SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
จัดทำโดย 
น.ส. วรุณพิชญ์ ศุภประสิทธ์ิ ม.6.1 เลขที่ 26 
น.ส. สิริลักษณ์ ทองสมัครพันธ์ ม.6.1 เลขที่ 32 
อำจำรย์ผู้สอน 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
วิชำ ส33102 
ปีกำรศึกษำ 2557
เมื่อวิธีการทางวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ามากขึ้น ชาวตะวันตกใน 
ยุคคริสต์ศตวรรษที่18 กล้าใช้เหตุผลมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ และ 
ทา ให้มีผู้มีความรู้ความคิดมากขึ้น และเป็นพื้นฐานให้ชาติตะวันตก 
เจริญสู่ยุคใหม่ ซึ่งยุคนี้เรียกว่า ยุคภูมิธรรม เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักการ 
คิดวิเคราะห์และพร้อมทดลองด้วยเหตุผล
Thomas Hobbes 
• เป็นชาวอังกฤษ 
• เขียนหนังสือ ลีไวอาทัน leviathan 
• แนวคิด ก่อนหน้านี้มนุษย์มีความอิสระจะทา อะไรก็ได้ทา ให้เกิดความ 
วุ่นวาย จึงต้องการคนกลางมาปกครองโดยประชาชนมีสิทธิเลือกการ 
ปกครองให้สอดคล้องกับความต้องการ 
• ฮอบบ์ สนับสนุนระบอบกษัตริย์
John Locke 
• ชาวอังกฤษ 
• เขียนหนังสือ two treatises of government 
• แนวคิด รัฐบาลต้องจัดตั้งตามความยินยอมของประชาชน ต้อง 
รับผิดชอบความเป้นอยู่ของประชาชน รัฐบาลต้องทา งานที่ให้ผล 
ประโยชน์กับประชาชน 
• เป็นรากฐานทางของประชาธิปไตยสมัยใหม่
บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์ หรือ ชำรล์ส หลุยส์ เดอ เช็กกองดำต์ 
• เชียนหนังสือ วิญญาณแห่งกฎหมาย (the spirit of laws) 
• แนวคิด กฎหมายต้องสอดคล้องกับภูมิประเทศ ขนบธรรมเนียม 
ประเพณี โดยการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญดีที่สุด และ 
การปกครองควรแยกเป็น นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ แบ่งอา นาจสร้าง 
ระบบตรวจสอบและถ่วงดุลอา นาจ เพื่อไม่ให้รัฐบาลเผด็จการ 
บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์
วอลแตร์ (ฟรองซัว มำรี อำรูเอ) 
• ชาวผรั่งเศส 
• ชื่นชมระบบการปกครองของอังกฤษ 
• ต่อต้านระบบเผด็จการ 
• เรียกร้องสิทธิในการแสดงออก 
• เขียนหนังสือ จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายเรื่องเมืองอังกฤษ โจมตีกฏ 
ต่างของฝรั่งเศสที่ล้าสมัย 
• เชื่อว่าเหตุผลและสติปัญญาสามารถแก้ไขปัญหาสังคมได้ 
• ต่อต้านความอยุติธรรมในสังคม และความไร้ความขันติธรรมทางศาสนา
ฌอง ฌำคส์ รุสโซ 
• โจมตีการบรอหารงานที่ล้มเหลวของรัฐบาล 
• เขียนหนังสือสัญญาประชาสังคม งานเขียนนี้ทา ให้รูโซได้ชื่อว่าเป็นผู้ 
วางรากฐานอา นาจอธิปไตยของประชาชน
ปี ค.ศ. 1762 พิมพ์หนังสือ สัญญา 
ประชาคม ( Social Contract ) ซึ่ง 
เป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียง 
ให้กับฌอง ฌำคส์ รุสโซ 
• แนวคิด มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ ควรยกเลิกข้อผูกพันที่มนุษย์ขาด 
อิสระและตกอยู่ใต้อา นาจของผู้ปกครอง โดยตั้งรูปแบบการปกครอง 
ใหม่คือ เจตจา นงร่วมของประชาชน (general will ) เป็นอา นาจสูงสุด คือ 
ให้ประชาชนตัดสินปัญหาโดยคา นึงถึงประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่า 
ส่วนตัว
ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับกษัตริย์เกิดขึ้นหลังจากการสิ้นพระชนม์ 
ของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทท1ี่ เพราะใช้พระราชอา นาจเกินขอบเขต 
และใช้เงินแผ่นดินฟุ่มเฟือย จนกระทั่งเปิดการปฏิวัติในสมัยพระเจ้าเจมส์ที่2 
และให้พระเจ้าวิลเลียมที่3ขึ้นครองราชย์ถือว่าเป็นการปฎิวัติที่รุ่งโรจน์ 
เพราะไม่ต้องเสียเลือดเนื้อ และได้การสนับสนุนจากทุกชนชั้น 
พระเจ้าเจมส์ที่ 2 
สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทที่1
อังกฤษจึงได้ชื่อว่าเป็นแม่แบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษร 
จึงปฎิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎหมายจนมาถึงปัจจุบัน
ชาวอังกฤษที่อพยพไปตั้งรากฐานที่อเมริกา มีความผูกพันกับเมืองแม่ 
จึงนับถือกษัตริย์ของอังกฤษ ต่อมาอังกฤษทา สงครามยืดเยื้อกับฝรั่งเศส 
ต้องใช้เงินจา นวนมาก จึงมาขูดรีดทางการค้ากับอาณานิคม ชาวอาณา 
นิคมเกิดความไม่พอใจจึงรวมตัวกันประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทาง 
อังกฤษส่งทหารมาปราบจึงเรียนกว่าสงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน 
ชาวอาณานิคมได้รับความช่วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็นฝ่ายมีชัย จึงตั้ง 
ประเทศใหม่ว่าสหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
ประธานาธิบดีอับบราฮัม ลินคอร์น 
เป็นผู้มีชื่อเสียงในการส่งเสริม 
ระบอบประชาธิปไตย และความ 
เสมอภาคในหมู่ประชาชน ได้ 
ประกาศยกเลิกทาสและให้ความ 
เสมอภาคแก่ชาวผิวสี
เป็นการทา ลายระบบเก่าของฝรั่งเศส แต่ก่อนฝรั่งเศสมีสภาฐานันดร 
3 สภาคือ พระ ขุนนางปละประชาชน พระกับขุนนนางเป็นสภาไฮโซจะ 
คัดค้านสภาประชาชน ในช่วงพระเจ้าหลุยส์ที่16 ฝรั่งเศสใช่เงินในการ 
สงครามมากแต่พระราชวังยังหรูหรา ประชาชนไม่มีอันจะกินแต่ยังมา 
เก็บภาษีเพิ่มทา ให้ประชาชนโมโหรวมตัวกัน พระเจ้าหลุยส์ที่16จึงยกเลิก 
สภาฐานันดร ประชาชนฝรั่งเศสจึงรวมตัวกันตั้งสมัชชาแห่งชาติแล้ว 
ประกาศคา ปฏิญญาที่สนามเทนนิสข้างพระราชวังแวร์ซาย 
พระรำชวังแวร์ซำย
คา ขวัญการปฏิวัติฝรั่งเศส คือ 
เสรีภาพ เสมอภาคและภราดรภาพ 
เหตการณ์14 กรกฎาคม 1789 ประชาชนทา ลายคุกบาสติลย์ 
ซึ่งเป็นสัญลัษณ์ของความไม่ยุติธรรม ถือเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติ 
ต่อมาเป็นวันชาติของฝรั่งเศส
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย

More Related Content

What's hot

คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้duangchan
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยleemeanshun minzstar
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

What's hot (20)

คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f02-1page
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทย
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 

Similar to ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนsurasak123
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนsurasak123
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียอารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียPIMNAPA NARAJARUPA
 

Similar to ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย (7)

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
 
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อนการดูเวลาของคนสมัยก่อน
การดูเวลาของคนสมัยก่อน
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมียอารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
อารยธรรมโลกสมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย
 

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย

  • 1. จัดทำโดย น.ส. วรุณพิชญ์ ศุภประสิทธ์ิ ม.6.1 เลขที่ 26 น.ส. สิริลักษณ์ ทองสมัครพันธ์ ม.6.1 เลขที่ 32 อำจำรย์ผู้สอน อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล วิชำ ส33102 ปีกำรศึกษำ 2557
  • 2.
  • 3. เมื่อวิธีการทางวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ามากขึ้น ชาวตะวันตกใน ยุคคริสต์ศตวรรษที่18 กล้าใช้เหตุผลมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ และ ทา ให้มีผู้มีความรู้ความคิดมากขึ้น และเป็นพื้นฐานให้ชาติตะวันตก เจริญสู่ยุคใหม่ ซึ่งยุคนี้เรียกว่า ยุคภูมิธรรม เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักการ คิดวิเคราะห์และพร้อมทดลองด้วยเหตุผล
  • 4.
  • 5. Thomas Hobbes • เป็นชาวอังกฤษ • เขียนหนังสือ ลีไวอาทัน leviathan • แนวคิด ก่อนหน้านี้มนุษย์มีความอิสระจะทา อะไรก็ได้ทา ให้เกิดความ วุ่นวาย จึงต้องการคนกลางมาปกครองโดยประชาชนมีสิทธิเลือกการ ปกครองให้สอดคล้องกับความต้องการ • ฮอบบ์ สนับสนุนระบอบกษัตริย์
  • 6. John Locke • ชาวอังกฤษ • เขียนหนังสือ two treatises of government • แนวคิด รัฐบาลต้องจัดตั้งตามความยินยอมของประชาชน ต้อง รับผิดชอบความเป้นอยู่ของประชาชน รัฐบาลต้องทา งานที่ให้ผล ประโยชน์กับประชาชน • เป็นรากฐานทางของประชาธิปไตยสมัยใหม่
  • 7. บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์ หรือ ชำรล์ส หลุยส์ เดอ เช็กกองดำต์ • เชียนหนังสือ วิญญาณแห่งกฎหมาย (the spirit of laws) • แนวคิด กฎหมายต้องสอดคล้องกับภูมิประเทศ ขนบธรรมเนียม ประเพณี โดยการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญดีที่สุด และ การปกครองควรแยกเป็น นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ แบ่งอา นาจสร้าง ระบบตรวจสอบและถ่วงดุลอา นาจ เพื่อไม่ให้รัฐบาลเผด็จการ บำรอน เดอ มองเตสกิเออร์
  • 8. วอลแตร์ (ฟรองซัว มำรี อำรูเอ) • ชาวผรั่งเศส • ชื่นชมระบบการปกครองของอังกฤษ • ต่อต้านระบบเผด็จการ • เรียกร้องสิทธิในการแสดงออก • เขียนหนังสือ จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายเรื่องเมืองอังกฤษ โจมตีกฏ ต่างของฝรั่งเศสที่ล้าสมัย • เชื่อว่าเหตุผลและสติปัญญาสามารถแก้ไขปัญหาสังคมได้ • ต่อต้านความอยุติธรรมในสังคม และความไร้ความขันติธรรมทางศาสนา
  • 9. ฌอง ฌำคส์ รุสโซ • โจมตีการบรอหารงานที่ล้มเหลวของรัฐบาล • เขียนหนังสือสัญญาประชาสังคม งานเขียนนี้ทา ให้รูโซได้ชื่อว่าเป็นผู้ วางรากฐานอา นาจอธิปไตยของประชาชน
  • 10. ปี ค.ศ. 1762 พิมพ์หนังสือ สัญญา ประชาคม ( Social Contract ) ซึ่ง เป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียง ให้กับฌอง ฌำคส์ รุสโซ • แนวคิด มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ ควรยกเลิกข้อผูกพันที่มนุษย์ขาด อิสระและตกอยู่ใต้อา นาจของผู้ปกครอง โดยตั้งรูปแบบการปกครอง ใหม่คือ เจตจา นงร่วมของประชาชน (general will ) เป็นอา นาจสูงสุด คือ ให้ประชาชนตัดสินปัญหาโดยคา นึงถึงประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่า ส่วนตัว
  • 11.
  • 12. ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับกษัตริย์เกิดขึ้นหลังจากการสิ้นพระชนม์ ของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทท1ี่ เพราะใช้พระราชอา นาจเกินขอบเขต และใช้เงินแผ่นดินฟุ่มเฟือย จนกระทั่งเปิดการปฏิวัติในสมัยพระเจ้าเจมส์ที่2 และให้พระเจ้าวิลเลียมที่3ขึ้นครองราชย์ถือว่าเป็นการปฎิวัติที่รุ่งโรจน์ เพราะไม่ต้องเสียเลือดเนื้อ และได้การสนับสนุนจากทุกชนชั้น พระเจ้าเจมส์ที่ 2 สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทที่1
  • 14.
  • 15. ชาวอังกฤษที่อพยพไปตั้งรากฐานที่อเมริกา มีความผูกพันกับเมืองแม่ จึงนับถือกษัตริย์ของอังกฤษ ต่อมาอังกฤษทา สงครามยืดเยื้อกับฝรั่งเศส ต้องใช้เงินจา นวนมาก จึงมาขูดรีดทางการค้ากับอาณานิคม ชาวอาณา นิคมเกิดความไม่พอใจจึงรวมตัวกันประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทาง อังกฤษส่งทหารมาปราบจึงเรียนกว่าสงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน ชาวอาณานิคมได้รับความช่วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็นฝ่ายมีชัย จึงตั้ง ประเทศใหม่ว่าสหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
  • 16. ประธานาธิบดีอับบราฮัม ลินคอร์น เป็นผู้มีชื่อเสียงในการส่งเสริม ระบอบประชาธิปไตย และความ เสมอภาคในหมู่ประชาชน ได้ ประกาศยกเลิกทาสและให้ความ เสมอภาคแก่ชาวผิวสี
  • 17.
  • 18. เป็นการทา ลายระบบเก่าของฝรั่งเศส แต่ก่อนฝรั่งเศสมีสภาฐานันดร 3 สภาคือ พระ ขุนนางปละประชาชน พระกับขุนนนางเป็นสภาไฮโซจะ คัดค้านสภาประชาชน ในช่วงพระเจ้าหลุยส์ที่16 ฝรั่งเศสใช่เงินในการ สงครามมากแต่พระราชวังยังหรูหรา ประชาชนไม่มีอันจะกินแต่ยังมา เก็บภาษีเพิ่มทา ให้ประชาชนโมโหรวมตัวกัน พระเจ้าหลุยส์ที่16จึงยกเลิก สภาฐานันดร ประชาชนฝรั่งเศสจึงรวมตัวกันตั้งสมัชชาแห่งชาติแล้ว ประกาศคา ปฏิญญาที่สนามเทนนิสข้างพระราชวังแวร์ซาย พระรำชวังแวร์ซำย
  • 19. คา ขวัญการปฏิวัติฝรั่งเศส คือ เสรีภาพ เสมอภาคและภราดรภาพ เหตการณ์14 กรกฎาคม 1789 ประชาชนทา ลายคุกบาสติลย์ ซึ่งเป็นสัญลัษณ์ของความไม่ยุติธรรม ถือเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติ ต่อมาเป็นวันชาติของฝรั่งเศส