SlideShare a Scribd company logo
ผลการประชุมเครือข่าย 
นักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน 
ดร.สุระชัย ชูผกา 
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 
อศินา พรวศิน 
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและ 
วิชาชีพสื่อมวลชน 
§ ปฐมบท ปฏิวัติคนข่าว 
โดย คุณประดิษฐ ์เรืองดิษฐ์ 
นายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 
§ บรรยายพิเศษ เรื่อง “ทำไมต้องปฏิวัติคนข่าว และอภิวัฒน์สื่อ” 
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 
อธิการบดี มหาวิทยาลัยรามคำแหง 
§ เสวนาเรื่อง “สร้างสมดุลอย่างไร ให้สื่อมีคุณภาพ และอยู่รอดทางธุรกิจ” 
§ เสวนา เรื่อง “วางกรอบความสัมพันธ์นักข่าว และนักโฆษณา ประชาสัมพันธ์ 
อย่างไร ให้เหมาะสม” 
§ เสวนา เรื่อง “ทางเลือกในการกำกับดูแลกันเองของสื่อ”
ปฐมบท ปฏิวัติคนข่าว 
"ปฏิวัติคนข่าว อภิวัฒน์สื่อ" คือ การจัดความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างสื่อ กับ 
5 stakeholders => รัฐ/เจ้าของธุรกิจสื่อ/สังคม/ธุรกิจโฆษณา/นักข่าว 
รัฐ 
ปฏิวัติคนข่าว 
อภิวัฒน์สื่อ 
เจ้าของ 
ธุรกิจสื่อ 
นักข่าว 
ธุรกิจ สังคม 
โฆษณา 
ปฏิวัติคนข่าว อภิวัฒน์สื่อ 
คนข่าว: 
- กรรมกรข่าว 
- เสรีภาพ vs ความรับผิดชอบ 
- คุณภาพ/ ความเป็ฯมืออาชีพ 
- การทำข่าวหลายแพลตฟอร์ม ของ 
นักข่าวคนเดียว มีผลทำให้คุณภาพ 
การทำข่าวลดลงหรือไม่ … เป็น 
ประเด็นที่ต้องตั้งคำถาม 
องค์กรสื่อ: 
- ความเป็นอิสระจากนายทุน/รัฐ 
โจทย์ใหญ่ของสื่อ คือ ต้องเป็นอิสระ 
จากอำนาจรัฐ และอำนาจทุน (รวม 
ทั้งฝ่ายการตลาด ฝ่ายพีอาร์)
“ทำไมต้องปฏิวัติคนข่าว และอภิวัฒน์ 
สื่อ” 
"เสรีภาพ" กับ "ทุน" สวนทางกันหรือไม่ 
หัวใจของการอภิวัฒน์สื่อ คือ จริยธรรม = ความรับผิดชอบของสื่อ 
“การตรวจสอบความจริงในประเด็นข่าว” ของสื่อมวลชนก่อนนำเสนอ ถือเป็น 
”จริยธรรม” ที่สื่อควรจะต้องมี 
“บทบาทของสื่อ” ในการตรวจสอบข้อมูล อะไรคือ "จริง" vs "เท็จ" ระหว่าง 2 ฝ่าย 
ข้อมูลไหนจริง คือ ความท้าทายของสื่อ
เสวนาเรื่อง “สร้างสมดุลอย่างไร ให้สื่อมี 
คุณภาพ และอยู่รอดทางธุรกิจ” 
คุณภาพ 
ความอยู่รอดทางธุรกิจ 
"good journalism is good business" 
§ ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape) เปลี่ยน (โดยเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภค) => แต่ กระบวนการวารสารศาสตร์ (Journalism) ไม่เปลี่ยน 
§ Online/ Social Media กลายเป็น Mass Media 
§ ผู้รับสาร (Audiences/ People) กลายเป็น ผู้ผลิต/ผู้ส่งสาร (Citizen Journalist/Online Influencers) 
§ ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape) เปลี่ยน => “นักข่าว” และ “องค์กรสื่อ” ต้องปรับตัวอย่างไร 
§ นักข่าว => ต้องรู้ลึก เชี่ยวชาญ (expertise) 
§ "นักข่าว" วันนี้ (ยุคนี้ยุคที่ใครๆ ก็เป็นนักข่าวได้) ต้องเป็น "ผู้เชี่ยวชาญ" ไม่ใช่เป็นแค่นักข่าว 
§ องค์กรสื่อ => ต้อง focus และเป็น segmented media 
§ คุณภาพข่าว 
§ คน 
§ เนื้อหา 
§ องค์กร 
คน (มืออาชีพ/มีเสรีภาพ) 
เนื้อหา (ความจริง/ตรวจสอบข้อมูล) 
องค์กร (ต้อง focus/ segmented media/บริหาร resurce/business diversification)
เสวนา เรื่อง “วางกรอบความสัมพันธ์นักข่าว และนัก 
โฆษณา ประชาสัมพันธ์อย่างไร ให้เหมาะสม” 
ข่าว 
โฆษณา(แฝง) 
นักข่าว นักโฆษณานัก 
ประชาสัมพันธ์ 
• ปัจจุบันอำนาจการต่อรองของธุรกิจ/ 
สินค้า มากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจาก 
ปัจจุบัน "จำนวน" สื่อมีเพิ่มมากขึ้น 
• การหาสมดุลระหว่าง "ข่าว" กับ 
"โฆษณา" หรือ "โฆษณาแฝง" ให้ดี ไม่ 
งั้นจะเกิดการเทไปทางโฆษณามากขึ้น 
• การประชาสัมพันธ์ คือ การพูดถึง 
สินค้า/บริษัท ผ่าน 3rd party ซึ่งก็คือ 
สื่อมวลชน ซึ่งมี credibility ที่จะกรอง 
ข้อมูลก่อนนำเสนอ 
• "Advertorial" => ทำอย่างไรให้โฆษณา 
ดูเหมือนข่าว =" เหตุเพราะ "ข่าว" มี 
พลังมากกว่า "โฆษณา” 
• เมืองไทยถึงเวลาหรือยังที่ต้องมาคุย 
เรื่องกรอบ "ข่าว" vs "โฆษณา" ในรูป 
แบบต่างๆ เหล่านี้ 
• ปัญหาจริยธรรมขึ้นกับ 3 อย่าง: 1.ค่านิยม 
2.บริบท 3.จริยธรรมเป็นสีเทามากกว่า 
ขาว/ดำ 
• "ฝ่ายสื่อ" vs "ฝ่ายสินค้า/ทุน" มี mission 
ร่วมกัน คือ "การขาย คุณค่า" ให้คนรับ 
สาร ไม่ใช่ "ขายข่าว" หรือ "ขายสินค้า" 
• วงการสื่อที่สำคัญ คือ การรักษาไว้ซึ่ง 
"ความน่าเชื่อถือ" ท่ามกลางสังคม 
กระแส(บุคลิกของสังคมไทย) =>ค.ท้าทาย 
ระว่าง rating กับค.น่าเชื่อถือ 
• ความสัมพันธ์ระหว่าง "นักข่าว" กับ " นัก 
ประชาสัมพันธ์ " => ปฏิบัติต่อกันอย่างมือ 
อาชีพ ต้อง "ไว้ตัว" และ "รักษาระยะ 
ห่าง”
เสวนา เรื่อง “ทางเลือกในการกำกับ 
ดูแลกันเองของสื่อ” 
§ กำกับดูแลกันเอง แต่ปรับรายละเอียดในกระบวนการวิธีการในการดำเนินงาน และ 
รายละเอียด เช่น พรบ.ต่างๆ เพิ่มเติม 
§ Co-regulation ทำได้เฉพาะประเภทเนื้อหา แต่ไม่มีประเทศไหนใช้กับด้านข่าว 
§ การปฏิรูปและการหาวิธีการกำกับดูแลตัวเอง ต้องเข้าใจ Media Landscape และความ 
หลากหลายของสื่อ เพื่อเลือกวิธีการ และกระบวนการที่เหมาะสม ซึ่งไม่ใช่สื่อทุกประเภทจะ 
ใช้กรอบเดียวกันได้ทั้งหมด เพราะมีความแตกต่าง 
§ การกำกับดูแลกันเองของสื่อที่ชาวบ้านมองว่าล้มเหลวเพราะ ก้าวไม่ทันความเปลี่ยนแปลง 
ของ Media Landscape และ โลกสื่อดิจิทัล 
§ ทางเลือกในการกำกับดูแลกันเอง 
1. กม.สนับสนุนการดูแลกันเองผ่านหน้าที่บก.บนพื้นฐานสิทธิในการแสดงออกของ 
ประชาชน 
2. การมีหลักสูตรวิชาชีพบรรณาธิการ 
3. จริยธรรม กฎหมาย การบริหารจัดการ 
4. การมีใบอนุญาตผู้ปฏิบัติหน้าที่ บก. โดยสภาวิชาชีพ

More Related Content

Similar to สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติคนข่าว อภิวั

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
sofuwan
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of Durex
Wiwan
 
IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC Durex
Wiwan
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
Tarinee Bunkloy
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
maruay songtanin
 
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
Kochakorn Khampimarn
 

Similar to สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติคนข่าว อภิวั (20)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of Durex
 
IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC Durex
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
Social media and jr
Social media and jrSocial media and jr
Social media and jr
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
ใบความรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
 
News
NewsNews
News
 
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้  มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 
Visualizing for impact final
Visualizing for impact finalVisualizing for impact final
Visualizing for impact final
 
แผนธุรกิจ วิชาผู้ประกอบการไฮเทค
แผนธุรกิจ วิชาผู้ประกอบการไฮเทคแผนธุรกิจ วิชาผู้ประกอบการไฮเทค
แผนธุรกิจ วิชาผู้ประกอบการไฮเทค
 
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
ADM3306 The Creative process of Kasikornbank: How are you doing?
 
TH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channelsTH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channels
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 

More from Asina Pornwasin

ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Asina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
Asina Pornwasin
 

More from Asina Pornwasin (20)

เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
 
Sm4 pr
Sm4 prSm4 pr
Sm4 pr
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 

สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติคนข่าว อภิวั

  • 1. ผลการประชุมเครือข่าย นักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน ดร.สุระชัย ชูผกา มหาวิทยาลัยรามคำแหง อศินา พรวศิน หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
  • 2. ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและ วิชาชีพสื่อมวลชน § ปฐมบท ปฏิวัติคนข่าว โดย คุณประดิษฐ ์เรืองดิษฐ์ นายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย § บรรยายพิเศษ เรื่อง “ทำไมต้องปฏิวัติคนข่าว และอภิวัฒน์สื่อ” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยรามคำแหง § เสวนาเรื่อง “สร้างสมดุลอย่างไร ให้สื่อมีคุณภาพ และอยู่รอดทางธุรกิจ” § เสวนา เรื่อง “วางกรอบความสัมพันธ์นักข่าว และนักโฆษณา ประชาสัมพันธ์ อย่างไร ให้เหมาะสม” § เสวนา เรื่อง “ทางเลือกในการกำกับดูแลกันเองของสื่อ”
  • 3. ปฐมบท ปฏิวัติคนข่าว "ปฏิวัติคนข่าว อภิวัฒน์สื่อ" คือ การจัดความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างสื่อ กับ 5 stakeholders => รัฐ/เจ้าของธุรกิจสื่อ/สังคม/ธุรกิจโฆษณา/นักข่าว รัฐ ปฏิวัติคนข่าว อภิวัฒน์สื่อ เจ้าของ ธุรกิจสื่อ นักข่าว ธุรกิจ สังคม โฆษณา ปฏิวัติคนข่าว อภิวัฒน์สื่อ คนข่าว: - กรรมกรข่าว - เสรีภาพ vs ความรับผิดชอบ - คุณภาพ/ ความเป็ฯมืออาชีพ - การทำข่าวหลายแพลตฟอร์ม ของ นักข่าวคนเดียว มีผลทำให้คุณภาพ การทำข่าวลดลงหรือไม่ … เป็น ประเด็นที่ต้องตั้งคำถาม องค์กรสื่อ: - ความเป็นอิสระจากนายทุน/รัฐ โจทย์ใหญ่ของสื่อ คือ ต้องเป็นอิสระ จากอำนาจรัฐ และอำนาจทุน (รวม ทั้งฝ่ายการตลาด ฝ่ายพีอาร์)
  • 4. “ทำไมต้องปฏิวัติคนข่าว และอภิวัฒน์ สื่อ” "เสรีภาพ" กับ "ทุน" สวนทางกันหรือไม่ หัวใจของการอภิวัฒน์สื่อ คือ จริยธรรม = ความรับผิดชอบของสื่อ “การตรวจสอบความจริงในประเด็นข่าว” ของสื่อมวลชนก่อนนำเสนอ ถือเป็น ”จริยธรรม” ที่สื่อควรจะต้องมี “บทบาทของสื่อ” ในการตรวจสอบข้อมูล อะไรคือ "จริง" vs "เท็จ" ระหว่าง 2 ฝ่าย ข้อมูลไหนจริง คือ ความท้าทายของสื่อ
  • 5. เสวนาเรื่อง “สร้างสมดุลอย่างไร ให้สื่อมี คุณภาพ และอยู่รอดทางธุรกิจ” คุณภาพ ความอยู่รอดทางธุรกิจ "good journalism is good business" § ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape) เปลี่ยน (โดยเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภค) => แต่ กระบวนการวารสารศาสตร์ (Journalism) ไม่เปลี่ยน § Online/ Social Media กลายเป็น Mass Media § ผู้รับสาร (Audiences/ People) กลายเป็น ผู้ผลิต/ผู้ส่งสาร (Citizen Journalist/Online Influencers) § ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape) เปลี่ยน => “นักข่าว” และ “องค์กรสื่อ” ต้องปรับตัวอย่างไร § นักข่าว => ต้องรู้ลึก เชี่ยวชาญ (expertise) § "นักข่าว" วันนี้ (ยุคนี้ยุคที่ใครๆ ก็เป็นนักข่าวได้) ต้องเป็น "ผู้เชี่ยวชาญ" ไม่ใช่เป็นแค่นักข่าว § องค์กรสื่อ => ต้อง focus และเป็น segmented media § คุณภาพข่าว § คน § เนื้อหา § องค์กร คน (มืออาชีพ/มีเสรีภาพ) เนื้อหา (ความจริง/ตรวจสอบข้อมูล) องค์กร (ต้อง focus/ segmented media/บริหาร resurce/business diversification)
  • 6. เสวนา เรื่อง “วางกรอบความสัมพันธ์นักข่าว และนัก โฆษณา ประชาสัมพันธ์อย่างไร ให้เหมาะสม” ข่าว โฆษณา(แฝง) นักข่าว นักโฆษณานัก ประชาสัมพันธ์ • ปัจจุบันอำนาจการต่อรองของธุรกิจ/ สินค้า มากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจาก ปัจจุบัน "จำนวน" สื่อมีเพิ่มมากขึ้น • การหาสมดุลระหว่าง "ข่าว" กับ "โฆษณา" หรือ "โฆษณาแฝง" ให้ดี ไม่ งั้นจะเกิดการเทไปทางโฆษณามากขึ้น • การประชาสัมพันธ์ คือ การพูดถึง สินค้า/บริษัท ผ่าน 3rd party ซึ่งก็คือ สื่อมวลชน ซึ่งมี credibility ที่จะกรอง ข้อมูลก่อนนำเสนอ • "Advertorial" => ทำอย่างไรให้โฆษณา ดูเหมือนข่าว =" เหตุเพราะ "ข่าว" มี พลังมากกว่า "โฆษณา” • เมืองไทยถึงเวลาหรือยังที่ต้องมาคุย เรื่องกรอบ "ข่าว" vs "โฆษณา" ในรูป แบบต่างๆ เหล่านี้ • ปัญหาจริยธรรมขึ้นกับ 3 อย่าง: 1.ค่านิยม 2.บริบท 3.จริยธรรมเป็นสีเทามากกว่า ขาว/ดำ • "ฝ่ายสื่อ" vs "ฝ่ายสินค้า/ทุน" มี mission ร่วมกัน คือ "การขาย คุณค่า" ให้คนรับ สาร ไม่ใช่ "ขายข่าว" หรือ "ขายสินค้า" • วงการสื่อที่สำคัญ คือ การรักษาไว้ซึ่ง "ความน่าเชื่อถือ" ท่ามกลางสังคม กระแส(บุคลิกของสังคมไทย) =>ค.ท้าทาย ระว่าง rating กับค.น่าเชื่อถือ • ความสัมพันธ์ระหว่าง "นักข่าว" กับ " นัก ประชาสัมพันธ์ " => ปฏิบัติต่อกันอย่างมือ อาชีพ ต้อง "ไว้ตัว" และ "รักษาระยะ ห่าง”
  • 7. เสวนา เรื่อง “ทางเลือกในการกำกับ ดูแลกันเองของสื่อ” § กำกับดูแลกันเอง แต่ปรับรายละเอียดในกระบวนการวิธีการในการดำเนินงาน และ รายละเอียด เช่น พรบ.ต่างๆ เพิ่มเติม § Co-regulation ทำได้เฉพาะประเภทเนื้อหา แต่ไม่มีประเทศไหนใช้กับด้านข่าว § การปฏิรูปและการหาวิธีการกำกับดูแลตัวเอง ต้องเข้าใจ Media Landscape และความ หลากหลายของสื่อ เพื่อเลือกวิธีการ และกระบวนการที่เหมาะสม ซึ่งไม่ใช่สื่อทุกประเภทจะ ใช้กรอบเดียวกันได้ทั้งหมด เพราะมีความแตกต่าง § การกำกับดูแลกันเองของสื่อที่ชาวบ้านมองว่าล้มเหลวเพราะ ก้าวไม่ทันความเปลี่ยนแปลง ของ Media Landscape และ โลกสื่อดิจิทัล § ทางเลือกในการกำกับดูแลกันเอง 1. กม.สนับสนุนการดูแลกันเองผ่านหน้าที่บก.บนพื้นฐานสิทธิในการแสดงออกของ ประชาชน 2. การมีหลักสูตรวิชาชีพบรรณาธิการ 3. จริยธรรม กฎหมาย การบริหารจัดการ 4. การมีใบอนุญาตผู้ปฏิบัติหน้าที่ บก. โดยสภาวิชาชีพ