี้
ข้อ ๕๓ สถาบันการศึกษาใดที่คณะกรรมการได้ให้การรับรองสถาบันการศึกษาก่อนหรือในวันที่
ข้อบังคับนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าสถาบันการศึกษานั้นได้รับรองสถาบันการศึกษาตามข้อบังคับนี้
ต่อไปจนกว่าจะสิ้นสุดระยะเวลาที่คณะกรรมการได้ให้การรับรองแล้ว
ข้อ ๕๔ สถาบันการศึกษาที่ได้ยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษาไว้ก่อนหรือในวันที่ข้อบังคับนี้ มีผล
ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนินการตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยหลักเกณฑ์
การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๓ ต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ หรือจะให้ผู้ยื่นคาขอปรับปรุงแก้ไขให้เป็ นไปตามข้อบังคับ
นี้ก็ได้
การรับรองสถาบันการศึกษา
วิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หลักการและแนวคิด
1. การรับรองสถาบันการศึกษาเป็ นกระบวนการพิจารณาการจัด
การศึกษา
2. โดยวิธีการตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง การตรวจ
เยี่ยม การประเมินคุณภาพสถาบันการศึกษา เพื่อตรวจสอบ
ยืนยันสภาพจริงในการดาเนินงานของสถาบันการศึกษา
พยาบาล ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสิทธิในการขอขึ้น
ทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หลักการและแนวคิด
2. องค์ประกอบของคณะผู้ประเมิน
- มีประสบการณ์ด้านการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
- จานวนไม่น้อยกว่า 3 คน
- ได้รับการแต่งตั้งจากสภาการพยาบาล
- คณะผู้ประเมินต้องเป็ นผู้ที่อยู่ต่างสถาบัน หรือไม่อยู่ในสถาบัน
สมทบหรือสถาบันรับสมทบ หรือเป็ นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถาบันที่ขอ
รับรองสถาบัน
หลักการและแนวคิด
3. ในการดาเนินการรับรองสถาบันการศึกษา คณะผู้ประเมิน
ต้องใช้ความเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ (professional
judgment) ในการศึกษา วิเคราะห์รายงานของ
สถาบันการศึกษาที่ขอรับการประเมินตามเกณฑ์ที่สภาการ
พยาบาลกาหนดและแสวงหาส่วนที่เป็ นจุดเด่น จุดที่ควร
พัฒนาของสถาบันการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางใน
การพัฒนา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดี
ยิ่งๆขึ้น
หลักการและแนวคิด
4. คณะผู้ประเมินต้องเข้าใจสถาบันการศึกษาที่จะประเมิน
เป็ นอย่างดีปราศจากอคติต่อสถาบันดาเนินการตรวจเยี่ยม
โดยยึดหลักกัลยาณมิตรเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนภาพความ
จริงที่เกิดขึ้นในสถาบันการศึกษานั้นและใช้ข้อมูลทั้งเชิง
ปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อประกอบการตัดสินใจ
หลักการและแนวคิด
5. ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ
มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริง (evidence-
based) และมี ความรับผิ ดชอบที่ ตรวจสอบได้
(accountability) ในการประเมินทุกครั้ง
6. ดาเนินการรับรองสถาบันตามขั้นตอนให้แล้วเสร็จภายใน
กรอบเวลาที่กาหนด ทั้งนี้เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ที่
เกี่ยวข้อง
กระบวนการตรวจเยี่ยม
สถาบันการศึกษา
กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
1. สภาการพยาบาลจะประสานกับสถาบันการศึกษาให้จัดเตรียม
เอกสารต่าง ๆ และสถานที่ที่คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะสามารถทางาน
และประชุมปรึกษาหารือกันอย่างเป็ นอิสระและไม่รบกวนผู้อื่นใน
ระหว่างการตรวจเยี่ยม รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ทั้งในส่วนที่
ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าและส่วนที่อาจขอเพิ่มเติม ตลอดจนนัดหมาย
ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต/นักศึกษา
แหล่งฝึ กงาน เป็ นต้น เพื่อให้คณะผู้ตรวจเยี่ยมสัมภาษณ์ตาม
กาหนดการในตารางการปฏิบัติงานของคณะผู้ตรวจเยี่ยม
กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
2. คณะผู้ตรวจเยี่ยมทาการศึกษารวบรวมข้อมูลจากรายงาน
การประเมินตนเองของสถาบันฯนั้น และเอกสารรายงานอื่นๆ
ซึ่งสถาบันฯได้จัดส่งมาล่วงหน้า
3. คณะผู้ตรวจเยี่ยมศึกษาวิเคราะห์รายงานการประเมิน
ตนเองของสถาบันฯ ตามมาตรฐานตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ
ประเมินของสภาการพยาบาล
กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
4. คณะผู้ตรวจเยี่ยมประชุมปรึกษา กาหนดประเด็นและรายการ
ข้อมูลที่จะต้องตรวจสอบและรวบรวมแหล่งข้อมูล วิธีการรวบรวม
ข้อมูลระหว่างการตรวจเยี่ยม ทั้งนี้เพื่อให้มีหลักฐานครบถ้วน
เพียงพอในการสรุปผลการประเมินอย่างถูกต้องชัดเจน
5. คณะผู้ตรวจเยี่ยมร่วมกันวางแผนการตรวจเยี่ยมและแผนการ
ประเมิน กาหนดตารางการปฏิบัติงาน และมอบหมายภาระงานที่
ชัดเจนให้ผู้ตรวจเยี่ยมแต่ละคน
กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
ทั้งนี้ การดาเนินการทั้งหมดในการพิจารณาการรับรอง
สถาบันการศึกษา นับจากวันที่สภาการพยาบาลได้รับเอกสาร
จนกระทั่งแจ้งให้สถาบันฯทราบผลการรับรอง ต้องเสร็จสิ้น
ภายใน 120 วัน
ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
1. คณะผู้ตรวจเยี่ยมเดินทางไปยังสถาบันฯตามกาหนดนัดหมายกับสถาบันฯ
ซึ่งกาหนดเวลาการตรวจเยี่ยมสถาบันฯ หนึ่ง ไม่น้อยกว่า 2 วัน เมื่อเดินทางไป
ถึงสถาบันฯ ในวันแรกให้มีการประชุมผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันฯเพื่อให้
รับทราบกระบวนการและวัตถุประสงค์ของการตรวจเยี่ยม ซึ่งมุ่งเน้นความ
ร่วมมือในการพัฒนาปรับปรุงสถาบันฯ และสร้างความเข้าใจระหว่างคณะตรวจ
เยี่ยมกับผู้บริหารและบุคลากรสถาบันฯ รวมทั้งเพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับแผน
และตารางการปฏิบัติงานของคณะผู้ตรวจเยี่ยม และการปฏิบัติตนของสถาบันฯ
ระหว่างการตรวจเยี่ยม ในการประชุมจะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิ ด
โอกาสให้ทั้งสถาบันการศึกษาฯ และผู้ตรวจเยี่ยมได้ซักถามเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจตรงกัน
ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
2. ระหว่างการตรวจเยี่ยม คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะประเมินคุณภาพสถาบัน
ฯตามขอบข่ายและประเด็นที่กาหนดไว้ตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลที่เป็ นผลการดาเนินงานจากเอกสารต่างๆ ตามที่สถาบันฯส่งให้
สภาการพยาบาล รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ ที่สะท้อนสภาพความเป็ นจริง
อื่นๆ ของสถาบันฯ การรวบรวมข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติมเพื่อการประเมิน
คุณภาพอาจใช้วิธีที่หลากหลายทั้งการสุ่มตัวอย่าง การสังเกตการเรียน
การสอน การสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรรมการสถาบัน
กรรมการประจาคณะ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต/นักศึกษา
ศิษย์เก่า ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ เป็ นต้น
ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
3. เมื่อได้ข้อมูลครบถ้วนแล้ว คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะนาข้อค้นพบ
หรือข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาอภิปรายร่วมกัน เพื่อวิเคราะห์สรุปผลการ
ตรวจเยี่ยมและข้อเสนอแนะ
4. นาเสนอผลการตรวจเยี่ยมเบื้องต้นและข้อสังเกตต่อผู้บริหาร
สถาบันฯด้วยวาจา เพื่อรับฟังความคิดเห็นและตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลต่างๆ และให้โอกาสสถาบันฯชี้แจงในกรณีที่
สถาบันฯ เห็นว่าข้อสังเกตยังไม่ถูกต้องไม่ชัดเจน หรือไม่
ครอบคลุมบางประเด็น
ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา
คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะไม่เสนอคะแนนหรือจานวนปี ที่ให้
การรับรองแก่สถาบันการศึกษา เพราะอยู่นอกเหนือหน้าที่
ของคณะผู้ตรวจเยี่ยม ซึ่งคณะกรรมการสภาการพยาบาลจะ
เป็ นผู้พิ จารณาให้ความเห็ นชอบผลก ารรับรอง
สถาบันการศึกษา
การเตรียมเอกสารเพื่อขอรับรองของสถาบันการศึกษา
สถาบันการศึกษาที่จะขอรับการรับรองสถาบันการศึกษา ให้จัดเตรียม
เอกสารดังนี้
1. เอกสารการประเมินตนเอง ให้จัดทาเอกสารตามแนวทางการเขียนรายงาน
การประเมินตนเองเพื่อการขอรับรองสถาบันการศึกษาจากสภาการพยาบาล
2. ข้อมูลพื้นฐานของสถาบัน (ตามแบบฟอร์ม)
3. เอกสาร/หลักฐานประกอบแต่ละตัวบ่งชี้
4. การนับจานวนตัวบ่งชี้ ให้นับตามระยะเวลา ดังนี้
4.1 การจัดการเรียนการสอน นับตามปี การศึกษา
4.2 งานวิจัย นับตามปี ปฏิทิน
4.3 งบประมาณ นับตามปี งบประมาณ
มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร
•ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารองค์กร
1) มีระบบบริหารงานที่สอดคล้องกับพันธกิจสถาบันการศึกษา
2) มีแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานประจาปี
3) ผู้บริหารระดับรอง มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วย
หลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.
2556 ข้อ 19 และข้อ 21 และมีภาระงานสอนไม่เกิน 8 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
ต่อปี การศึกษา
4) มีแผนการจัดสรรงบประมาณอย่างครอบคลุมทุกพันธกิจ
5) มีการวิเคราะห์ ประเมินการใช้งบประมาณครอบคลุมทุกพันธกิจและนาผลการ
ประเมินไปใช้วางแผนงบประมาณในปี ต่อไป
มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร
•ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณสมบัติผู้บริหารสถาบันการศึกษาพยาบาล (เกณฑ์
สาคัญ)
1) มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ที่ไม่
หมดอายุ/ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ที่ไม่หมดอายุ ในกรณีที่สภาการ
พยาบาลเคยให้การรับรองแล้ว
2) วุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การ
บริหาร การศึกษา หรือมีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์สาขา
พยาบาลศาสตร์
3) มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
4) ดารงตาแหน่งบริหารในสถาบันการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี
5) มีภาระงานสอนไม่เกิน 3 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์ต่อปี การศึกษา
มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร
•ตัวบ่งชี้ที่ 3 ระบบบริหารความเสี่ยง ผลการดาเนินงาน
1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง
2) มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยงที่สาคัญขององค์กรและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงตาม
บริบทของสถาบัน
3) มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและมีการจัดทาแผนจัดการความเสี่ยงที่
สาคัญขององค์กร
4) มีการดาเนินงาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนและรายงานต่อ
คณะกรรมการประจาคณะหรือคณะกรรมการที่เทียบเท่าเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
5) มีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจาคณะหรือคณะกรรมการที่
เทียบเท่าไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปี ถัดไป
มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร
•ตัวบ่งชี้ที่ 4 ระบบสารสนเทศ (เกณฑ์สาคัญ)
มีระบบสารสนเทศทุกด้าน
1) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการบริหาร
1.1) ระบบสารสนเทศด้านการเงินการงบประมาณ
1.2) ระบบสารสนเทศบริหารงานบุคคล
1.3) ระบบสารสนเทศด้านครุภัณฑ์
2) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการเรียนการสอน
3) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการวิจัย
4) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการบริการวิชาการ
5) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการทานุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 5 คุณสมบัติอาจารย์พยาบาลประจา
1) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
หรือใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง และบัตร
สมาชิกสภาการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ
2) สาเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโทสาขาพยาบาลศาสตร์หรือ
สาขาอื่น โดยต้องสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์
ในกรณีที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่ไม่ใช่สาขา
พยาบาลศาสตร์ ต้องมีตาแหน่งทางวิชาการไม่น้อยกว่าผู้ช่วย
ศาสตราจารย์สาขาพยาบาลศาสตร์
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 5 คุณสมบัติอาจารย์พยาบาลประจา (ต่อ)
3) มีประสบการณ์การปฏิบัติการพยาบาล ไม่น้อยกว่า 2 ปี
4) มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติในสถาบันการศึกษาพยาบาลอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี
กรณีที่ไม่มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลในสถาบันการศึกษา
ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอนทางการพยาบาล
หรือหลักสูตรด้านการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่เทียบเคียง
ได้ และสภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 6 คุณวุฒิอาจารย์พยาบาลประจา
ร้อยละของอาจารย์พยาบาลประจาที่มีคุณวุฒิปริญญา
เอก
ในทุกสาขาไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 และปริญญาโทไม่น้อย
กว่าร้อยละ 65
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 7 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อ
นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (เกณฑ์สาคัญ)
อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาล ประจาต่อ นักศึกษา
เต็มเวลาเทียบเท่า ไม่เกิน 1 : 6
คะแนน FTES ไม่นับจุดทศนิยม
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ 8 ภาระงานสอนของอาจารย์พยาบาลประจา
1) มีภาระงานสอนภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา
ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา แต่ไม่เกิน 12
หน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา โดยรวมภาระงานสอนตลอดปี
การศึกษาของทุกรายวิชาทั้งภาคทฤษฎี ภาคทดลองและภาคปฏิบัติ
ของทุกหลักสูตรที่เปิ ดสอนในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา
พยาบาลและการผดุงครรภ์ที่ขอรับรองที่มีระยะเวลาการศึกษาตั้งแต่
2 ปี ขึ้นไปโดยเฉลี่ยเป็ นหน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
ในตัวบ่งชี้ที่ 8 ภาระงานสอนของอาจารย์พยาบาลประจา
คาอธิบาย
1) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ ระดับปริญญาโท =
30/10 ชั่วโมงปฏิบัติงาน/นักศึกษา 1 คน/ครั้ง
2) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก = 45 ชั่วโมง
ปฏิบัติงาน/นักศึกษา1คน/ครั้ง
3) สัดส่วนภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์หลักและวิทยานิพนธ์ร่วม = 2:1
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
4) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์ ดังนี้
4.1) ปริญญาโท คิดให้จานวน 2 ครั้ง
- ครั้งที่ 1 เมื่อสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
- ครั้งที่ 2 เมื่อสอบป้ องกันวิทยานิพนธ์
4.2) ปริญญาเอก คิดให้จานวน 4 ครั้ง
- ครั้งที่ 1 เมื่อสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
- ครั้งที่ 2 และ 3 จานวน 2 ครั้ง ในภาคการศึกษาปกติ (ไม่คิดในภาคฤดูร้อน)
- ครั้งที่ 4 เมื่อสอบป้ องกันวิทยานิพนธ์
ในกรณีที่มีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมมากกว่า 1 คน ให้นาจานวนหน่วยชั่วโมงของอาจารย์ที่
ปรึกษาร่วมหารด้วยจานวนอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 9 การพัฒนาอาจารย์
1) อาจารย์พยาบาลใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศและคาแนะนาด้าน
การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการอย่างเป็ น
ระบบ
2) อาจารย์พยาบาลประจาที่ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 9 เดือนทุกคน
ได้รับการพัฒนาทั้งในและนอกสถาบันการศึกษาของตนเองในด้าน
วิชาการและวิชาชีพไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อปี การศึกษาย้อนหลัง 3
ปี
มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์
•ตัวบ่งชี้ที่ 10 การประเมินผลการสอนของอาจารย์
1) มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ทุกคนโดยนักศึกษา และผู้รับผิดชอบวิชา/
ผู้บังคับบัญชา/เพื่อนอาจารย์
2) อาจารย์จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนอาจารย์พยาบาลทั้งหมด มีผล
การประเมินโดยนักศึกษาอยู่ในระดับคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม
5.00
3) อาจารย์จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนอาจารย์พยาบาลทั้งหมด มีผล
การประเมินโดยผู้รับผิดชอบวิชา/ผู้บังคับบัญชา/เพื่อนอาจารย์อยู่ในระดับคะแนน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม5.00
4) ใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างชัดเจน
มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ
สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
• ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารหลักสูตร (เกณฑ์สาคัญ)
1) ใช้หลักสูตรที่ได้มาตรฐานที่มีการปรับปรุงอย่างน้อยทุก5 ปี
2) มีระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร
3) มีแผนการจัดการศึกษาและแผนการฝึกภาคปฏิบัติทุกชั้นปี ตลอดหลักสูตรและมี
การดาเนินการตามแผน
4) มีการเผยแพร่หลักสูตรและรายละเอียดรายวิชาที่มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ให้แก่อาจารย์ที่เกี่ยวข้องและนักศึกษาล่วงหน้าทุกรายวิชา
5) มีผลการประเมินตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามที่กาหนดใน มคอ. 2 อยู่ในระดับดี
ทุกปี
มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ
สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
•ตัวบ่งชี้ที่ 12 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่
ต่อคุณภาพหลักสูตร
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่
ต่อคุณภาพหลักสูตร
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกาหนดคะแนนเต็ม 5 เท่ากับ 5
คะแนน
มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ
สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
•ตัวบ่งชี้ที่ 13 แผนการสอนรายวิชาในหมวดวิชาชีพ (เกณฑ์
สาคัญ)
มีแผนการสอนที่สมบูรณ์ทุกหน่วยการเรียนทุกรายวิชาใน
หมวดวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่นาไปใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนในปี การศึกษาสุดท้ายที่ได้รับการรับรอง
สถาบันการศึกษา
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดให้แผนการสอนที่
สมบูรณ์ ร้อยละ 100 เท่ากับ 10 คะแนน
มาตรฐานที่ 4 ด้านนิสิต/นักศึกษาและการพัฒนา
•ตัวบ่งชี้ที่ 14 การพัฒนานักศึกษา
1) มีแผนงานและโครงการพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา
พยาบาลศาสตร์ทุกด้านตามเกณฑ์ สกอ. และตามอัตลักษณ์ของสถาบัน โดยมีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนา
นักศึกษาที่เพียงพอทุกด้าน
2) มีการพัฒนานักศึกษาตามแผนโดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนา
3) มีองค์กรนักศึกษาและมีสถานที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
4) นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างเป็ นระบบ
(PDCA)
5) ผลความพึงพอใจต่อกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาของนักศึกษาจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ
กิจกรรม/โครงการ อยู่ในระดับคะแนนไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
6) มีการประเมินแผนงานพัฒนานักศึกษาและนาผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุง
มาตรฐานที่ 4 ด้านนิสิต/นักศึกษาและการพัฒนา
•ตัวบ่งชี้ที่ 15 ระบบการดูแลและให้คาปรึกษานักศึกษา
1) มีระบบการดูแลและให้คาปรึกษาที่นักศึกษาสามารถขอคาปรึกษา/
ช่วยเหลือได้สะดวกรวดเร็ว
2) มีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบชัดเจน
3) มีแนวปฏิบัติการรักษาความลับข้อมูลนักศึกษา
4) มีการรายงานความก้าวหน้าผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและการ
พัฒนานักศึกษาตามประเด็น/ปัญหาความต้องการของนักศึกษา (ถ้า
นักศึกษามีปัญหา) ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทุกภาคการศึกษา
5) มีระบบรับเรื่องอุทธรณ์และร้องเรียนจากนักศึกษา
มาตรฐานที่ 5 ด้านแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล
•ตัวบ่งชี้ที่ 16 แหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล
1) มีแหล่งฝึกปฏิบัติงานหลักที่ให้บริการพยาบาลครอบคลุมทุกสาขาและได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน
ระดับชาติ
2) มีแหล่งฝึกปฏิบัติงานครอบคลุมทุกระดับ ทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิและมีการจัดการการฝึกปฏิบัติ
ร่วมกับแหล่งฝึก
3) แหล่งฝึกปฏิบัติมีจานวนผู้ใช้บริการเพียงพอสาหรับการเรียนรู้ของนักศึกษา และมีแผนการจัดการสาหรับ
แหล่งฝึกปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันหลายสถาบัน
4) แหล่งฝึกปฏิบัติและสถาบันการศึกษา มีระบบการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับนักศึกษาในการฝึก
ปฏิบัติงาน
5) มีการประเมินการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติและแหล่งฝึกปฏิบัติร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษาและ
แหล่งฝึกปฏิบัติทุกรายวิชาภาคปฏิบัติและนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 5 ด้านแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล
•ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อ
นักศึกษาในการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ (เกณฑ์สาคัญ)
1) อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาหรืออาจารย์พยาบาล
พิเศษสอนภาคปฏิบัติต่อนักศึกษาในการสอนแต่ละรายวิชาของ
ภาคปฏิบัติ ไม่เกิน 1 : 8 ในทุกรายวิชา
2) อาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติ ( ถ้ามี) ไม่มากกว่าร้อยละ 25
ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจาในแต่ละรายวิชา
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
ในตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน
ภาคปฏิบัติ
คาอธิบาย
อาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติ หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอน
ภาคปฏิบัติที่มี
คุณสมบัติ ดังนี้
1) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
2) มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ดังนี้
2.1) ปริญญาโท/ปริญญาเอกทางการพยาบาล หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพและมี
ประสบการณ์การปฏิบัติงานพยาบาลไม่น้อยกว่า 1 ปี
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
2.2) ปริญญาโท/ปริญญาเอกสาขาอื่น และมีประสบการณ์การ
ปฏิบัติงานพยาบาลไม่น้อยกว่า 2 ปี
2.3) ปริญญาตรีหรือประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตและมี
ประสบการณ์การปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3 ปี
3) เป็ นพยาบาลประจาการหรือพยาบาลที่ไม่ประจาการในหอผู้ป่ วยและปฏิบัติงาน
หรือไม่ปฏิบัติงานประจาในขณะสอนภาคปฏิบัติและมีประสบการณ์ตรงในสาขาที่สอน
4) ผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอนทางการพยาบาล หรือหลักสูตร
ด้านการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่เทียบเคียงได้และสภาการพยาบาลให้
ความเห็นชอบ หรือหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสาหรับ
พยาบาลพี่เลี้ยงที่สภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ
หลักสูตร•ตัวบ่งชี้ที่ 18 ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านครั้งแรก (เกณฑ์สาคัญ)
ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในครั้งแรก ของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละปี นับ
จากปี สุดท้ายที่ได้รับการรับรองสถาบันย้อนหลัง 3 ปี ร้อยละ 100
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดผู้สอบผ่านครั้งแรก ร้อยละ 100
เท่ากับ 15 คะแนน คะแนนที่คานวณได้ ไม่มีการปัดทศนิยม
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
ในตัวบ่งชี้ที่ 18 ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนและรับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในปี
แรก
เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในปี แรกของจานวน
ผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละปี นับจากปี สุดท้ายที่ได้รับการรับรอง
สถาบันย้อนหลัง 3 ปี ร้อยละ 100
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
คาอธิบาย
ผู้สอบผ่านในปี แรก หมายถึง ผู้สาเร็จการศึกษาที่สอบ
ความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ในปี แรก โดยรวมการสอบทุกครั้ง
ของผู้เข้าสอบทั้งหมดตลอดปี นับจากปี สุดท้ายที่ได้รับการ
รับรองสถาบันย้อนหลัง 3 ปี
มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ
หลักสูตร
•ตัวบ่งชี้ที่ 19 ผลการประเมินการเรียนรู้ตามมาตรฐาน 6 ด้าน
ของบัณฑิตโดยผู้ใช้บัณฑิต
ผลการประเมินผลการเรียนรู้ของบัณฑิตโดยผู้ใช้บัณฑิตครบ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของ
จานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดย ประเมินภายหลังสาเร็จ
การศึกษาอย่างน้อย 1 ปี
ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินผลการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ
หลักสูตร
•ตัวบ่งชี้ที่ 20 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา
ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาเทียบจากจานวนนักศึกษา
ลงทะเบียนเรียนปี 1 หลังการสิ้นสุดวันเพิ่มหรือถอนรายวิชาตาม
ระเบียบของสถาบันการศึกษา ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษาร้อยละ
95
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกาหนด ผู้สาเร็จการศึกษาร้อย
ละ 95 เท่ากับ 5 คะแนน
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
ในตัวบ่งชี้ที่ 20 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาเทียบจากจานวนนักศึกษาที่
ลงทะเบียนเรียนปี 1 หลังการสิ้นสุดวันเพิ่มหรือถอนรายวิชาตาม
ระเบียบของสถาบันการศึกษาฯ ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษาร้อยละ
90
มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ
หลักสูตร
•ตัวบ่งชี้ที่ 21 การประเมินคุณภาพภายในขอสถาบันการศึกษา
(เกณฑ์สาคัญ)
1) ผลการประเมินภายในสถาบันการศึกษาตามมาตรฐาน
สถาบันการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.) กาหนดอยู่ในระดับดี คะแนนตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป
2) มีการนาผลการประเมินไปพัฒนา/ปรับปรุงการดาเนิน
งานของสถาบันอย่างชัดเจน
มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม
และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
•ตัวบ่งชี้ที่ 22 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่ออาจารย์พยาบาล
ประจาทั้งหมด (เกณฑ์สาคัญ)
กาหนดระดับคุณภาพจานวนของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
โดย
อาจารย์ในสถาบันนั้นๆ อย่างน้อยร้อยละ 20 เฉลี่ย 3 ปี
ย้อนหลัง
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์
เผยแพร่ ร้อยละ 20 เท่ากับ 15 คะแนน
คะแนนที่ได้ไม่เกินคะแนนเต็ม 15 คะแนน
จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558)
ในตัวบ่งชี้ที่ 22 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่ออาจารย์พยาบาลประจาทั้งหมด
เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
ค่าน้าหนัก 0.25 : มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
(proceedings) ระดับชาติ/นานาชาติ/ การตีพิมพ์
ในวารสารวิชาการ
ระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI) กลุ่ม 3
ค่าน้าหนัก 0.50 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI)
กลุ่ม 2
ค่าน้าหนัก 0.75 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI)
กลุ่ม 1
ค่าน้าหนัก 1.00 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม
และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
•ตัวบ่งชี้ที่ 23 ผลงานวิชาการ (เกณฑ์สาคัญ)
จานวนผลงานวิชาการในลักษณะตารา หนังสือ หรือบทความ
ทางวิชาการ อย่างน้อยร้อยละ 10 ของจานวนอาจารย์พยาบาล
ประจาทั้งหมด เฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดผลรวมถ่วงน้าหนักของ
ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพเฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 10 เท่ากับ
10 คะแนน
คะแนนที่ได้ไม่เกินคะแนนเต็ม 10 คะแนน
ตารา/หนังสือนับเป็ นจานวนเล่ม โดยอาจารย์ไม่จาเป็ นต้องเขียนทั้งเล่ม
มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม
และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
•ตัวบ่งชี้ที่ 24 การบริการวิชาการ
1) มีแผนบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพหรือที่เกี่ยวข้องของสถาบันการศึกษา และมี
งบประมาณที่สนับสนุนอย่างเพียงพอ
2) มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนอย่างเป็ นระบบ (โครงการของสถาบัน
ที่ปรากฏในแผน)
3) มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับงานวิจัยอย่างเป็ นระบบ
4) มีการประเมินผลการดาเนินงาน และนาผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนากิจกรรม/
โครงการ
5) ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม
และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
•ตัวบ่งชี้ที่ 25 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญา
ไทย
1) มีแผนและโครงการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทย
2) มีการบูรณาการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทยมาใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนอย่างเป็ นระบบ
3) มีการบูรณาการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทยมาใช้ในกิจกรรมเสริม
หลักสูตรและการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็ นระบบ
4) มีการประเมินผลการดาเนินงานและนาผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนากิจกรรม/
โครงการ
5) ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายของแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุนด้านทรัพยากรทาง
การศึกษา
•ตัวบ่งชี้ที่ 26 บุคลากรสายสนับสนุน
1) มีการกาหนดลักษณะงาน /ขอบเขตงานทุกตาแหน่ง
2) มีแผนอัตรากาลังและมีระบบสรรหาและปฐมนิเทศบุคลากรใหม่
3) มีระบบการรักษาบุคลากรอย่างชัดเจนและมีการพัฒนาบุคลากรทุกคนอย่าง
ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 10 ชม./คน/ปี
4) มีการประเมินบุคลากรอย่างเป็ นระบบ
5) มีบุคลากรสนับสนุนอย่างน้อยในด้านโสตทัศนูปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาการ ห้องปฏิบัติการพยาบาลและเจ้าหน้าที่การเงินในจานวนที่เหมาะสม
•ตัวบ่งชี้ที่ 27 การจัดการทรัพยากรการศึกษา
1) มีอาคารเรียน ห้องเรียนจานวนเพียงพอเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีทุกรูปแบบของ
การสอนที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
2) ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพมีอุปกรณ์เพียงพอ พร้อมใช้ และเหมาะสมกับ
การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกาหนด และมีผู้รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง
3) มีเครื่องโสตทัศนูปกรณ์เพียงพอ ทันสมัย และพร้อมใช้ตลอดเวลา
4) ห้องปฏิบัติงานเหมาะสมต่อการปฏิบัติงานของ อาจารย์และบุคลากร
5) มีสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (healthy
workplace) ของนักศึกษา อาจารย์และบุคลากร
6) นักศึกษาและอาจารย์มีส่วนร่วมในการวางแผนความต้องการและประเมินการใช้ทรัพยากรการศึกษา
มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการ
สนับสนุนด้านทรัพยากรทางการศึกษา
มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุน
ด้านทรัพยากรทางการศึกษา
•ตัวบ่งชี้ที่ 28 ห้องปฏิบัติการพยาบาล
1) มีห้องปฏิบัติการพยาบาลที่มีอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติการพยาบาลสอดคล้องกับการปฏิบัติใน
สถานการณ์จริงทุกสาขาในจานวนที่เพียงพอ พร้อมใช้ และทันสมัย
2) มีตารางการใช้ห้องปฏิบัติการ และคู่มือการใช้ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้
3) มีระบบการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา
4) มีบุคลากรสายสนับสนุนช่วยในห้องปฏิบัติการพยาบาลในจานวนที่เหมาะสม
5) มีการนาผลการประเมินการใช้ห้องปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาและอาจารย์มาใช้ในการ
พัฒนา
ห้องปฏิบัติการ
มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุน
ด้านทรัพยากรทางการศึกษา
•ตัวบ่งชี้ที่ 29 หนังสือ ตารา วารสารวิชาชีพ และระบบสืบค้น
1) มีหนังสือหรือตาราหลักทางการพยาบาลไม่น้อยกว่า 10 ชื่อเรื่องต่อ
สาขาวิชาใน 5 สาขาวิชาหลักที่ปรากฏใน มคอ.3 และ มคอ.4 ของแต่ละ
รายวิชา
2) มีหนังสือทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพไม่น้อยกว่า 50 เล่มต่อ
นักศึกษา 1 คน ในกรณีที่มีฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เข้าถึงได้ง่าย ให้
มีหนังสือไม่น้อยกว่า 30 เล่ม ต่อนักศึกษา 1 คน
3) มีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลในประเทศ ไม่น้อยกว่า 10 ชื่อเรื่องอย่าง
ต่อเนื่อง
•ตัวบ่งชี้ที่ 29 หนังสือ ตารา วารสารวิชาชีพ และระบบสืบค้น
(ต่อ)
4) มีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลของต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 5 ชื่อเรื่อง
อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมอย่างน้อย 5 สาขาหลักทางการพยาบาล (กำร
พยำบำลชุมชน กำรพยำบำลเด็ก กำรพยำบำลผู้ใหญ่ กำรพยำบำลจิตเวช
และสุขภำพจิตและกำรพยำบำลมำรดำทำรก)และมีฐานข้อมูลวารสาร
ออนไลน์ที่อาจารย์และนักศึกษาสามารถสืบค้นได้อย่างสะดวก ในกรณีไม่มี
ฐานข้อมูลวารสารออนไลน์ที่อาจารย์และนักศึกษาสามารถสืบค้นได้อย่าง
สะดวกต้องมีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลของต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 10
ชื่อเรื่องอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกสาขาวิชาหลักทางการพยาบาลเป็ นอย่าง
น้อย
5) มีระบบการเข้าถึงข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
คะแนนตัวบ่งชี้
สาคัญ
120 คะแนน
(ค่าน้าหนัก
คะแนนร้อยละ
70)
คะแนนตัวบ่งชี้ทั่วไป
120 คะแนน
(ค่าน้าหนักคะแนนร้อยละ 30)
คะแนนตัวบ่งชี้
ทั่วไป
120 คะแนน
(ค่าน้าหนักคะแนน
ร้อยละ 30)
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858

More Related Content

Viewers also liked

Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 

Viewers also liked (10)

Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 

การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858

  • 1. การศึกษาค้นคว้าหลักเกณฑ์ และวิธีการรับรองสถาบันพยาบาล โดยสภาการพยาบาล กลุ่มที่ 3 นางสาว ปุณรดา พวงสมัย นาง นพัตธร พฤกษาอนันตกาล นางสาว ชนิภา ยอยืนยง พันตารวจโทหญิง พรณภัช ชั้นแจ่ม ร้อยตารวจเอก อภิสิทธิ์ ตามสัตย์
  • 3. “สถาบันการศึกษา” •หมายความว่า โรงเรียน วิทยาลัย คณะวิชา สานักวิชา หรือสถานศึกษาที่ เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งทาการสอนตามหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาขอขึ้นทะเบียนและ รับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และให้ หมายความรวมถึงสถาบันการศึกษาที่มายื่นขอเปิ ดดาเนินการใหม่ซึ่งยัง ไม่เคยได้รับการรับรองสถาบันการศึกษาจากสภาการพยาบาลอย่าง ต่อเนื่องทุกปี จนมีผู้สาเร็จการศึกษา
  • 4. “สถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง” • หมายความว่า สถาบันการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการเปิ ดดาเนินการสอนหลักสูตร การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี และได้รับการรับรองสถาบันการศึกษาครั้งล่าสุดจากสภาการพยาบาลเป็ นระยะเวลาไม่ น้อยกว่า ๔ ปี อย่างต่อเนื่องที่ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง จนถึงวันที่มีการทา ข้อตกลงกันระหว่างสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยงกับสถาบันการศึกษาที่ขอเปิ ดดาเนินการ ใหม่ ทั้งนี้ ข้อตกลงระหว่างสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยงกับสถาบันการศึกษาที่ขอเปิ ด ดาเนินการใหม่จะต้องมีระยะเวลาจนกว่าจะมีผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรรุ่นแรก และสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง ๑ แห่ง สามารถทาข้อตกลงเป็ นสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยง ให้กับสถาบันการศึกษาที่จะขอเปิ ดดาเนินการใหม่ได้ไม่เกิน ๑ แห่ง
  • 8. •สถาบันการศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนลักษณะอื่นใด ที่แตกต่างจากที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง รวมถึงการ จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งหลัก ที่สภาการพยาบาลได้ให้ การรับรองแล้วให้ดาเนินการเช่นเดียวกับสถาบันการศึกษา ใหม่ ตามข้อบังคับนี้โดยอนุโลม เว้นแต่คณะกรรมการจะ กาหนดเป็ นอย่างอื่น
  • 10. หมวด ๑ สถาบันการศึกษา •ส่วน ๑ ภารกิจหลัก •ส่วนที่ ๒ การจัดองค์กร •ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
  • 11. ส่วน ๑ ภารกิจหลัก ข้อ ๙ สถาบันการศึกษาต้องมีภารกิจหลักอย่างน้อย ๔ ภารกิจ ดังนี้ ๙.๑ การเรียนการสอน ๙.๒ การวิจัย ๙.๓ การบริการวิชาการแก่สังคม ๙.๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ
  • 12. ส่วนที่ ๒ การจัดองค์กร ข้อ ๑๔ สถาบันการศึกษาต้องมีการจัดองค์กร ดังนี้ ๑๔.๑ กาหนดปรัชญาหรือปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ ของสถาบันการศึกษาไว้อย่างชัดเจนเพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงาน ๑๔.๒ วางแผนงานให้สอดคล้องกับปรัชญาหรือปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธ กิจและวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษา มีการดาเนินงานตามแผน มีการ ประเมินแผนงานและโครงการเป็ นระยะ ๆ รวมทั้งมีการปรับปรุง เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่กาหนด และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ๑๔.๓ กาหนดโครงสร้างและระบบการบริหารงานที่สอดคล้องกับพันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน
  • 13. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๑๕ สถาบันการศึกษาต้องมีการบริหารงาน ข้อ ๑๖ สถาบันการศึกษาต้องมีอาคารสถานที่ ที่ใช้เป็ นที่ตั้ง สถาบันการศึกษาและเป็ นสัดส่วนและมีที่ทางานเป็ นการ เฉพาะ เหมาะสม เพียงพอและจาเป็ นแก่การบริหารงาน ทั้งนี้ เพื่อเอื้ออานวยต่อการปฏิบัติภารกิจและเสริมสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดี
  • 14. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๑๗ สถาบันการศึกษาต้องมีงบประมาณของตนเอง มีแผนและการ จัดสรรงบประมาณที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ มีการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้งบประมาณอย่างเป็ นระบบ ข้อ ๑๘ สถาบันการศึกษาต้องมีบุคลากรจานวนเพียงพอตามลักษณะ งานและมีการกาหนดลักษณะงาน ขอบข่ายงาน และอานาจหน้าที่ของ บุคลากรแต่ละตาแหน่งอย่างชัดเจน มีระบบการสรรหาพัฒนาและดารง รักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มีระบบการประเมิน บุคคลที่ชัดเจนและเป็ นธรรม
  • 15. ข้อ ๑๙ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาและผู้บริหารสถาบันการศึกษาระดับรอง ๑๙.๑ มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งที่ไม่ หมดอายุ ๑๙.๒ มีคุณธรรม จริยธรรม ๑๙.๓ ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษจาคุก ในความผิดที่กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ๑๙.๔ ไม่เป็ นโรคต้องห้ามตามที่สภาการพยาบาลกาหนด ๑๙.๕ ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย ๑๙.๖ ไม่เป็ นคนวิกลจริต คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน
  • 16. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๐ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาต้องมีคุณสมบัติเฉพาะและ ประสบการณ์ ๒๐.๑ เป็ นอาจารย์พยาบาลประจาหรือบุคลากรพยาบาลประจา มีวุฒิการศึกษาไม่ต่า กว่า ปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การบริหาร การศึกษา หรือ มี ตาแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ำรองศำสตรำจำรย์สำขำพยำบำลศำสตร์ ๒๐.๒ มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒๐.๓ ดารงตาแหน่งบริหารในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี ๒๐.๔ เป็ นผู้ปฏิบัติงานประจาเต็มเวลาของสถาบันการศึกษานั้น
  • 17. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๑ ผู้บริหารสถาบันการศึกษาระดับรอง ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ และประสบการณ์ ดังนี้ ๒๑.๑ เป็ นอาจารย์พยาบาลประจา มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่า ปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การบริหาร การศึกษา หรือ มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่าผู้ช่วย ศาสตราจารย์สาขาพยาบาลศาสตร์ ๒๑.๒ มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่ น้อยกว่า ๕ ปี
  • 18. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๒ ผู้บริหารสถาบันการศึกษามีหน้าที่ ดังนี้ ๒๒.๑ บริหารงานให้สอดคล้องกับปรัชญาหรือปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษา และตาม ข้อบังคับนี้ ๒๒.๒ จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลให้ความ เห็นชอบหรือรับรอง ๒๒.๓ มีภาระงานสอน
  • 19. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๓ อาจารย์พยาบาลประจาต้องมี ๒๓.๑ คุณสมบัติตามข้อ ๑๙.๒ - ๑๙.๖ ๒๓.๒ มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง หรือ... ๒๓.๓ สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาโทสาขา พยาบาลศาสตร์ หรือสาขาอื่น โดยต้องสาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์
  • 20. ข้อ ๒๓ อาจารย์พยาบาลประจาต้องมี ทั้งนี้ถ้าสาเร็จการศึกษาสาขาอื่นที่ไม่ใช่สาขาพยาบาลศาสตร์ ต้องมีจานวนรวมไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจา ทั้งหมด ๒๓.๔ มีประสบการณ์การปฏิบัติการพยาบาลมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี และมีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลในสถาบันการศึกษา พยาบาลมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี กรณีที่ไม่มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลใน สถาบันการศึกษาต้องผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอน ทางการพยาบาล หรือหลักสูตรด้านการจัดการเรียนการสอนทางการ พยาบาลที่เทียบเคียงได้ และสภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
  • 21. ส่วนที่ ๓ การ บริหารงานข้อ ๒๔ สถาบันการศึกษาต้องจัดอัตราส่วนและสัดส่วนวุฒิการศึกษาของอาจารย์ พยาบาลประจา ดังนี้ ๒๔.๑ อัตราส่วนของอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (Full Time Equivalence Student : FTES) ไม่เกิน ๑ : ๖ กรณี สถาบันการศึกษาใหม่ อัตราส่วนของอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาไม่เกิน ๑ : ๘ ๒๔.๒ อัตราส่วนอาจารย์พยาบาลประจาหรืออาจารย์พยาบาลพิเศษสอนภาคปฏิบัติ ต่อนักศึกษาในการสอนแต่ละรายวิชาของภาคปฏิบัติ ไม่เกิน ๑ : ๘ โดยต้องมีอาจารย์ พยาบาลพิเศษไม่มากกว่าร้อยละ ๒๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจา ๒๔.๓ สัดส่วนวุฒิการศึกษาของอาจารย์พยาบาลประจา โดยระดับปริญญาเอกหรือ เทียบเท่าต้องมีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจาทั้งหมด
  • 22. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๕ สถาบันการศึกษาต้องกาหนดหน้าที่และจัดภาระงานสอน ของอาจารย์พยาบาลประจา ดังนี้ ๒๕.๑ กาหนดหน้าที่อาจารย์พยาบาลประจาตามพันธกิจ หลักของสถาบันการศึกษาและปริมาณงานสอดคล้องตามที่ สถาบันการศึกษาประกาศกาหนดและมีการประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง ๒๕.๒ ภาระงานด้านการสอนต้องไม่น้อยกว่า ๖ หน่วย ชั่วโมงแต่ไม่เกิน ๑๒ หน่วยชั่วโมงต่อ ๑ สัปดาห์
  • 23. ส่วนที่ ๓ การบริหารงาน ข้อ ๒๖ สถาบันการศึกษาต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิการศึกษาอื่น ๆ ตามความเหมาะสมและจาเป็ น ข้อ ๒๗ สถาบันการศึกษาต้องมีงานบริหารหลักสูตรและการเรียน การสอน โดยมีโครงสร้างระบบ แผนการบริหารหลักสูตรและการ เรียนการสอนที่ชัดเจน มีการดาเนินงานและมีการประเมินผล ข้อ ๒๘ สถาบันการศึกษาต้องมีระบบข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อ การบริหาร การเรียนการสอนการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
  • 25. หมวด ๒ การจัดการเรียนการสอน •ส่วนที่ ๑ หลักสูตร •ส่วนที่ ๒ อาคาร และสถานที่ศึกษา •ส่วนที่ ๓ อุปกรณ์การศึกษา
  • 27. หมวด ๓ การประกันคุณภาพ ข้อ ๓๕ สถาบันการศึกษาต้องมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่สภาการพยาบาลให้ การรับรองและการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษา ดังนี้ ๓๕.๑ การประกันคุณภาพภายใน ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี และผลการประกัน คุณภาพภายในอยู่ในระดับดี ๓๕.๒ การประเมินคุณภาพภายนอก ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และได้รับการรับรอง คุณภาพการประเมินภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สม ศ.) ๓๕.๓ การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับดีตาม มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์เป็ นอย่างน้อย ๓๕.๔ มีการนาผลการประเมินคุณภาพภายนอก และการประกันคุณภาพภายในไปใช้ ปรับปรุงคุณภาพสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน ครบถ้วน
  • 29. หมวด ๔ นักศึกษา ข้อ ๓๖ สถาบันการศึกษาต้องมีการจัดการหรือดาเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาและ สนับสนุนกิจกรรมของนักศึกษา ดังนี้ ๓๖.๑ มีระบบการคัดเลือกนักศึกษา ระบบการติดตามผลการศึกษาของ นักศึกษาและการประเมินผลคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง ๓๖.๒ มีองค์กรนักศึกษา มีแผนการจัดกิจกรรมหรือโครงการ แผน งบประมาณสนับสนุน การพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมสุขภาพและผลการเรียนรู้ ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์
  • 31. หมวด ๕ การขอรับรองสถาบันการศึกษา •ส่วนที่ ๑ คุณสมบัติผู้ขอรับรองสถาบันการศึกษา •ส่วนที่ ๒ การยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษา •ส่วนที่ ๓ การพิจารณาและการแจ้งผลการรับรอง สถาบันการศึกษา การแจ้งผลการรับรอง หรือไม่รับรองสถาบันการศึกษา ให้ เลขาธิการแจ้งให้ผู้ยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษาทราบภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่สภาการพยาบาลได้รับคาขอพร้อมหลักฐาน ครบถ้วนตามที่กาหนด
  • 36. หมวด ๙ ค่าธรรมเนียม ข้อ ๕๑ ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ดังนี้ ๕๑.๑ การรับรองสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๔๐,๐๐๐ บาท ๕๑.๒ การรับรองสถาบันการศึกษาใหม่ ครั้งละ ๗๐,๐๐๐ บาท ๕๑.๓ การตรวจเยี่ยมและประเมินสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๑.๔ การตรวจเยี่ยมและประเมินสถาบันการศึกษาใหม่ ครั้งละ ๕๐,๐๐๐ บาท ๕๑.๕ การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา ครั้งละ ๑๐,๐๐๐ บาท
  • 38. หมวด ๑๐ บทเฉพาะกาล ข้อ ๕๒ สถาบันการศึกษาใดที่สภาการพยาบาลรับรองและมีอาจารย์พยาบาลประจาที่สาเร็จ การศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาโทสาขาอื่น และสภาการพยาบาลเคยให้การรับรองว่าเป็ น อาจารย์พยาบาลประจา และสถาบันการศึกษานั้นยังเปิ ดดาเนินการต่อเนื่องจนถึงวันที่ข้อบังคับนี้มี ผลใช้บังคับให้ถือว่าสถาบันการศึกษานั้นมีอาจารย์พยาบาลประจาตามข้อบังคับนี้ ข้อ ๕๓ สถาบันการศึกษาใดที่คณะกรรมการได้ให้การรับรองสถาบันการศึกษาก่อนหรือในวันที่ ข้อบังคับนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าสถาบันการศึกษานั้นได้รับรองสถาบันการศึกษาตามข้อบังคับนี้ ต่อไปจนกว่าจะสิ้นสุดระยะเวลาที่คณะกรรมการได้ให้การรับรองแล้ว ข้อ ๕๔ สถาบันการศึกษาที่ได้ยื่นคาขอรับรองสถาบันการศึกษาไว้ก่อนหรือในวันที่ข้อบังคับนี้ มีผล ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนินการตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยหลักเกณฑ์ การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ ต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ หรือจะให้ผู้ยื่นคาขอปรับปรุงแก้ไขให้เป็ นไปตามข้อบังคับ นี้ก็ได้
  • 40. หลักการและแนวคิด 1. การรับรองสถาบันการศึกษาเป็ นกระบวนการพิจารณาการจัด การศึกษา 2. โดยวิธีการตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง การตรวจ เยี่ยม การประเมินคุณภาพสถาบันการศึกษา เพื่อตรวจสอบ ยืนยันสภาพจริงในการดาเนินงานของสถาบันการศึกษา พยาบาล ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสิทธิในการขอขึ้น ทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล
  • 41. หลักการและแนวคิด 2. องค์ประกอบของคณะผู้ประเมิน - มีประสบการณ์ด้านการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา - จานวนไม่น้อยกว่า 3 คน - ได้รับการแต่งตั้งจากสภาการพยาบาล - คณะผู้ประเมินต้องเป็ นผู้ที่อยู่ต่างสถาบัน หรือไม่อยู่ในสถาบัน สมทบหรือสถาบันรับสมทบ หรือเป็ นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถาบันที่ขอ รับรองสถาบัน
  • 42. หลักการและแนวคิด 3. ในการดาเนินการรับรองสถาบันการศึกษา คณะผู้ประเมิน ต้องใช้ความเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ (professional judgment) ในการศึกษา วิเคราะห์รายงานของ สถาบันการศึกษาที่ขอรับการประเมินตามเกณฑ์ที่สภาการ พยาบาลกาหนดและแสวงหาส่วนที่เป็ นจุดเด่น จุดที่ควร พัฒนาของสถาบันการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางใน การพัฒนา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดี ยิ่งๆขึ้น
  • 43. หลักการและแนวคิด 4. คณะผู้ประเมินต้องเข้าใจสถาบันการศึกษาที่จะประเมิน เป็ นอย่างดีปราศจากอคติต่อสถาบันดาเนินการตรวจเยี่ยม โดยยึดหลักกัลยาณมิตรเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนภาพความ จริงที่เกิดขึ้นในสถาบันการศึกษานั้นและใช้ข้อมูลทั้งเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อประกอบการตัดสินใจ
  • 44. หลักการและแนวคิด 5. ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริง (evidence- based) และมี ความรับผิ ดชอบที่ ตรวจสอบได้ (accountability) ในการประเมินทุกครั้ง 6. ดาเนินการรับรองสถาบันตามขั้นตอนให้แล้วเสร็จภายใน กรอบเวลาที่กาหนด ทั้งนี้เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ที่ เกี่ยวข้อง
  • 45.
  • 47.
  • 48. กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 1. สภาการพยาบาลจะประสานกับสถาบันการศึกษาให้จัดเตรียม เอกสารต่าง ๆ และสถานที่ที่คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะสามารถทางาน และประชุมปรึกษาหารือกันอย่างเป็ นอิสระและไม่รบกวนผู้อื่นใน ระหว่างการตรวจเยี่ยม รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ทั้งในส่วนที่ ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าและส่วนที่อาจขอเพิ่มเติม ตลอดจนนัดหมาย ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต/นักศึกษา แหล่งฝึ กงาน เป็ นต้น เพื่อให้คณะผู้ตรวจเยี่ยมสัมภาษณ์ตาม กาหนดการในตารางการปฏิบัติงานของคณะผู้ตรวจเยี่ยม
  • 49. กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 2. คณะผู้ตรวจเยี่ยมทาการศึกษารวบรวมข้อมูลจากรายงาน การประเมินตนเองของสถาบันฯนั้น และเอกสารรายงานอื่นๆ ซึ่งสถาบันฯได้จัดส่งมาล่วงหน้า 3. คณะผู้ตรวจเยี่ยมศึกษาวิเคราะห์รายงานการประเมิน ตนเองของสถาบันฯ ตามมาตรฐานตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ ประเมินของสภาการพยาบาล
  • 50. กระบวนการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 4. คณะผู้ตรวจเยี่ยมประชุมปรึกษา กาหนดประเด็นและรายการ ข้อมูลที่จะต้องตรวจสอบและรวบรวมแหล่งข้อมูล วิธีการรวบรวม ข้อมูลระหว่างการตรวจเยี่ยม ทั้งนี้เพื่อให้มีหลักฐานครบถ้วน เพียงพอในการสรุปผลการประเมินอย่างถูกต้องชัดเจน 5. คณะผู้ตรวจเยี่ยมร่วมกันวางแผนการตรวจเยี่ยมและแผนการ ประเมิน กาหนดตารางการปฏิบัติงาน และมอบหมายภาระงานที่ ชัดเจนให้ผู้ตรวจเยี่ยมแต่ละคน
  • 52.
  • 53. ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 1. คณะผู้ตรวจเยี่ยมเดินทางไปยังสถาบันฯตามกาหนดนัดหมายกับสถาบันฯ ซึ่งกาหนดเวลาการตรวจเยี่ยมสถาบันฯ หนึ่ง ไม่น้อยกว่า 2 วัน เมื่อเดินทางไป ถึงสถาบันฯ ในวันแรกให้มีการประชุมผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันฯเพื่อให้ รับทราบกระบวนการและวัตถุประสงค์ของการตรวจเยี่ยม ซึ่งมุ่งเน้นความ ร่วมมือในการพัฒนาปรับปรุงสถาบันฯ และสร้างความเข้าใจระหว่างคณะตรวจ เยี่ยมกับผู้บริหารและบุคลากรสถาบันฯ รวมทั้งเพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับแผน และตารางการปฏิบัติงานของคณะผู้ตรวจเยี่ยม และการปฏิบัติตนของสถาบันฯ ระหว่างการตรวจเยี่ยม ในการประชุมจะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิ ด โอกาสให้ทั้งสถาบันการศึกษาฯ และผู้ตรวจเยี่ยมได้ซักถามเพื่อให้เกิดความ เข้าใจตรงกัน
  • 54. ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 2. ระหว่างการตรวจเยี่ยม คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะประเมินคุณภาพสถาบัน ฯตามขอบข่ายและประเด็นที่กาหนดไว้ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลที่เป็ นผลการดาเนินงานจากเอกสารต่างๆ ตามที่สถาบันฯส่งให้ สภาการพยาบาล รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ ที่สะท้อนสภาพความเป็ นจริง อื่นๆ ของสถาบันฯ การรวบรวมข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติมเพื่อการประเมิน คุณภาพอาจใช้วิธีที่หลากหลายทั้งการสุ่มตัวอย่าง การสังเกตการเรียน การสอน การสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรรมการสถาบัน กรรมการประจาคณะ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต/นักศึกษา ศิษย์เก่า ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ เป็ นต้น
  • 55. ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันการศึกษา 3. เมื่อได้ข้อมูลครบถ้วนแล้ว คณะผู้ตรวจเยี่ยมจะนาข้อค้นพบ หรือข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาอภิปรายร่วมกัน เพื่อวิเคราะห์สรุปผลการ ตรวจเยี่ยมและข้อเสนอแนะ 4. นาเสนอผลการตรวจเยี่ยมเบื้องต้นและข้อสังเกตต่อผู้บริหาร สถาบันฯด้วยวาจา เพื่อรับฟังความคิดเห็นและตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลต่างๆ และให้โอกาสสถาบันฯชี้แจงในกรณีที่ สถาบันฯ เห็นว่าข้อสังเกตยังไม่ถูกต้องไม่ชัดเจน หรือไม่ ครอบคลุมบางประเด็น
  • 57. การเตรียมเอกสารเพื่อขอรับรองของสถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาที่จะขอรับการรับรองสถาบันการศึกษา ให้จัดเตรียม เอกสารดังนี้ 1. เอกสารการประเมินตนเอง ให้จัดทาเอกสารตามแนวทางการเขียนรายงาน การประเมินตนเองเพื่อการขอรับรองสถาบันการศึกษาจากสภาการพยาบาล 2. ข้อมูลพื้นฐานของสถาบัน (ตามแบบฟอร์ม) 3. เอกสาร/หลักฐานประกอบแต่ละตัวบ่งชี้ 4. การนับจานวนตัวบ่งชี้ ให้นับตามระยะเวลา ดังนี้ 4.1 การจัดการเรียนการสอน นับตามปี การศึกษา 4.2 งานวิจัย นับตามปี ปฏิทิน 4.3 งบประมาณ นับตามปี งบประมาณ
  • 58.
  • 59.
  • 60. มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร •ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารองค์กร 1) มีระบบบริหารงานที่สอดคล้องกับพันธกิจสถาบันการศึกษา 2) มีแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานประจาปี 3) ผู้บริหารระดับรอง มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วย หลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2556 ข้อ 19 และข้อ 21 และมีภาระงานสอนไม่เกิน 8 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อปี การศึกษา 4) มีแผนการจัดสรรงบประมาณอย่างครอบคลุมทุกพันธกิจ 5) มีการวิเคราะห์ ประเมินการใช้งบประมาณครอบคลุมทุกพันธกิจและนาผลการ ประเมินไปใช้วางแผนงบประมาณในปี ต่อไป
  • 61. มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร •ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณสมบัติผู้บริหารสถาบันการศึกษาพยาบาล (เกณฑ์ สาคัญ) 1) มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ที่ไม่ หมดอายุ/ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ที่ไม่หมดอายุ ในกรณีที่สภาการ พยาบาลเคยให้การรับรองแล้ว 2) วุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาโททางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ การ บริหาร การศึกษา หรือมีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์สาขา พยาบาลศาสตร์ 3) มีประสบการณ์ด้านการสอนในสถาบันการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี 4) ดารงตาแหน่งบริหารในสถาบันการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี 5) มีภาระงานสอนไม่เกิน 3 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์ต่อปี การศึกษา
  • 62. มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร •ตัวบ่งชี้ที่ 3 ระบบบริหารความเสี่ยง ผลการดาเนินงาน 1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง 2) มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยงที่สาคัญขององค์กรและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงตาม บริบทของสถาบัน 3) มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและมีการจัดทาแผนจัดการความเสี่ยงที่ สาคัญขององค์กร 4) มีการดาเนินงาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนและรายงานต่อ คณะกรรมการประจาคณะหรือคณะกรรมการที่เทียบเท่าเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 5) มีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจาคณะหรือคณะกรรมการที่ เทียบเท่าไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปี ถัดไป
  • 63. มาตรฐานที่ 1 ด้านองค์กรและการบริหารองค์กร •ตัวบ่งชี้ที่ 4 ระบบสารสนเทศ (เกณฑ์สาคัญ) มีระบบสารสนเทศทุกด้าน 1) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการบริหาร 1.1) ระบบสารสนเทศด้านการเงินการงบประมาณ 1.2) ระบบสารสนเทศบริหารงานบุคคล 1.3) ระบบสารสนเทศด้านครุภัณฑ์ 2) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการเรียนการสอน 3) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการวิจัย 4) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการบริการวิชาการ 5) มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม
  • 64. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 5 คุณสมบัติอาจารย์พยาบาลประจา 1) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง หรือใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง และบัตร สมาชิกสภาการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ 2) สาเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโทสาขาพยาบาลศาสตร์หรือ สาขาอื่น โดยต้องสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ ในกรณีที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่ไม่ใช่สาขา พยาบาลศาสตร์ ต้องมีตาแหน่งทางวิชาการไม่น้อยกว่าผู้ช่วย ศาสตราจารย์สาขาพยาบาลศาสตร์
  • 65. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 5 คุณสมบัติอาจารย์พยาบาลประจา (ต่อ) 3) มีประสบการณ์การปฏิบัติการพยาบาล ไม่น้อยกว่า 2 ปี 4) มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติในสถาบันการศึกษาพยาบาลอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี กรณีที่ไม่มีประสบการณ์การสอนทางการพยาบาลในสถาบันการศึกษา ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอนทางการพยาบาล หรือหลักสูตรด้านการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่เทียบเคียง ได้ และสภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
  • 66. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 6 คุณวุฒิอาจารย์พยาบาลประจา ร้อยละของอาจารย์พยาบาลประจาที่มีคุณวุฒิปริญญา เอก ในทุกสาขาไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 และปริญญาโทไม่น้อย กว่าร้อยละ 65
  • 67. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 7 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (เกณฑ์สาคัญ) อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาล ประจาต่อ นักศึกษา เต็มเวลาเทียบเท่า ไม่เกิน 1 : 6 คะแนน FTES ไม่นับจุดทศนิยม
  • 68. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ 8 ภาระงานสอนของอาจารย์พยาบาลประจา 1) มีภาระงานสอนภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา แต่ไม่เกิน 12 หน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา โดยรวมภาระงานสอนตลอดปี การศึกษาของทุกรายวิชาทั้งภาคทฤษฎี ภาคทดลองและภาคปฏิบัติ ของทุกหลักสูตรที่เปิ ดสอนในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา พยาบาลและการผดุงครรภ์ที่ขอรับรองที่มีระยะเวลาการศึกษาตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไปโดยเฉลี่ยเป็ นหน่วยชั่วโมง/สัปดาห์/ปี การศึกษา
  • 69. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) ในตัวบ่งชี้ที่ 8 ภาระงานสอนของอาจารย์พยาบาลประจา คาอธิบาย 1) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ ระดับปริญญาโท = 30/10 ชั่วโมงปฏิบัติงาน/นักศึกษา 1 คน/ครั้ง 2) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก = 45 ชั่วโมง ปฏิบัติงาน/นักศึกษา1คน/ครั้ง 3) สัดส่วนภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์หลักและวิทยานิพนธ์ร่วม = 2:1
  • 70. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) 4) การคิดภาระงานอาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์ ดังนี้ 4.1) ปริญญาโท คิดให้จานวน 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 เมื่อสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ - ครั้งที่ 2 เมื่อสอบป้ องกันวิทยานิพนธ์ 4.2) ปริญญาเอก คิดให้จานวน 4 ครั้ง - ครั้งที่ 1 เมื่อสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ - ครั้งที่ 2 และ 3 จานวน 2 ครั้ง ในภาคการศึกษาปกติ (ไม่คิดในภาคฤดูร้อน) - ครั้งที่ 4 เมื่อสอบป้ องกันวิทยานิพนธ์ ในกรณีที่มีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมมากกว่า 1 คน ให้นาจานวนหน่วยชั่วโมงของอาจารย์ที่ ปรึกษาร่วมหารด้วยจานวนอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
  • 71. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 9 การพัฒนาอาจารย์ 1) อาจารย์พยาบาลใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศและคาแนะนาด้าน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการอย่างเป็ น ระบบ 2) อาจารย์พยาบาลประจาที่ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 9 เดือนทุกคน ได้รับการพัฒนาทั้งในและนอกสถาบันการศึกษาของตนเองในด้าน วิชาการและวิชาชีพไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อปี การศึกษาย้อนหลัง 3 ปี
  • 72. มาตรฐานที่ 2 ด้านอาจารย์ •ตัวบ่งชี้ที่ 10 การประเมินผลการสอนของอาจารย์ 1) มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ทุกคนโดยนักศึกษา และผู้รับผิดชอบวิชา/ ผู้บังคับบัญชา/เพื่อนอาจารย์ 2) อาจารย์จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนอาจารย์พยาบาลทั้งหมด มีผล การประเมินโดยนักศึกษาอยู่ในระดับคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 3) อาจารย์จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนอาจารย์พยาบาลทั้งหมด มีผล การประเมินโดยผู้รับผิดชอบวิชา/ผู้บังคับบัญชา/เพื่อนอาจารย์อยู่ในระดับคะแนน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม5.00 4) ใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างชัดเจน
  • 73. มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา • ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารหลักสูตร (เกณฑ์สาคัญ) 1) ใช้หลักสูตรที่ได้มาตรฐานที่มีการปรับปรุงอย่างน้อยทุก5 ปี 2) มีระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร 3) มีแผนการจัดการศึกษาและแผนการฝึกภาคปฏิบัติทุกชั้นปี ตลอดหลักสูตรและมี การดาเนินการตามแผน 4) มีการเผยแพร่หลักสูตรและรายละเอียดรายวิชาที่มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ให้แก่อาจารย์ที่เกี่ยวข้องและนักศึกษาล่วงหน้าทุกรายวิชา 5) มีผลการประเมินตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามที่กาหนดใน มคอ. 2 อยู่ในระดับดี ทุกปี
  • 74. มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา •ตัวบ่งชี้ที่ 12 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ต่อคุณภาพหลักสูตร ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ต่อคุณภาพหลักสูตร ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกาหนดคะแนนเต็ม 5 เท่ากับ 5 คะแนน
  • 75. มาตรฐานที่ 3 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษา •ตัวบ่งชี้ที่ 13 แผนการสอนรายวิชาในหมวดวิชาชีพ (เกณฑ์ สาคัญ) มีแผนการสอนที่สมบูรณ์ทุกหน่วยการเรียนทุกรายวิชาใน หมวดวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่นาไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอนในปี การศึกษาสุดท้ายที่ได้รับการรับรอง สถาบันการศึกษา ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดให้แผนการสอนที่ สมบูรณ์ ร้อยละ 100 เท่ากับ 10 คะแนน
  • 76. มาตรฐานที่ 4 ด้านนิสิต/นักศึกษาและการพัฒนา •ตัวบ่งชี้ที่ 14 การพัฒนานักศึกษา 1) มีแผนงานและโครงการพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา พยาบาลศาสตร์ทุกด้านตามเกณฑ์ สกอ. และตามอัตลักษณ์ของสถาบัน โดยมีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนา นักศึกษาที่เพียงพอทุกด้าน 2) มีการพัฒนานักศึกษาตามแผนโดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนา 3) มีองค์กรนักศึกษาและมีสถานที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา 4) นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างเป็ นระบบ (PDCA) 5) ผลความพึงพอใจต่อกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาของนักศึกษาจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ กิจกรรม/โครงการ อยู่ในระดับคะแนนไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 6) มีการประเมินแผนงานพัฒนานักศึกษาและนาผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุง
  • 77. มาตรฐานที่ 4 ด้านนิสิต/นักศึกษาและการพัฒนา •ตัวบ่งชี้ที่ 15 ระบบการดูแลและให้คาปรึกษานักศึกษา 1) มีระบบการดูแลและให้คาปรึกษาที่นักศึกษาสามารถขอคาปรึกษา/ ช่วยเหลือได้สะดวกรวดเร็ว 2) มีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบชัดเจน 3) มีแนวปฏิบัติการรักษาความลับข้อมูลนักศึกษา 4) มีการรายงานความก้าวหน้าผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและการ พัฒนานักศึกษาตามประเด็น/ปัญหาความต้องการของนักศึกษา (ถ้า นักศึกษามีปัญหา) ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทุกภาคการศึกษา 5) มีระบบรับเรื่องอุทธรณ์และร้องเรียนจากนักศึกษา
  • 78. มาตรฐานที่ 5 ด้านแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล •ตัวบ่งชี้ที่ 16 แหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล 1) มีแหล่งฝึกปฏิบัติงานหลักที่ให้บริการพยาบาลครอบคลุมทุกสาขาและได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน ระดับชาติ 2) มีแหล่งฝึกปฏิบัติงานครอบคลุมทุกระดับ ทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิและมีการจัดการการฝึกปฏิบัติ ร่วมกับแหล่งฝึก 3) แหล่งฝึกปฏิบัติมีจานวนผู้ใช้บริการเพียงพอสาหรับการเรียนรู้ของนักศึกษา และมีแผนการจัดการสาหรับ แหล่งฝึกปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันหลายสถาบัน 4) แหล่งฝึกปฏิบัติและสถาบันการศึกษา มีระบบการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับนักศึกษาในการฝึก ปฏิบัติงาน 5) มีการประเมินการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติและแหล่งฝึกปฏิบัติร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษาและ แหล่งฝึกปฏิบัติทุกรายวิชาภาคปฏิบัติและนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
  • 79. มาตรฐานที่ 5 ด้านแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล •ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อ นักศึกษาในการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ (เกณฑ์สาคัญ) 1) อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาหรืออาจารย์พยาบาล พิเศษสอนภาคปฏิบัติต่อนักศึกษาในการสอนแต่ละรายวิชาของ ภาคปฏิบัติ ไม่เกิน 1 : 8 ในทุกรายวิชา 2) อาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติ ( ถ้ามี) ไม่มากกว่าร้อยละ 25 ของจานวนอาจารย์พยาบาลประจาในแต่ละรายวิชา
  • 80. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) ในตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตราส่วนจานวนอาจารย์พยาบาลประจาต่อนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน ภาคปฏิบัติ คาอธิบาย อาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติ หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอน ภาคปฏิบัติที่มี คุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง 2) มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ดังนี้ 2.1) ปริญญาโท/ปริญญาเอกทางการพยาบาล หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพและมี ประสบการณ์การปฏิบัติงานพยาบาลไม่น้อยกว่า 1 ปี
  • 81. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) 2.2) ปริญญาโท/ปริญญาเอกสาขาอื่น และมีประสบการณ์การ ปฏิบัติงานพยาบาลไม่น้อยกว่า 2 ปี 2.3) ปริญญาตรีหรือประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตและมี ประสบการณ์การปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3 ปี 3) เป็ นพยาบาลประจาการหรือพยาบาลที่ไม่ประจาการในหอผู้ป่ วยและปฏิบัติงาน หรือไม่ปฏิบัติงานประจาในขณะสอนภาคปฏิบัติและมีประสบการณ์ตรงในสาขาที่สอน 4) ผ่านการอบรมหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ การสอนทางการพยาบาล หรือหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่เทียบเคียงได้และสภาการพยาบาลให้ ความเห็นชอบ หรือหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสาหรับ พยาบาลพี่เลี้ยงที่สภาการพยาบาลให้ความเห็นชอบ
  • 82. มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ หลักสูตร•ตัวบ่งชี้ที่ 18 ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านครั้งแรก (เกณฑ์สาคัญ) ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในครั้งแรก ของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละปี นับ จากปี สุดท้ายที่ได้รับการรับรองสถาบันย้อนหลัง 3 ปี ร้อยละ 100 ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดผู้สอบผ่านครั้งแรก ร้อยละ 100 เท่ากับ 15 คะแนน คะแนนที่คานวณได้ ไม่มีการปัดทศนิยม
  • 83. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) ในตัวบ่งชี้ที่ 18 ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนและรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในปี แรก เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้ ร้อยละของผู้สอบความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผ่านในปี แรกของจานวน ผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละปี นับจากปี สุดท้ายที่ได้รับการรับรอง สถาบันย้อนหลัง 3 ปี ร้อยละ 100
  • 84. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) คาอธิบาย ผู้สอบผ่านในปี แรก หมายถึง ผู้สาเร็จการศึกษาที่สอบ ความรู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ในปี แรก โดยรวมการสอบทุกครั้ง ของผู้เข้าสอบทั้งหมดตลอดปี นับจากปี สุดท้ายที่ได้รับการ รับรองสถาบันย้อนหลัง 3 ปี
  • 85. มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ หลักสูตร •ตัวบ่งชี้ที่ 19 ผลการประเมินการเรียนรู้ตามมาตรฐาน 6 ด้าน ของบัณฑิตโดยผู้ใช้บัณฑิต ผลการประเมินผลการเรียนรู้ของบัณฑิตโดยผู้ใช้บัณฑิตครบ มาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของ จานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดย ประเมินภายหลังสาเร็จ การศึกษาอย่างน้อย 1 ปี ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินผลการเรียนรู้
  • 86. มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ หลักสูตร •ตัวบ่งชี้ที่ 20 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาเทียบจากจานวนนักศึกษา ลงทะเบียนเรียนปี 1 หลังการสิ้นสุดวันเพิ่มหรือถอนรายวิชาตาม ระเบียบของสถาบันการศึกษา ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษาร้อยละ 95 ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกาหนด ผู้สาเร็จการศึกษาร้อย ละ 95 เท่ากับ 5 คะแนน
  • 87. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) ในตัวบ่งชี้ที่ 20 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้ ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาเทียบจากจานวนนักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรียนปี 1 หลังการสิ้นสุดวันเพิ่มหรือถอนรายวิชาตาม ระเบียบของสถาบันการศึกษาฯ ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษาร้อยละ 90
  • 88. มาตรฐานที่ 6 ด้านการประเมินและผลลัพธ์ของ หลักสูตร •ตัวบ่งชี้ที่ 21 การประเมินคุณภาพภายในขอสถาบันการศึกษา (เกณฑ์สาคัญ) 1) ผลการประเมินภายในสถาบันการศึกษาตามมาตรฐาน สถาบันการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กาหนดอยู่ในระดับดี คะแนนตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป 2) มีการนาผลการประเมินไปพัฒนา/ปรับปรุงการดาเนิน งานของสถาบันอย่างชัดเจน
  • 89. มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม •ตัวบ่งชี้ที่ 22 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่ออาจารย์พยาบาล ประจาทั้งหมด (เกณฑ์สาคัญ) กาหนดระดับคุณภาพจานวนของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ โดย อาจารย์ในสถาบันนั้นๆ อย่างน้อยร้อยละ 20 เฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ร้อยละ 20 เท่ากับ 15 คะแนน คะแนนที่ได้ไม่เกินคะแนนเต็ม 15 คะแนน
  • 90. จากการปรับปรุงมาตรฐานและตัวบ่งชี้ (ปี 2558) ในตัวบ่งชี้ที่ 22 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่ออาจารย์พยาบาลประจาทั้งหมด เกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้ ค่าน้าหนัก 0.25 : มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (proceedings) ระดับชาติ/นานาชาติ/ การตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการ ระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI) กลุ่ม 3 ค่าน้าหนัก 0.50 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI) กลุ่ม 2 ค่าน้าหนัก 0.75 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ (ฐานข้อมูล TCI) กลุ่ม 1 ค่าน้าหนัก 1.00 : มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
  • 91. มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม •ตัวบ่งชี้ที่ 23 ผลงานวิชาการ (เกณฑ์สาคัญ) จานวนผลงานวิชาการในลักษณะตารา หนังสือ หรือบทความ ทางวิชาการ อย่างน้อยร้อยละ 10 ของจานวนอาจารย์พยาบาล ประจาทั้งหมด เฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดย กาหนดผลรวมถ่วงน้าหนักของ ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพเฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 10 เท่ากับ 10 คะแนน คะแนนที่ได้ไม่เกินคะแนนเต็ม 10 คะแนน ตารา/หนังสือนับเป็ นจานวนเล่ม โดยอาจารย์ไม่จาเป็ นต้องเขียนทั้งเล่ม
  • 92. มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม •ตัวบ่งชี้ที่ 24 การบริการวิชาการ 1) มีแผนบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพหรือที่เกี่ยวข้องของสถาบันการศึกษา และมี งบประมาณที่สนับสนุนอย่างเพียงพอ 2) มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนอย่างเป็ นระบบ (โครงการของสถาบัน ที่ปรากฏในแผน) 3) มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับงานวิจัยอย่างเป็ นระบบ 4) มีการประเมินผลการดาเนินงาน และนาผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนากิจกรรม/ โครงการ 5) ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  • 93. มาตรฐานที่ 7 ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม •ตัวบ่งชี้ที่ 25 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญา ไทย 1) มีแผนและโครงการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทย 2) มีการบูรณาการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทยมาใช้ในการจัดการ เรียนการสอนอย่างเป็ นระบบ 3) มีการบูรณาการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ/หรือภูมิปัญญาไทยมาใช้ในกิจกรรมเสริม หลักสูตรและการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็ นระบบ 4) มีการประเมินผลการดาเนินงานและนาผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนากิจกรรม/ โครงการ 5) ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายของแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  • 94. มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุนด้านทรัพยากรทาง การศึกษา •ตัวบ่งชี้ที่ 26 บุคลากรสายสนับสนุน 1) มีการกาหนดลักษณะงาน /ขอบเขตงานทุกตาแหน่ง 2) มีแผนอัตรากาลังและมีระบบสรรหาและปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ 3) มีระบบการรักษาบุคลากรอย่างชัดเจนและมีการพัฒนาบุคลากรทุกคนอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 10 ชม./คน/ปี 4) มีการประเมินบุคลากรอย่างเป็ นระบบ 5) มีบุคลากรสนับสนุนอย่างน้อยในด้านโสตทัศนูปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาการ ห้องปฏิบัติการพยาบาลและเจ้าหน้าที่การเงินในจานวนที่เหมาะสม
  • 95. •ตัวบ่งชี้ที่ 27 การจัดการทรัพยากรการศึกษา 1) มีอาคารเรียน ห้องเรียนจานวนเพียงพอเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีทุกรูปแบบของ การสอนที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 2) ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพมีอุปกรณ์เพียงพอ พร้อมใช้ และเหมาะสมกับ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกาหนด และมีผู้รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง 3) มีเครื่องโสตทัศนูปกรณ์เพียงพอ ทันสมัย และพร้อมใช้ตลอดเวลา 4) ห้องปฏิบัติงานเหมาะสมต่อการปฏิบัติงานของ อาจารย์และบุคลากร 5) มีสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (healthy workplace) ของนักศึกษา อาจารย์และบุคลากร 6) นักศึกษาและอาจารย์มีส่วนร่วมในการวางแผนความต้องการและประเมินการใช้ทรัพยากรการศึกษา มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการ สนับสนุนด้านทรัพยากรทางการศึกษา
  • 96. มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุน ด้านทรัพยากรทางการศึกษา •ตัวบ่งชี้ที่ 28 ห้องปฏิบัติการพยาบาล 1) มีห้องปฏิบัติการพยาบาลที่มีอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติการพยาบาลสอดคล้องกับการปฏิบัติใน สถานการณ์จริงทุกสาขาในจานวนที่เพียงพอ พร้อมใช้ และทันสมัย 2) มีตารางการใช้ห้องปฏิบัติการ และคู่มือการใช้ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ 3) มีระบบการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา 4) มีบุคลากรสายสนับสนุนช่วยในห้องปฏิบัติการพยาบาลในจานวนที่เหมาะสม 5) มีการนาผลการประเมินการใช้ห้องปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาและอาจารย์มาใช้ในการ พัฒนา ห้องปฏิบัติการ
  • 97. มาตรฐานที่ 8 ด้านการจัดหาบุคลากรและการสนับสนุน ด้านทรัพยากรทางการศึกษา •ตัวบ่งชี้ที่ 29 หนังสือ ตารา วารสารวิชาชีพ และระบบสืบค้น 1) มีหนังสือหรือตาราหลักทางการพยาบาลไม่น้อยกว่า 10 ชื่อเรื่องต่อ สาขาวิชาใน 5 สาขาวิชาหลักที่ปรากฏใน มคอ.3 และ มคอ.4 ของแต่ละ รายวิชา 2) มีหนังสือทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพไม่น้อยกว่า 50 เล่มต่อ นักศึกษา 1 คน ในกรณีที่มีฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เข้าถึงได้ง่าย ให้ มีหนังสือไม่น้อยกว่า 30 เล่ม ต่อนักศึกษา 1 คน 3) มีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลในประเทศ ไม่น้อยกว่า 10 ชื่อเรื่องอย่าง ต่อเนื่อง
  • 98. •ตัวบ่งชี้ที่ 29 หนังสือ ตารา วารสารวิชาชีพ และระบบสืบค้น (ต่อ) 4) มีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลของต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 5 ชื่อเรื่อง อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมอย่างน้อย 5 สาขาหลักทางการพยาบาล (กำร พยำบำลชุมชน กำรพยำบำลเด็ก กำรพยำบำลผู้ใหญ่ กำรพยำบำลจิตเวช และสุขภำพจิตและกำรพยำบำลมำรดำทำรก)และมีฐานข้อมูลวารสาร ออนไลน์ที่อาจารย์และนักศึกษาสามารถสืบค้นได้อย่างสะดวก ในกรณีไม่มี ฐานข้อมูลวารสารออนไลน์ที่อาจารย์และนักศึกษาสามารถสืบค้นได้อย่าง สะดวกต้องมีวารสารวิชาชีพทางการพยาบาลของต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 10 ชื่อเรื่องอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกสาขาวิชาหลักทางการพยาบาลเป็ นอย่าง น้อย 5) มีระบบการเข้าถึงข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ