SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
โครงงานวิชา IS1 30201
เรื่อง มวลมหันตภัย
จัดทาโดย
นาย กฤษฎา บาเพ็ญพงษ์ ม.5 เลขที่ 2
นางสาว คัทลียา ช่วยชุมชาติ ม.5 เลขที่ 14
นางสาว ปิยนันท์ เพชรสุข ม.5 เลขที่ 15
เสนอ
อาจารย์ สุเทพ เรืองคล้าย
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของเรียน รายวิชา IS 2
การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation)
ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
กิตติกรรมประกาศ
รายงานเรื่องมวลมหันตภัยฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก นายสมหมาย กรดเต็ม
ผู้อานวยการโรงเรียนประชาบารุง ผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณ อาจารย์สุเทพ เรืองคล้ายครูผู้สอนและให้คาปรึกษา แนะนา และคอย
ช่วยเหลือในการจัดทารายงานจนสาเร็จลุล่วงและคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและ
คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
ขอขอบพระคุณครูผู้สอนที่ให้ข้อมูลในการทารายงานทางวิชาการ และให้ความ
อนุเคราะห์ในด้านต่างๆ
ขอขอบพระคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทา ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน
และคอยเป็นกาลังใจที่ให้เสมอมา
คณะผู้จัดทา
บทที่ 1
บทนา
แนวคิดความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในปัจจุบันมีผู้คนมากมายที่สูบบุหรี่ไม่ว่าจะเป็นชุมชนหรือสถานที่ต่างๆก็ตาม
เพราะมีความคิดและค่านิยมที่ผิดๆเกี่ยวกับการสูบบุหรี่อาจเป็นเพราะตามกระแสนิยมในกลุ่ม
เพื่อนร่วมงาน ไม่ว่าเป็นเพราะเหตุใดก็ตามแต่ การสูบบุหรี่หรือการได้รับควันบุหรี่ก็เป็นสิ่ง
อันตรายต่อตัวเองและบุคคลที่อยู่ใกล้ตัว
ในการทาโครงงานในครั้งนี้เกี่ยวกับการบอกให้ทราบถึงอันตราย ที่ร่างกายจะ
ได้รับ และให้คาแนะนาการเลิกสูบบุหรี่
การทาโครงงานในครั้งนี้จะบอกถึงโทษและอันตรายของการสูบบุหรี่เพราะใน
ปัจจุบันมีผู้ที่สูบบุหรี่กันเป็นจานวนมากในบุหรี่มีสารชนิดหนึ่งที่เป็นสารกระตุ้นประสาทที่
เรียกว่านิโคตินและการสูบบุหรี่ก็เป็นการทาร้ายร่างกายของตนเองแล้วยังทาร้ายร่างกายของ
คนที่อยู่รอบข้างเช่นเดียวกัน
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับ
2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่
3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่
สมมุติฐานของการศึกษา
1.เมื่อทราบถึงอันตรายที่ได้รับแล้วสามารถหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ได้
2.เมื่อทราบว่าโรคที่เป็นอยู่เกินจากสูบบุหรี่ก็สามารถรักษาได้
3.เมื่อทราบแนวทางในการเลิกสูบบุหรี่แล้วสามารถนาไปปฎิบัติได้
ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการศึกษา
รายงาน เรื่องมวลมหันตภัย ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่
วันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 4 เดือน มกร
คม พ.ศ. 2557
สถานที่ดาเนินการ ได้แก่ โรงเรียนประชาบารุง บ้านคณะผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้
3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี
ขอบเขตของการศึกษา
1.ศึกษาอันตรายของการสูบบุหรี่
3.ศึกษาโรคที่ตามเมื่อสูบบุหรี่
4.ศึกษาทางการเลิกสูบบุหรี่ ได้ด้วยตนเอง
บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า
120 มิลลิเมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุ
ภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่งเป็นปลายเปิดสาหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้
สาหรับใช้ปากสูดควัน คานี้ปกติจะใช้หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจ
ใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา
บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar)ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการ
บดหรือซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็ก
พิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล (en:cigarillo)บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่
ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษ
หนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 อะซีโตน (Acetone)
 อะลูมิเนียม (Aluminiam)
 แอมโมเนีย (Ammonia)
 สารหนู (Arsenic)
 เบนซีน (Benzene)
 บิวเทน (Butane)
 แคดเมียม (Cadmium)
 คาเฟอีน (Caffeine)
 คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon
monoxide)
 คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)
 คลอโรฟอร์ม (Chloroform)
 ทองแดง (Copper)
 ไซยาไนด์/ไฮโดรเจนไซยาไนด์
(Cyanide/Hydrogen cyanide)
 ดีดีที/ดีลดริน (DDT/Dieldrin)
 เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethenol)
 ฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde)
 ตะกั่ว (Lead)
 แมกนีเซียม (Magnesium)
 มีเทน (Methane)
 เมทิลแอลกอฮอล์ (Methanol)
 ปรอท (Mercury)
 นิโคตีน (Nicotine)
 พอโลเนียม (Polonium)
 ทาร์ (Tar)
 ไวนิลคลอไรด์ (Vinyl Chloride)
 โพแทสเซียมไน
เตรต (Potassium nitrate)
สารเคมีในบุหรี่
ไส้บุหรี่นั้น ทาจากใบยาสูบตากแห้ง นาไปผ่านกระบวนการทางเคมี และมีการเพิ่มสารอื่น ๆ
ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งในจานวนนั้นมีสารเคมีจานวนมากที่
เป็นสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (en:mutagenic) และสารก่อ
มะเร็ง (en:carcinogen) สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบได้แก่
โรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการสูบบุหรี่
1.โรคมะเร็งปอด เกิดจากสารมีพิษในบุหรี่ คือ" ทาร์ "
2.โรคหัวใจ และหลอดเลือด เกิดจาก สารนิโคตินในบุหรี่
3.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และถุงลมโป่ งพอง สาเหตุสาคัญที่สุดก็คือ การสูบบุหรี่
4. โรคแผลในกระเพาะอาหาร ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร
มากขึ้นเป็น 2 เท่า ในพวกที่สูบบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่ทาให้มีภาวะไม่สมดุลในการหลั่งของ
กรด และด่างในกระเพาะ
5. ผลร้ายต่อเด็กในครรภ์ และทารก มารดาที่สูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์มีผลต่อเด็ก
ทารกคือ
- ทารกเล็กกว่าปกติ และน้าหนักตัวเด็กเมื่อแรกเกิดต่ากว่าเด็กที่มารดาไม่สูบบุหรี่
- ระยะเวลาการตั้งครรภ์สั้นลง มีผลทาให้เด็กคลอดก่อนกาหนด และมีโอกาสเสียชีวิตได้มาก
- อัตราการแท้งสูงขึ้น และค่อนข้างจะเรียนรู้ช้ากว่าปกติ
- โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ และคลอดบุตรเพิ่มขึ้น
วิธีเลิกสูบบุหรี่มีหลักการ 8 ข้อดังนี้
1. การดูแลตัวเอง พร้อมความตั้งใจสูง กาลังใจของผู้ต้องการเลิกบุหรี่เอง และ
บุคคลรอบข้าง
2. การให้สุขศึกษา เข้าคลินิกอดบุหรี่ อาจเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล
3. การใช้ยาช่วยระงับ ลด อาการเครียด เช่นยานอนหลับ
4. การใช้สารนิโคตินทดแทน ในรูปแบบต่างๆเช่นหมากฝรั่ง แผ่นแปะ
ผิวหนังนิโคติน
5. การฝังเข็มช่วยลดอาการอยาก คลายอาการหงุดหงิด
6. รับคาปรึกษาจากแพทย์
7. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง
8. การใช้สื่อต่างๆสร้างพลัง-กาลังใจ การรวมกลุ่มโปรแกรมอดบุหรี่สาหรับ
ชุมชน
วิธีที่ผู้เลิกสูบบุหรี่ได้สาเร็จแนะนาคือ
เตรียมตัว ตั้งใจแน่วแน่ ว่าต้องเลิกบุหรี่ด้วยตัวเอง เตรียมความพร้อมทังร่างกายและจิตใจ
- ให้จดบันทึกเวลาและเหตุผลการสูบบุหรี่ จดเหตุการณ์ที่ทาให้อยากสูบบุหรี่ เช่นการดื่มสุรา
กาแฟ สูบขณะขับรถ
- เปลี่ยนพฤติกรรม เช่นเก็บบุหรี่ไว้อีกที่หนึ่ง ใช้มืออีกข้างสูบแทน ขณะสูบบุหรี่ไม่ต้องทา
อะไรให้นึกว่าทาไมถึงสูบ
- ให้สูบนอกอาคาร
- เมื่ออยากสูบบุหรี่ให้รอสัก 2- 3 นาทีคิดเรื่องอื่นเพื่อเปลี่ยนความสนใจหรือเคี้ยวหมากฝรั่ง
และดื่มน้ามากๆ
- ซื้อบุหรี่ครั้งละซองและซื้อชนิดที่ไม่เคยสูบ
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ
รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีวิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.เริ่มระดมความคิดเพื่อคิดเรื่องที่จะทา
2.ศึกษาจากเว็บไซด์
3.คิดชื่อรายงาน
4.เรียบเรียงข้อมูล
5.จัดพิมพ์รายงาน
6.เข้าเล่มรายงาน
7.นาเสนอครูผู้สอน
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
จากการศึกษาค้นคว้า เรื่อง มวลมหันตภัย ผู้ศึกษาได้เสนอผลการดาเนินกาศึกษา ดังนี้
สิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับจาการสูบบุหรี่
2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่
3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได
2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้
3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัยสามารถสรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ ดังนี้
สรุปผลการศึกษา
การจัดทารายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย สามารถสรุปได้ดังนี้
1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับจาการสูบบุหรี่
2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่
3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่
อภิปรายผล
การจัดทารายงาน เรื่องมวลมหันตภัย สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้
3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี
ข้อเสนอแนะ
การจัดทารายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีข้อเสนอแนะดังนี้ ดังนี้
1.ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้
1.1 เมื่อรู้โทษสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
1.2 สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนา
1.3 เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูก
วิธี
2.ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าต่อไป
2.1 หากต้องการรู้ว่าโทษของบุหรี่มีอะไรบ้างก็สามารถนารายงาน
นี้ไปศึกษาได้
2.2หาต้องการเลิกบุหรี่ก็นารายงานเล่มนี้ไปศึกษาได้
บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2556). บุหรี่. (ออนไลน์). 11 มกราคม2557.
จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B
8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88.
โรคต่างๆที่เกิดขึ้นจาการสูบบุหรี่. (ออนไลน์). 11มกราคม2557. จาก
http://www.srbr.in.th/Health/smoke2.htm.
บทความธรรมะDhamma Articles>Review รายการ DMC. (2556).
วิธีการเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง. (ออนไลน์). 11มกราคม2557. จาก
http://www.dmc.tv/pages/top_of_week/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A
3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%
B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94
%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B
8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87.html

More Related Content

What's hot

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516Passakorn Hara
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าNoTe Tumrong
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5พัน พัน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ Ball Prasertsang
 
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมChalit Arm'k
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
โครงงานแต้มสีเติมฝัน
โครงงานแต้มสีเติมฝันโครงงานแต้มสีเติมฝัน
โครงงานแต้มสีเติมฝันPrawwe Papasson
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 

What's hot (20)

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
โครงงานแต้มสีเติมฝัน
โครงงานแต้มสีเติมฝันโครงงานแต้มสีเติมฝัน
โครงงานแต้มสีเติมฝัน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษานโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 

Viewers also liked (12)

เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
Interior Designer
Interior DesignerInterior Designer
Interior Designer
 
Interior Design Before & After's
Interior Design Before & After'sInterior Design Before & After's
Interior Design Before & After's
 
Start a revolution... in your bedroom.
Start a revolution... in your bedroom. Start a revolution... in your bedroom.
Start a revolution... in your bedroom.
 
Before and After Interior Design Gallery
Before and After Interior Design GalleryBefore and After Interior Design Gallery
Before and After Interior Design Gallery
 
Tutorial interior bedroom (fakar)
Tutorial interior bedroom (fakar)Tutorial interior bedroom (fakar)
Tutorial interior bedroom (fakar)
 
เฉลยใบงาน 6.2
เฉลยใบงาน 6.2เฉลยใบงาน 6.2
เฉลยใบงาน 6.2
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
Making a modern bedroom #1 by.grafica2d3d
Making a modern bedroom #1 by.grafica2d3dMaking a modern bedroom #1 by.grafica2d3d
Making a modern bedroom #1 by.grafica2d3d
 
Interior design
Interior designInterior design
Interior design
 
Interior Design Portfolio
Interior Design PortfolioInterior Design Portfolio
Interior Design Portfolio
 
Experiential Marketing Campaigns
Experiential Marketing CampaignsExperiential Marketing Campaigns
Experiential Marketing Campaigns
 

Similar to โครงงานเรื่องมวลมหันตภัย.Pdf2

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
ฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพนฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพนAchiraya Chomckam
 
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxวิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxdekoxmmzzz
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกPantawan Bututham
 

Similar to โครงงานเรื่องมวลมหันตภัย.Pdf2 (11)

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Menopause
MenopauseMenopause
Menopause
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
ฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพนฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพน
 
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxวิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุก
 

โครงงานเรื่องมวลมหันตภัย.Pdf2

  • 1. โครงงานวิชา IS1 30201 เรื่อง มวลมหันตภัย จัดทาโดย นาย กฤษฎา บาเพ็ญพงษ์ ม.5 เลขที่ 2 นางสาว คัทลียา ช่วยชุมชาติ ม.5 เลขที่ 14 นางสาว ปิยนันท์ เพชรสุข ม.5 เลขที่ 15 เสนอ อาจารย์ สุเทพ เรืองคล้าย รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของเรียน รายวิชา IS 2 การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
  • 2. กิตติกรรมประกาศ รายงานเรื่องมวลมหันตภัยฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก นายสมหมาย กรดเต็ม ผู้อานวยการโรงเรียนประชาบารุง ผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ อาจารย์สุเทพ เรืองคล้ายครูผู้สอนและให้คาปรึกษา แนะนา และคอย ช่วยเหลือในการจัดทารายงานจนสาเร็จลุล่วงและคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและ คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ ขอขอบพระคุณครูผู้สอนที่ให้ข้อมูลในการทารายงานทางวิชาการ และให้ความ อนุเคราะห์ในด้านต่างๆ ขอขอบพระคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทา ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกาลังใจที่ให้เสมอมา คณะผู้จัดทา
  • 3. บทที่ 1 บทนา แนวคิดความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในปัจจุบันมีผู้คนมากมายที่สูบบุหรี่ไม่ว่าจะเป็นชุมชนหรือสถานที่ต่างๆก็ตาม เพราะมีความคิดและค่านิยมที่ผิดๆเกี่ยวกับการสูบบุหรี่อาจเป็นเพราะตามกระแสนิยมในกลุ่ม เพื่อนร่วมงาน ไม่ว่าเป็นเพราะเหตุใดก็ตามแต่ การสูบบุหรี่หรือการได้รับควันบุหรี่ก็เป็นสิ่ง อันตรายต่อตัวเองและบุคคลที่อยู่ใกล้ตัว ในการทาโครงงานในครั้งนี้เกี่ยวกับการบอกให้ทราบถึงอันตราย ที่ร่างกายจะ ได้รับ และให้คาแนะนาการเลิกสูบบุหรี่ การทาโครงงานในครั้งนี้จะบอกถึงโทษและอันตรายของการสูบบุหรี่เพราะใน ปัจจุบันมีผู้ที่สูบบุหรี่กันเป็นจานวนมากในบุหรี่มีสารชนิดหนึ่งที่เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ เรียกว่านิโคตินและการสูบบุหรี่ก็เป็นการทาร้ายร่างกายของตนเองแล้วยังทาร้ายร่างกายของ คนที่อยู่รอบข้างเช่นเดียวกัน
  • 4. วัตถุประสงค์ของการศึกษา รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า ดังนี้ 1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับ 2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่ 3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่ สมมุติฐานของการศึกษา 1.เมื่อทราบถึงอันตรายที่ได้รับแล้วสามารถหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ได้ 2.เมื่อทราบว่าโรคที่เป็นอยู่เกินจากสูบบุหรี่ก็สามารถรักษาได้ 3.เมื่อทราบแนวทางในการเลิกสูบบุหรี่แล้วสามารถนาไปปฎิบัติได้
  • 5. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการศึกษา รายงาน เรื่องมวลมหันตภัย ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 4 เดือน มกร คม พ.ศ. 2557 สถานที่ดาเนินการ ได้แก่ โรงเรียนประชาบารุง บ้านคณะผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ 2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้ 3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี ขอบเขตของการศึกษา 1.ศึกษาอันตรายของการสูบบุหรี่ 3.ศึกษาโรคที่ตามเมื่อสูบบุหรี่ 4.ศึกษาทางการเลิกสูบบุหรี่ ได้ด้วยตนเอง
  • 6. บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุ ภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่งเป็นปลายเปิดสาหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้ สาหรับใช้ปากสูดควัน คานี้ปกติจะใช้หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจ ใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar)ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการ บดหรือซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็ก พิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล (en:cigarillo)บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษ หนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 7.  อะซีโตน (Acetone)  อะลูมิเนียม (Aluminiam)  แอมโมเนีย (Ammonia)  สารหนู (Arsenic)  เบนซีน (Benzene)  บิวเทน (Butane)  แคดเมียม (Cadmium)  คาเฟอีน (Caffeine)  คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide)  คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)  คลอโรฟอร์ม (Chloroform)  ทองแดง (Copper)  ไซยาไนด์/ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Cyanide/Hydrogen cyanide)  ดีดีที/ดีลดริน (DDT/Dieldrin)  เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethenol)  ฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde)  ตะกั่ว (Lead)  แมกนีเซียม (Magnesium)  มีเทน (Methane)  เมทิลแอลกอฮอล์ (Methanol)  ปรอท (Mercury)  นิโคตีน (Nicotine)  พอโลเนียม (Polonium)  ทาร์ (Tar)  ไวนิลคลอไรด์ (Vinyl Chloride)  โพแทสเซียมไน เตรต (Potassium nitrate) สารเคมีในบุหรี่ ไส้บุหรี่นั้น ทาจากใบยาสูบตากแห้ง นาไปผ่านกระบวนการทางเคมี และมีการเพิ่มสารอื่น ๆ ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งในจานวนนั้นมีสารเคมีจานวนมากที่ เป็นสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (en:mutagenic) และสารก่อ มะเร็ง (en:carcinogen) สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบได้แก่
  • 8. โรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ 1.โรคมะเร็งปอด เกิดจากสารมีพิษในบุหรี่ คือ" ทาร์ " 2.โรคหัวใจ และหลอดเลือด เกิดจาก สารนิโคตินในบุหรี่ 3.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และถุงลมโป่ งพอง สาเหตุสาคัญที่สุดก็คือ การสูบบุหรี่ 4. โรคแผลในกระเพาะอาหาร ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร มากขึ้นเป็น 2 เท่า ในพวกที่สูบบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่ทาให้มีภาวะไม่สมดุลในการหลั่งของ กรด และด่างในกระเพาะ 5. ผลร้ายต่อเด็กในครรภ์ และทารก มารดาที่สูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์มีผลต่อเด็ก ทารกคือ - ทารกเล็กกว่าปกติ และน้าหนักตัวเด็กเมื่อแรกเกิดต่ากว่าเด็กที่มารดาไม่สูบบุหรี่ - ระยะเวลาการตั้งครรภ์สั้นลง มีผลทาให้เด็กคลอดก่อนกาหนด และมีโอกาสเสียชีวิตได้มาก - อัตราการแท้งสูงขึ้น และค่อนข้างจะเรียนรู้ช้ากว่าปกติ - โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ และคลอดบุตรเพิ่มขึ้น
  • 9. วิธีเลิกสูบบุหรี่มีหลักการ 8 ข้อดังนี้ 1. การดูแลตัวเอง พร้อมความตั้งใจสูง กาลังใจของผู้ต้องการเลิกบุหรี่เอง และ บุคคลรอบข้าง 2. การให้สุขศึกษา เข้าคลินิกอดบุหรี่ อาจเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล 3. การใช้ยาช่วยระงับ ลด อาการเครียด เช่นยานอนหลับ 4. การใช้สารนิโคตินทดแทน ในรูปแบบต่างๆเช่นหมากฝรั่ง แผ่นแปะ ผิวหนังนิโคติน 5. การฝังเข็มช่วยลดอาการอยาก คลายอาการหงุดหงิด 6. รับคาปรึกษาจากแพทย์ 7. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง 8. การใช้สื่อต่างๆสร้างพลัง-กาลังใจ การรวมกลุ่มโปรแกรมอดบุหรี่สาหรับ ชุมชน
  • 10. วิธีที่ผู้เลิกสูบบุหรี่ได้สาเร็จแนะนาคือ เตรียมตัว ตั้งใจแน่วแน่ ว่าต้องเลิกบุหรี่ด้วยตัวเอง เตรียมความพร้อมทังร่างกายและจิตใจ - ให้จดบันทึกเวลาและเหตุผลการสูบบุหรี่ จดเหตุการณ์ที่ทาให้อยากสูบบุหรี่ เช่นการดื่มสุรา กาแฟ สูบขณะขับรถ - เปลี่ยนพฤติกรรม เช่นเก็บบุหรี่ไว้อีกที่หนึ่ง ใช้มืออีกข้างสูบแทน ขณะสูบบุหรี่ไม่ต้องทา อะไรให้นึกว่าทาไมถึงสูบ - ให้สูบนอกอาคาร - เมื่ออยากสูบบุหรี่ให้รอสัก 2- 3 นาทีคิดเรื่องอื่นเพื่อเปลี่ยนความสนใจหรือเคี้ยวหมากฝรั่ง และดื่มน้ามากๆ - ซื้อบุหรี่ครั้งละซองและซื้อชนิดที่ไม่เคยสูบ
  • 11. บทที่ 3 วิธีดาเนินการ รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีวิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.เริ่มระดมความคิดเพื่อคิดเรื่องที่จะทา 2.ศึกษาจากเว็บไซด์ 3.คิดชื่อรายงาน 4.เรียบเรียงข้อมูล 5.จัดพิมพ์รายงาน 6.เข้าเล่มรายงาน 7.นาเสนอครูผู้สอน
  • 12. บทที่ 4 ผลการดาเนินการ จากการศึกษาค้นคว้า เรื่อง มวลมหันตภัย ผู้ศึกษาได้เสนอผลการดาเนินกาศึกษา ดังนี้ สิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า 1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับจาการสูบบุหรี่ 2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่ 3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่ ประโยชน์ที่ได้รับ 1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได 2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้ 3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี
  • 13. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ รายงาน เรื่อง มวลมหันตภัยสามารถสรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ ดังนี้ สรุปผลการศึกษา การจัดทารายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย สามารถสรุปได้ดังนี้ 1.เพื่อบอกถึงอันตรายที่จะได้รับจาการสูบบุหรี่ 2.เพื่อบอกถึงโรคที่ตามมาเมื่อสูบบุหรี่ 3.เพื่อแนะนาแนวทางการเลิกสูบบุหรี่ อภิปรายผล การจัดทารายงาน เรื่องมวลมหันตภัย สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้ 1.เมื่อรู้โทษของบุหรี่แล้วสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ 2.สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนาในรายงานเล่มนี้ได้ 3.เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูกวิธี
  • 14. ข้อเสนอแนะ การจัดทารายงาน เรื่อง มวลมหันตภัย มีข้อเสนอแนะดังนี้ ดังนี้ 1.ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ 1.1 เมื่อรู้โทษสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ 1.2 สามารถนาวิธีการเลิกสูบหรี่ตามคาแนะนา 1.3 เมื่อรู้ว่าโรคที่เกิดจากการสูบหรี่เป็นอย่างไรแล้วรักษาอย่างถูก วิธี 2.ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าต่อไป 2.1 หากต้องการรู้ว่าโทษของบุหรี่มีอะไรบ้างก็สามารถนารายงาน นี้ไปศึกษาได้ 2.2หาต้องการเลิกบุหรี่ก็นารายงานเล่มนี้ไปศึกษาได้
  • 15. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2556). บุหรี่. (ออนไลน์). 11 มกราคม2557. จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B 8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88. โรคต่างๆที่เกิดขึ้นจาการสูบบุหรี่. (ออนไลน์). 11มกราคม2557. จาก http://www.srbr.in.th/Health/smoke2.htm. บทความธรรมะDhamma Articles>Review รายการ DMC. (2556). วิธีการเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง. (ออนไลน์). 11มกราคม2557. จาก http://www.dmc.tv/pages/top_of_week/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A 3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0% B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94 %E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B 8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87.html