SlideShare a Scribd company logo
การไทเทรต(Titration) เป็นการวิเคราะห์หาปริมาตรของ สารที่
ไม่ทราบความเข้มข้น ด้วยการวัดปริมาณของสารละลาย ซึ่งปริมาตรของ
สารละลายจะมีความสัมพันธ์กับปริมาณสารโดยทาปฏิกิริยาที่ทราบปริมาณ
หรือความเข้มข้นที่แน่นอน
การไทเทรตกรด-เบส
คือ กระบวนการหาปริมาณสาร โดยวิธีใช้สารละลายมาตรฐานที่ทราบ
ค่าความเข้มข้นที่แน่นอน ให้ทาปฏิกิริยากับสารตัวอย่าง โดยอาศัย
หลักการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบสที่เข้าทาปฏิกิริยา
กันพอดี ทาให้คานวณหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารตัวอย่าง
วิธีการไทเทรตกรด-เบส
คือ นาสารละลายกรดหรือเบสตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์หาปริมาณ
มาทาการไทเทรตกับสารละลายเบสหรือกรดมาตรฐานที่ทราบค่า
ความเข้มข้นที่แน่นอน
ถ้าสารละลายตัวอย่างเป็นสารละลายกรด ก็ต้องใช้สารละลาย
มาตรฐานเป็นเบส
ถ้าใช้สารละลายตัวอย่างเป็นเบส ก็ต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็น
กรด
อินดิเคเตอร์สาหรับการไทเทรต
อินดิเคเตอร์กรด-เบส ที่เหมาะสมกับปฏิกิริยาการไทเทรตจะต้องมีค่า
pH ที่จุดกึ่งกลางช่วงการเปลี่ยนสีใกล้เคียงหรือเท่ากับ pH ที่จุด
สมมูลของปฏิกิริยา
จุดสมมูล คือ จุดที่กรดและเบสทาปฏิกิริยาพอดีกัน
จุดยุติ คือ จุดที่หยุดการไทเทรต หรือ จุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี
อินดิเคเตอร์สาหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่
อินดิเคเตอร์สาหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่
อินดิเคเตอร์สาหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน
ช่วง pH ของอินดิเคเตอร์
การไทเทรตปฏิกิริยารีดอกซ์
มีประโยชน์ในการวิเคราะห์สารอนินทรีย์ที่มีเลขออกซิเดชันหลายค่า
และหมู่ฟังก์ชันของสารอินทรีย์ที่สามารถถูกออกซิไดซ์ได้ เส้นโค้ง
ของการไทเทรตปฏิกิริยารีดอกซ์ สร้างจากค่าศักย์ของสารละลาย
กับปริมาณไทแทรนต์ที่เติมลงไป
การไทเทรตปฏิกิริยาเชิงซ้อน
เป็นการปริมาณหาค่าไอออนของโลหะโดยนามาทาปฏิกิริยากับสารที่
มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โดยไอออนของโลหะต่างๆจะเป็นตัวรับ
อิเล็กตรอนแล้วเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อน
การคานวณหาปริมาณสารตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์จาก
การไทเทรต ข้อมูลที่ได้จากการไทเทรตที่จะใช้สาหรับการคิด
คานวณหาปริมาณสารที่ต้องการวิเคราะห์ ประกอบด้วย
1. ปริมาตรของสารละลายตัวอย่างที่ใช้ในการไทเทรต
2. ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ในการไทเทรต
(ทราบความเข้มข้นอยู่แล้ว)
3. สมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างสารละลายตัวอย่างกับ
สารละลายมาตรฐาน
1. บรรจุสารละลายมาตรฐานลงในบิวเร็ต
2. ใช้ปีเปตดูดสารละลายตัวอย่างแล้วใส่ลงในขวดรูปชมพู่
3. หยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยด ลงในสารละลายตัวอย่าง
4. เปิดก๊อกที่บิวเร็ตเพื่อปล่อยให้สารละลายมาตรฐานหยดลงไปทาปฏิกิริยากับ
สารละลายตัวอย่าง ควรวางกระดาษขาวเอาไว้บนโต๊ะด้วย เพื่อช่วยให้สังเกต
การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ได้ง่ายขึ้น
5. ควรไทเทรตซ้าอย่างน้อย 3 ครั้ง แล้วนาค่าเฉลี่ยมาคานวณหาปริมาณสาร
หาปริมาณสารในชีวิตประจาวัน
หาปริมาณโปรตีนในอาหาร
หาปริมาณกรดอ่อนในน้าส้ม
หาปริมาณสารที่เป็นสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ และสารชีวะโมเลกุล

More Related Content

What's hot

การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
Thanaporn Prommas
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
sukanya petin
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
neeranuch wongkom
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
Preeyapat Lengrabam
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
tanongsak
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 

What's hot (20)

การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 

Titration