SlideShare a Scribd company logo
แนวทางการรักษา
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบบ่อย
สาหรับนักศึกษาแพทย์และแพทย์ประจาบ้าน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงเจนจิต ฉายะจินดา
หน่วยโรคติดเชื้อทางนรีเวชและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สตรี
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ตุลาคม 2556)
การวินิจฉัยและการรักษาโรคติดเชื้อที่พบบ่อยในสูติ-นรีเวชกรรม
โรคติดเชื้อทางสูติ-นรีเวชกรรมเป็นภาวะที่พบได้บ่อย และเป็นสาเหตุที่นาไปสู่การเสียชีวิตได้ นักศึกษาแพทย์และแพทย์
ประจาบ้านควรที่จะสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ตั้งแต่การตรวจเพื่อวินิจฉัย จนถึงให้การรักษาอย่างถูกต้อง
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรี (reproductive tract infections; RTIs) อาจเป็น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
(sexually transmitted infections; STIs) หรือ โรคที่ไม่ได้ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (non-sexually transmitted infections; non-
STIs) สาหรับคาว่า sexually transmitted diseases (STDs) เป็นคาที่ใช้สาหรับกรณีที่การติดเชื้อนั้นมีอาการทางคลินิก
สาหรับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นั้น หมายถึง โรคที่ติดต่อถึงกันโดยผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างบุรุษกับสตรี หรือ
ระหว่างเพศเดียวกันในกรณีของรักร่วมเพศ โดยบางโรคยังสามารถถ่ายทอดจากมารดาสู่ทารกได้ด้วย
อาการแสดงของโรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรี แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ genital discharge, genital ulcer,
miscellaneous ดังนี้
Genital discharge Gonorrhea
Vaginal trichomoniasis
Fungal vaginitis
Non-gonococcal cervicitis
Bacterial vaginosis
Genital lesion Syphilis
Chancroid
Lymphogranuloma venereum
Granuloma inguinale/ Donovanosis
Herpes genitalis
Condyloma acuminata
Molluscum contagiosum
Miscellaneous Pelvic inflammatory disease (PID)
Human immunodeficiency virus (HIV/ AIDs)*
Ectoparasitic infestation เช่น scabies, Pediculosis Pubis infestation
Bartholin abscess
*Human immunodeficiency virus (HIV/ AIDs) มีการจัดการเรียนการสอนในอีกบทเรียน
แนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มารับการตรวจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
1. ซักประวติ เพื่อการวิินิิจฉัยโรค ประกอบด้วย อาการสิาคัญ อาการริ่วม พฤติิกรรมการมิีเพศสิัมพิันธ์
จิานวนคู่นอน
เพศของคู่นอน ช่องทางในการมีเพศสิัมพันธ์ เชิ่น ทางปาก ทางทวารหนัก เป็ นต้น การใชิ้ถิุ งยางอนามัย
พฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ ประวัติการแพ้ยา และประวัติการรักษากิ่อนมาพบแพทยิ์ครั้งนี้รวมถึงการใช้ยาปฏิชีวนะรักษา
โรค
อิืิ่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกัน ประวัติการใช้สารเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เคริืิ่องดิืิ่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น
2. ตรวจรัางกาย ประกอบดิ้วย
2.1 การตรวจริ่างกายทั่วไป ควรตรวจทิุกระบบ โดยเฉพาะผิวหนัง ผม ช่องปาก กระพิุิ้งแกิ้ม ลิิิ้น และใต้ลิ้น
ต่อมทอนซิิลติ่อมน้าเหลืองทิีิ่หน้าหู หลังหู คอ รักแร้ และข้อศอก
2.2การตรวจบริิเวณอวัยวะเพศและทวารหนัก (ดูแผล ผื่น ตุ่ม และเก็บสิ่งส่งตรวจ) ตรวจดิูอวัยวะเพศ
ภายนอก เพื่อหาแผล หูดอวิัยวะเพศ/หงอนไก่ หิูดขาวสุก โลน ไข่โลน และรอยโรคต่างๆ
จดบันทิึกลิักษณะของสิิิ่งที่พบ คลิาที่ขาหนิีบเพื่อตรวจติ่อมน้าเหลือง
3. ตรวจคดกรองหาโรคติดตัอทางเพศสัมพนธ์ชนิดอื่น และการตรวจคดกรองมะเร็งปากมดลูก
4. เสนอบริการตรวจเลัือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวี
5. รักษาอยางถูกต้อง ครบถั้ วนตามโรคที่ตรวจพบ หรือรักษาตามกลุ่มอาการ หากไม่สามารถตรวจหาสาเหตุของโรคได้
ชัดเจน
6. ให้ความรู้ให้คาปรึกษาและแนะนิาแนวทางในการป้ องกันโรค ประกอบด้วย อันตรายของโรคที่กาลังเป็นอยู่และ-
โรคแทรกซ้อนต่างๆ ช่องทางการติดต่อของโรคและการถ่ายทอดเชื้อไปสู่คู่นอน การใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง
การงดมีเพศสัมพันธ์หรือสาเร็จความใคร่ในระหว่างการรักษา การป้ องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ
7. นดหมายให้มาติดตามผลการตรวจ/รักษา
8. นดหมายและติดตามผัูั้ สมผสโรคมารบการตรวจ/รกษา โดยเฉพาะคู่นอนทั้งหมดในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
ตารางที่ 1: ลักษณะทางคลินิกและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นของโรคที่ทาให้เกิดภาวะตกขาว
หมายเหตุ: PMN = polymorphonuclear leukocytes, EC = vaginal epithelial cells
ที่มา: ดัดแปลงจาก Sobel JD. Vaginitis. N Engl J Med. 1997; 337:1896-903.
ตกขาวปกติ Candidiasis Bacterial vaginosis Trichomoniasis Atrophic vaginitis
อาการ ปริมาณเปลี่ยนแปลง
ตามรอบเดือน
กลิ่นคาวเล็กน้อย
คัน แสบ แผลถลอก
ตกขาวสีคล้ายนมบูด
เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์
ตกขาวกลิ่นเหม็นคล้ายปลาเน่า
ไม่คัน ไม่เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์
ตกขาวกลิ่นเหม็น เป็นฟอง คัน
เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์
ช่องคลอดแห้ง
เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์
อาการแสดง ตกขาวใสหรือ
คล้ายแป้ งเปียก
ผนังช่องคลอดลักษณะปกติ
ผื่นแดงที่อวัยวะเพศภายนอก
รอยถลอกจากการเกา
ผนังช่องคลอดอักเสบบวมแดง
ตกขาวเนียนเป็นเนื้อเดียว
สีขาวปนเทา กลิ่นเหม็น
ผนังช่องคลอดไม่อักเสบ
ตกขาวปริมาณมาก สีเขียวเหลือง
กลิ่นเหม็นและเป็นฟองมาก
ผนังช่องคลอดอักเสบมาก
ตกขาวสีเหลืองหรือเขียว
ผนังช่องคลอดบาง
ความเป็นกรด
ด่างของช่อง
คลอด (pH)
3.5 - 4.5 4.0 - 4.5 > 4.5 5.0 - 6.0 > 6.0
Whiff test กลิ่นปกติ กลิ่นปกติ กลิ่นเหม็น มักให้กลิ่นเหม็น กลิ่นปกติ
การตรวจ
wet smear
PMN: EC < 1 PMN: EC < 1 PMN: EC < 1 PMN: EC > 1 PMN: EC > 1
แบคทีเรียชนิด rods มาก
Lactobacilli เป็น Gram+ rod
pseudohyphae, budding yeast coccobacilli เพิ่มขึ้น
clue cells
motile trichomonads rods cocci น้อยลง และ
coliforms เพิ่มขึ้น
parabasal cells เพิ่มขึ้น
การตรวจ
10%KOH
ไม่พบ pseudohyphae พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae
ตารางที่ 2: รอยโรคที่อวัยวะเพศ
ชื่อโรค เชื้อก่อโรค จานวน
รอยโรค
อาการ
เจ็บ
ลักษณะของรอยโรค อาการอื่นๆ ที่พบร่วมด้วย
Herpes genitalis Herpes simplex virus multiple yes vesiculopustules; shallow ulcers with secondary
infection
tender inguinal adenopathy (secondary infection)
Behcet’s syndrome unknown multiple yes shallow-based ulcers with
secondary infection
concomitant oral apthous lesions:
possible uveitis or iridocyclitis
Chancroid Hemophilus ducreyi single yes shaggy borders surrounding
necrotic exudate
inguinal adenopathy
Primary syphilis Treponema pallidum single no well-defined margins; rolled, clean tender inguinal adenopathy
Lymphogranuloma
venereum (LGV)
Chlamydia
trachomatis
single no granular base; shallow ulcer with
secondary infection
anorectal proctitis (possible)
Donovanosis/
Granuloma inguinale
Calymmatobacterium
granulomatis
single
(mostly)
no well-defined borders; clean, granular base inguinal adenopathy (pseudobubo formation)
Scabiasis Sarcoptes scabei multiple no papules, burrows, excoriations, nodules,
vesicles, pyoderma, eczema
marked pruritus, associated body area; flexor surface
of wrists, elbows, anterior axillary folds, areolae,
belt line, lower portion of buttocks, upper thigh
Pubic lice Phthirus pubis multiple no multiple rusted spots
(from blood-sucking nature),
secondary bacterial infection
marked pruritus (half-asymptomatic),
pubic lice attaching to pubic hair
Molluscum contagiosum Poxvirides multiple no centrally-umbilicated lesion on
cutaneous area +/- caseous content
-
Condyloma acuminata Human
papillomavirus
multiple no four types: papular, exophytic, keratotic, flat -
ที่มา: ดัดแปลงจาก 6th
Ed Infectious diseases in Obstetrics and Gynecology และ 4th
Ed Atlas of Sexually transmitted diseases and AIDs
โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรีที่อาการแสดงคือตกขาว
ตกขาวปกติ (vaginal discharge หรือ leukorrhea) หมายถึงสิ่งที่ถูกขับออกมาทางช่องคลอดที่ไม่ใช่เลือด
ไม่จาเป็นต้องมีสีขาว มีลักษณะคล้ายแป้ งเปียกหรือมูกใส ปริมาณไม่มาก ไม่มีกลิ่นเหม็น อาจมีกลิ่นคาวเล็กน้อย
มีสภาพเป็นกรด (pH 3.5-4.5) ตกขาวประกอบด้วยสารคัดหลั่งจากส่วนต่างๆ ได้แก่ ต่อมมูกที่ปากมดลูก สารน้าจากผนังช่อง
คลอด สารน้าจากท่อนาไข่ เซลล์เยื่อบุโพรงมดลูก สารคัดหลั่งจากต่อมบาร์โธลินและต่อมข้างรูเปิดของท่อปัสสาวะ (skene
glands) แบคทีเรียในช่องคลอดและสารที่สร้างจากแบคทีเรียเหล่านั้น ปริมาณของตกขาวปกติจะมากขึ้นในบางช่วง เช่น ในระยะ
ตกไข่ และขณะตั้งครรภ์ เกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ตกขาวจะเพิ่มขึ้นได้หลังการมีเพศสัมพันธ์ เนื่องจากต่อม
บาร์โธลินหลั่งสารหล่อลื่นเพิ่มขึ้น และมีสารน้าหลั่งออกมาจากผนังช่องคลอด
การตรวจตกขาว (wet smear) วิธีการ คือ
1. ใช้ speculum แห้ง ใส่ในช่องคลอดอย่างนุ่มนวล และจัดให้เห็นปากมดลูกอย่างชัดเจน
2. การตรวจ wet smear ทาโดยใช้ไม้พันสาลีแห้งป้ ายตกขาวจาก posterior fornix แล้วนาไปใส่หลอดทดลอง จากนั้นเติม
0.9% normal saline solution (NSS) ในหลอดทดลองจานวน 0.5-1 มิลลิลิตร ควรปิดด้วย cover slip เนื่องจากเลนส์วัตถุที่มี
กาลังขยาย 40x จะสัมผัสโดนสารละลายตกขาวนั้น
*แนวทางเลือก: หยด 0.9%NSS 1 หยดบนสไลด์ นาไม้พันสาลีที่ป้ ายตกขาวมาผสมกับสารละลายดังกล่าว แล้วดูภายใต้
กล้องจุลทรรศน์ทันที ก่อนที่สารละลายจะแห้ง
3. การตรวจ 10% potassium hydroxide (10%KOH) ทาโดยการเติม สารละลาย 10%KOH จานวน 1 หยด ลงใน สารละลาย
ตกขาวจานวน 1 หยด ทาการดมกลิ่น (whiff test) แล้วดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ทันที ก่อนที่สารละลายจะแห้ง เพื่อดู
pseudohyphae ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนขึ้น เนื่องจาก 1-%KOH ไปทาลายเยื่อบุสเควมัสและเซลล์เม็ดเลือดขาว
4. การตรวจ gram stain ทาโดยการใช้ไม้พันสาลีแห้งใส่เข้าไปในรูของปากมดลูกและหมุน 2-3 รอบ และป้ ายที่สไลด์ทันที โดย
หมุนใช้ไม้พันสาลีแห้งไปทางเดียวเกลี่ยให้ทั่วสไลด์ ปล่อยให้แห้งด้วยอากาศในอุณหภูมิห้อง
*หากตกขาวในช่องคลอดปริมาณมาก ให้ใช้สาลีแห้งเช็ดตกขาวในช่องคลอดออกให้หมดก่อน
5. ตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยการทา Pap smear
6. นา speculum ออกจากช่องคลอดของผู้ป่วย ทาการตรวจ pH ของตกขาวใน speculum โดยหลีกเลี่ยงตาแหน่งของตกขาวที่
มีเลือดปนเปื้อน อ่านค่า pH โดยเทียบกับค่ามาตรฐานข้างกล่อง
7. ตรวจตกขาวด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้กาลังขยาย 100 เท่า* (optic lens 10x, objective lens 10x)
- นับจานวน epithelial cells(EC), polymorphonuclear leukocyte (PMN)
รายงานเป็น PMN: EC (ค่าปกติ คือ PMN:EC < 1)
- การตรวจนับ clue cells ทาการนับเซลล์เยื่อบุสเควมัส อย่างน้อย 10 ตัว ค่าปกติ คือ clue cells < 4/10 เซลล์
- การตรวจหา fungus ควรดูบริเวณที่มีเซลล์เยื่อบุสเควมัสจานวนมากให้ทั่วสไลด์ โดยจะเห็นชัดเจนขึ้นเมื่อเติม
สารละลาย 10%KOH
- การตรวจหา Trichomonas vaginalis ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับเม็ดเลือดขาวและมีการเคลื่อนที่แบบกระตุก
(jerky movement)
*แนวทางนี้สาหรับการตรวจที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอก ในกรณีที่ต้องการดูรายละเอียด ควรตรวจดูที่กาลังขยาย 400 เท่า
(optic lens 10x, objective lens 40x) และรายงานผลเป็น cells/ high power field
8. บันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน และแปลผลตาม ตารางที่ 1
9. สาหรับนักศึกษาแพทย์ ในการสอบควรรายงานให้ครบถ้วนทุกอย่างถึงแม้ผลจะปกติ ได้แก่ เซลล์เยื่อบุสเควมัส,
เซลล์เม็ดเลือดขาว, trichomonads, fungus, clue cells
หนองใน (Gonococcal Infection)
เกิดจากการติดเชื้อ Neisseria gonorrhea เป็นเชื้อที่มักติดที่เซลล์เยื่อบุ columnar ซึ่งเป็นเซลล์ที่พบได้ในบริเวณต่อไปนี้
urethra, endocervix, fallopian tubes, conjunctiva ตาแหน่งการติดเชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ endocervix รองมาคือ urethra และ
anus เชื้อนี้สามารถเข้าสู่กระแสเลือดไปที่อวัยวะอื่นได้ เช่น ข้อ เยื่อหุ้มสมอง หัวใจ เป็นต้น ผู้ป่วยมักมีอาการแสบคันที่ช่องคลอด
และท่อปัสสาวะที่รุนแรง
การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ PMN: EC > 1
การตรวจ gram stain ที่ endocervix และ urethra พบ intracellular gram-negative diplococci
การเพาะเชื้อ การส่งตรวจ polymerase chain reaction (PCR)
การรกษา
ตาแหน่งการติดเชื้อ ยาปฏิชีวนะ
Cervix, urethra และ rectum Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว หรือ
Cefixime 400 มิลลิกรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ
Single dose injectable cephalosporin regimens plus
Azithromycin 1g po in a single dose or Doxycycline 100mg po bid 7 days
Pharynx Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว
Disseminated infection
*ฉีดยาปฏิชีวนะจนกระทั่งอาการดีขึ้น
24-48 ชั่วโมง แล้วจึงเปลี่ยนเป็นยา
cefixime 400 มิลลิกรัม รับประทาน
วันละ 2 ครั้งจนครบ 7 วัน
แนะนา
Ceftriaxone 1 กรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือด ทุก 24 ชั่วโมง
ทางเลือก
Cefotaxime 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 8 ชั่วโมง หรือ
Ceftizoxime 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 8 ชั่วโมง
Meningitis และ endocarditis Ceftriaxone 1-2 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 12 ชั่วโมง
*Meningitis ให้การรักษา 10-14 วัน
Endocarditis ให้การรักษา 4 สัปดาห์
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
**ให้การรักษาหนองในเทียมร่วมด้วยเสมอ เนื่องจากพบการติดเชื้อร่วมกันได้ประมาณร้อยละ 30 จะสังเกตว่ายารักษาหนองใน
บางกลุ่มสามารถรักษาหนองในเทียมได้ด้วย
หนองในเทียม (Non-gonococcal cervicitis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Chlamydia trachomatis อาการและอาการแสดงคล้ายกับอาการแสดงของ
โรคหนองในมากแต่มีความรุนแรงน้อยกว่า เพราะเชื้อแบคทีเรียนี้มักติดที่เซลล์เยื่อบุเป็นชนิด columnar ทาให้มีอาการ
ปัสสาวะแสบขัด และมีหนองออกจากท่อปัสสาวะ โดยมักไม่พบอาการผิดปกติอื่น
การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ PMN: EC > 1
การเพาะเชื้อมักให้ผลลบ นิยมการตรวจวินิจฉัยโดยการใช้ nucleic acid amplification test (NAAT)
การรกษา
ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา
Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียวขณะท้องว่าง หรือ
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน
ทางเลือก
Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Erythromycin ethylsuccinate 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Ofloxacin 300 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Levofloxacin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Roxithromycin 150 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้งก่อนอาหาร 15 นาที นาน 14 วัน หรือ
Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
ตั้งครรภ์ แนะนา
Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียวขณะท้องว่าง หรือ
Amoxycillin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน
ทางเลือก
Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Erythromycin base 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ
Erythromycin ethylsuccinate 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Erythromycin ethylsuccinate 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
**ไม่ต้องรักษาโรคหนองในร่วมด้วย
พยาธิในช่องคลอด (Vaginal trichomoniasis)
เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว Trichomonas vaginalis ซึ่งพบได้เฉพาะในคน มีขนาดใกล้เคียงเม็ดเลือดขาว มี flagellum
ออกมาจาก anterior kinetosomal complex และ flagellum เส้นที่ 5 ที่ติดกับ undulating membranes ยาวลงมาถึงกลางลาตัว
เคลื่อนไหวแบบกระตุก (jerky movement) อยู่ได้ทั้งในสภาวะที่มีและไม่มีออกซิเจน
การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ motile trichomonads
การรกษา
การรักษาครั้งแรก Metronidazole 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ
Tinidazole 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว
ถ้ารักษาครั้งแรกแล้วอาการไม่ดีขึ้น และ
ยังคงตรวจพบ Trichomonas
vaginalis ร่วมกับแยกการติดเชื้อซ้า
ออกไปแล้ว
Metronidazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ
Metronidazole 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน
ถ้ารักษาครั้งที่สองแล้วอาการไม่ดีขึ้น
และยังคงตรวจพบ Trichomonas
vaginalis ร่วมกับแยกการติดเชื้อซ้า
ออกไปแล้ว
Metronidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Tinidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
**ผู้ป่วยไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการรักษา เนื่องจากอาจทาให้เกิดอาการ disulfiram-like reaction
จนถึง 24 ชั่วโมง หลังรับประทาน metronidazole หรือ 72 ชั่วโมง หลังรับประทาน tinidazole
Bacterial vaginosis
การเกิดภาวะนี้เริ่มจากการเสียสมดุลของเชื้อแบคทีเรียประจาถิ่นในช่องคลอด ทาให้มี lactobacilli ลดลงหรือหายไป
และเชื้อ Gardnerella vaginalis, Mycoplasma hominis และ anaerobic bacteria อื่นๆ มีจานวนเพิ่มขึ้น 100-1000 เท่า
ผู้ป่วยจึงมีอาการตกขาวมีกลิ่นเหม็น
การตรวจเพื่อวินิจฉย ใช้การวินิจฉัยทางคลินิก คือ Amsel’s criteria โดยมีอย่างน้อย 3 ใน 4 ข้อ ต่อไปนี้ตกขาวสีเทาหรือขาวนวล,
pH > 4.5, ตกขาวกลิ่นกุ้งเน่าหรือปลาเน่า โดยใส่หรือไม่ใส่สารละลาย 10%KOH , พบ clue cells อย่างน้อย 4 ใน 10 เซลล์
การรกษา
ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา
Metronidazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน
ทางเลือก
Tinidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 3 วัน หรือ
Tinidazole 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Clindamycin 300 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน
ตั้งครรภ์ เช่นเดียวกับการรักษาสตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ ยกเว้น การใช้ยา tinidazole ซึ่งยังมีข้อมูลจากัดในสตรีตั้งครรภ์
*ไม่ต้องรักษาคู่นอน
**ผู้ป่วยไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการรักษา เนื่องจากอาจทาให้เกิดอาการ disulfiram-like reaction จนถึง
24 ชั่วโมง หลังรับประทาน metronidazole หรือ 72 ชั่วโมง หลังรับประทาน tinidazole
เชื้อราในช่องคลอด (Fungal vaginitis)
ร้อยละ 80-90 เกิดจากการเพิ่มจานวนของเชื้อ Candida albicans รองมาคือเชื้อ Candida glabrata ผู้ป่วยมักมีตกขาว
ปริมาณมาก และคันหรือแสบในช่องคลอด เนื่องจากเชื้อ Candida spp. เป็นเชื้อประจาถิ่นในช่องคลอด โดยพบในช่องคลอดถึง
ร้อยละ 10-20 ของสตรีวัยเจริญพันธุ์ จึงจะให้การรักษาเมื่อมีอาการ ร่วมกับมีผลตรวจ wet smear หรือ ผลการเพาะเชื้อเป็นบวก
การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear ร่วมกับการใส่สารละลาย 10%KOH
การส่งเพาะเชื้อรา
การรกษา
เชื้อราในช่องคลอด แนะนา
Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานครั้งเดียว ถ้าไม่มีข้อบ่งห้าม เช่น โรคตับ แพ้ยา
ทางเลือก
ยารูปเหน็บทางช่องคลอด จะใช้ในกรณี ไม่สามารถใช้ยารูปรับประทานได้
1% Clotrimazole cream ทาช่องคลอด นาน 7-14 วัน หรือ
Clotrimazole 100 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 6 วัน หรือ
Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 3 วัน หรือ
Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอดครั้งเดียว
ยารูปรับประทานชนิดอื่นๆ
Itraconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 1 วัน หรือ
Ketoconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Ketoconazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน
ตั้งครรภ์ 1% Clotrimazole cream ทาช่องคลอด นาน 7-14 วัน หรือ
Clotrimazole 100 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 6 วัน หรือ
Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 3 วัน หรือ
Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอดครั้งเดียว
ชนิดรุนแรง
(อาการคันมากและ
รอยโรคที่ผิวหนังรุนแรง)
Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทาน 2 ครั้ง ห่างกัน 72 ชั่วโมง และ
1% Clotrimazole cream ทาภายนอก นาน 7-14 วัน
Compromised host เช่น
ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นต้น
ใช้ยาเป็นระยะเวลานานขึ้นเป็น 7–14วัน
ได้รับการวินิจฉัยอย่างน้อย
4 ครั้งใน 1 ปี (จะต้องมี
หลักฐานการติดเชื้อ เช่น
การเพาะเชื้อ หรือ
การตรวจ wet smear)
*เมื่อรักษาแล้ว พบว่า
ร้อยละ 30-50 จะกลับเป็น
ซ้าหลังหยุดยา
การตรวจเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม: การส่งเพาะเชื้อเพื่อหาสายพันธุ์ของเชื้อรา
การรกษาชวงแรก:
Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทาน 3 ครั้ง ห่างกัน 72 ชั่วโมง (วันที่ 1, 4, 7) และ
ยาเฉพาะที่ตามสูตรข้างต้นให้นานขึ้นเป็น 7-14 วัน
การรกษาแบบตอเนื่อง: ระยะเวลา 6 เดือน
Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานสัปดาห์ละ 1ครั้ง หรือ
Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง หรือ
Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด สัปดาห์ละครั้ง
*ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ
โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรีที่อาการแสดงคือรอยโรคที่อวัยวะเพศ
ตารางที่ 2 แสดงลักษณะของรอยโรคต่างๆ
เริมที่อวัยวะเพศ (Herpes genitalis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Herpes simplex virus type II (HSV type II) ลักษณะรอยโรคเป็น erythematous
maculopapular lesion โดยเฉพาะบริเวณ muco-cutaneous junction เริ่มจากรอยแดง จากนั้นเป็น vesicular eruption ต่อมา
แตกเป็นแผลตื้นๆ เล็กๆ อาจรวมกันเป็นแผลใหญ่ และอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้าซ้อน
การตรวจเพื่อวินิจฉย การทา Tzanck smear (ความไว ร้อยละ 40-70)
การตรวจ type-specific HSV antibody
การรกษา
ครั้งแรก
*ถ้าแผลยังไม่หายให้นานกว่า
10 วันได้ จนกวาแผลจะหาย
Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ
Acyclovir 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 5 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ
Famciclovir 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ
Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7-10 วัน
เมื่อกลับเป็นซ้า Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Acyclovir 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Acyclovir 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 2 วัน หรือ
Famciclovir 125 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ
Famciclovir 1 กรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 1 วัน หรือ
Valacyclovir 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 3 วัน หรือ
Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน
ในกรณีที่ได้รับการวินิจฉัย
อย่างน้อย 6 ครั้งใน 1 ปี
พิจารณาให้ยาอย่างต่อเนื่อง
Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ
Famciclovir 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ
Valacyclovir 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ
Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง
ตั้งครรภ์ ไม่ต่างจากการรักษาผู้ป่วยที่ไม่ตั้งครรภ์
ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้การรักษาเหมือนกัน แต่จะให้ยาขานาดเพิ่มขึ้น
เป็นครั้งแรก: เหมือนกัน
เมื่อกลับเป็นซ้า: Acyclovir 400mg po tid, 5-10 d or Famciclovir 500mg po bid 5-10 d or
Valacyclovir 1g po bid 5-10 d
ป้ องกันการกลับเป็นซ้า: Acyclovir 400-800mg po bid or
Famciclovir 500mg po bid or
Valacyclovir 500mg po bid
*ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ
**การรักษาอื่นๆ ร่วมด้วย ได้แก่ ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ การทาแผลด้วย normal saline solution หรือ 3% boric acid
ประคบแผลนาน 15 นาที วันละ 4 ครั้ง
แผลริมอ่อน (Chancroid)
เกิดจากการติดเชื้อ Hemophilus ducreyi ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิด gram-negative rod ที่มีลักษณะผอมและสั้น เรียงตัวแบบ
แนวยาว (school of fish/ rail road track) ชอบสภาวะไม่มีออกซิเจน รอยโรคมักเริ่มจากเป็นเม็ด จากนั้นจะนูนขึ้นเป็นหนองและแตก
ออก ขอบไม่เรียบ ตัวเชื้อมักอยู่ในเนื้อเยื่อที่ก้นแผลกินลึกไปเรื่อยๆ พบฝีที่ขาหนีบได้ร้อยละ 50 เชื้อนี้ไม่เข้ากระแสเลือด
จึงไม่ทาให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง
การตรวจเพื่อวินิจฉย เนื่องจากการตรวจหาเชื้อก่อโรคทาได้ยาก จึงมีการเสนอให้วินิจฉัยทางคลินิก โดยกาหนดว่า
ถ้ามี 4 ข้อ ต่อไปนี้สามารถให้การวินิจฉัยแผลริมอ่อนได้ ประกอบด้วย
- แผลเจ็บ อย่างน้อย 1 แห่ง ที่อวัยวะเพศ
- ตรวจไม่พบการติดเชื้อซิฟิลิส โดยการตรวจ dark-field examination ในน้าเหลืองจากแผล
หรือ การตรวจเลือด ที่ระยะเวลา 7 วัน หลังเริ่มมีรอยโรค
- แผลสกปรกขอบยุ่ย อาจมีต่อมน้าเหลืองโตร่วมด้วย
- ตรวจไม่พบหลักฐานการติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศ
การรกษา
ไม่ตั้งครรภ์ Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ
Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว หรือ
Ciprofloxacin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 3 วัน หรือ
Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน
ตั้งครรภ์ ได้ทุกตัว ยกเว้น ciprofloxacin
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
**กรณีที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณขาหนีบอักเสบ ไม่ว่าจะมีหนองหรือไม่ก็ตาม ควรให้ยาฉีดหรือยารับประทานชนิดใช้ครั้งเดียว
แล้วต่อด้วยยา erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
***กรณีที่ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบอักเสบและมีหนองชัดเจน (bubo) ควรเจาะดูดหนองออก โดยใช้เข็มเจาะผ่านผิวหนังปกติ
ไม่ควรใช้วิธีผ่าหนองออกเหมือนฝีทั่วไป เพราะจะทาให้รอยแผลที่เกิดจากการผ่าตัดหายช้า
Lymphogranuloma venereum (LGV)
เกิดจากการติดเชื้อ Chlamydia trachomatis เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับระบบน้าเหลือง เริ่มจากมีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์เป็นตุ่ม
เล็กๆ ไม่เจ็บและเป็นอยู่ไม่นาน ต่อมาต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโตขึ้น และอาจแตกออกเป็น fistula มีการทาลายของเนื้อเยื่อรอบๆ
ต่อมน้าเหลือง ทาให้มีการอักเสบและพังผืดตามมา ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโตทั้งกลุ่มบนและล่าง โดยแยกกันด้วย Pupart’s
ligament เห็นเป็นลักษณะเฉพาะเป็นร่องเรียก groove sign
การตรวจเพื่อวินิจฉย ดูจากรอยโรคและการดาเนินโรค และการวินิจฉัยแยกโรคอื่นๆ ออกไป การตรวจหาเชื้อก่อโรคใช้วิธี
nucleic acid amplification test (NAAT)
การรกษา ระยะเวลาการรักษาอย่างน้อย 3 สัปดาห์และแผลหายสนิท
ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง
ทางเลือก
Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง หรือ
Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง
ตั้งครรภ์ Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
**กรณีที่ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบอักเสบและมีหนองชัดเจน (bubo) ควรเจาะดูดหนองออก โดยใช้เข็มเจาะผ่านผิวหนังปกติ
ไม่ควรใช้วิธีผ่าหนองออกเหมือนฝีทั่วไป เพราะแผลที่เกิดจากการผ่าตัดจะหายช้าและไม่สวยงาม
Granuloma inguinale/ Donovanosis
เกิดจากการติดเชื้อ Calymmatobacterium granulomatis ซึ่งเป็นแบคทีเรียกรัมลบและมีแคปซูลห่อหุ้ม ลักษณะรอยโรคเป็น
แผลขอบไม่เรียบคล้ายฟันเลื่อย รอยโรคอาจลามใหญ่โตได้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการเสียดสี ก้นแผลสีแดงคล้ายเนื้อวัวสด
ไม่เจ็บ เลือดออกง่าย
การตรวจเพื่อวินิจฉย ดูจากรอยโรค
การเพาะเชื้อมักให้ผลเป็นลบ
ผลการย้อม giemsa stain จะเห็น mononuclear cells บวม และมี donovan bodies อยู่ภายใน
การรกษา ระยะเวลาการรักษา อย่างน้อย 3 สัปดาห์และแผลหายสนิท
ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง
ทางเลือก
Azithromycin 1กรัม รับประทานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ
Ciprofloxacin 750 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ
Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง หรือ
Bactrim(TMP160 มิลลิกรัม/ SMX 800 มิลลิกรัม) รับประทานวันละ 2 ครั้ง
ตั้งครรภ์ ไม่ควรใช้ doxycycline, bactrim, ciprofloxacin
*รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
Syphilis
เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum ซึ่งเป็น spirochete ที่มีความยาว 20µm เคลื่อนที่แบบควงสว่านไปข้างหน้า
มี 8-14 เกลียว มี flagella 3 เส้น เชื้อนี้ชอบความชื้น ตายง่ายในสภาวะแห้ง ไวต่อสาร antiseptic agents
Treponema pallidum เป็นเชื้อที่ถ่ายทอดทางการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการบาดเจ็บของเยื่อบุ เชื้อมีระยะฟักตัวประมาณ 9-
90 วัน จากนั้นจะเกิดเป็นแผลนูนสะอาดลักษณะชุ่มชื้น ไม่เจ็บ เรียกว่า hard chancre ระยะนี้เรียกว่า primary syphilis
รอยโรคนี้สามารถหายไปได้เองใน 2-3 สัปดาห์ และเชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือด แสดงอาการบริเวณต่างๆ ตามร่างกาย ได้แก่
แผลนูนไม่เจ็บที่อวัยวะเพศ(condyloma lata) ผื่นตามร่างกายรวมถึงฝ่ามือฝ่าเท้า(roseola syphilitica) เป็นต้น เรียกว่า ระยะ
secondary syphilis ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย แต่รอยโรคต่างๆ จะสามารถหายไปได้เอง ต่อมาจะกลายเป็น tertiary syphilis
รอยโรคระยะที่ไม่มีอาการจะเรียกว่า latent syphilis มีการแบ่งที่ระยะ 1 ปี เป็น early latent และ late latent โดย early
latent syphilis เป็นระยะแพร่เชื้อได้มากกว่า
การตรวจเพื่อวินิจฉย -เมื่อสงสัยว่ามีการติดเชื้อ syphilis ส่งเลือดตรวจทั้ง treponemal และ non-treponemal test ได้แก่
venereal disease research laboratory (VDRL) และ Treponema pallidum hemaglutination assay
(TPHA) ทุกราย หากตรวจพบ chancre หรือ condyloma lata ควรส่งตรวจ dark field examination
-การตรวจคัดกรองในสตรีตั้งครรภ์ใช้เฉพาะ VDRL ถ้า reactive จึงตรวจยืนยันด้วย TPHA
ลกษณะที่บงชี้วาการรกษาซิฟิลิสล้มเหลว
- อาการทางคลินิกไม่ดีขึ้น หรือกลับเป็นซ้าอีก
- มีการเพิ่มระดับ VDRL ตั้งแต่ 4 เท่าขึ้นไป
- ระดับ VDRL ลดน้อยกว่า 4 เท่า หรือยังมีระดับ ตั้งแต่ 1:8 ขึ้นไป หลังจากรักษาเป็นเวลา 1 ปี
ข้อควรปฏิบติกอนการรกษาซ้า
- ประเมินผู้ป่วยเกี่ยวกับการติดเชื้อใหม่
- พิจารณาตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี
1.ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสเอชไอวีร่วมด้วย ให้พิจารณาตรวจน้าไขสันหลังร่วมด้วย
เนื่องจากอาจเกิดจากมีซิฟิลิสของระบบประสาท
2.ผู้ป่วยไม่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้ตรวจน้าไขสันหลังเมื่อมีอาการแสดงที่น่าสงสัย
- รักษาคู่นอน
การรกษา
ชนิด/ ระยะของ syphilis การรักษา
Primary, secondary syphilis และ
early latent syphilis
รักษาคู่นอน แม้ไม่มีอาการ
แนะนา
Benzathine penicillin G 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว
ทางเลือก
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ
Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ
Ceftriaxone 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดหรือกล้ามเนื้อวันละครั้ง นาน 10-14 วัน หรือ
Azithromycin 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ
Erythromycin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
Late latent syphilis
รักษาคู่นอน เมื่อตรวจพบ
มีผลเลือดผิดปกติ
Benzathine penicillin G 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสัปดาห์ละครั้ง จานวน 3 ครั้ง
ทางเลือก
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 30 วัน หรือ
Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 30 วัน หรือ
Erythromycin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 30 วัน
Tertiary syphilis Benzathine penicillin G 7.2 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสัปดาห์ละครั้ง จานวน 3 ครั้ง
Neurosyphilis แนะนา
Aqueous crystalline penicillin G 18-24 ล้านหน่วยต่อวัน แบ่งเป็น 6 เวลาและให้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดวัน นาน 10-14 วัน
ทางเลือก
Procaine penicillin 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ วันละครั้ง ร่วมกับ
probenacid 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 10-14 วัน
ตั้งครรภ์ Benzathine penicillin G เป็นทางเลือกแรก วิธีการให้เหมือนผู้ป่วยที่ไม่ตั้งครรภ์
หากไม่มียาดังกล่าว จะให้การรักษาด้วย erythromycin stearate
แต่เนื่องจาก erythromycin ผ่านรกได้ในปริมาณน้อย จึงควรแจ้งกุมารแพทย์
เพื่อดูแลทารกแรกเกิดแบบ congenital syphilis ทุกราย
ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้การรักษาเหมือนผู้ที่ไม่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี
หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminata)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Human papillomavirus (HPV) ชนิดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่า โดยร้อยละ 90 เกิดจากไวรัสเอช
พีวี ชนิด 6 และ 11 เชื้อไวรัสนี้ทาให้เซลล์มีการแบ่งตัวมากผิดปกติ ทาให้มีก้อนเนื้อยื่นนูน เลือดออกได้ง่าย แสบ หรือ
ตกขาวมากขึ้น อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ
การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรคเป็นหลัก
ตาแหน่งรอยโรค การรักษา
External genital
warts
โดยผู้ปวยทาเอง
0.5% Podofilox solution หรือ gel ทาวันละ 2 ครั้ง 3 วัน เว้น 4 วัน จานวนไม่เกิน 4 รอบ หรือ
Imiquimod 5% cream ทา 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ไม่เกิน 16 สัปดาห์
โดยบุคลากรทางการแพทย์ทาให้
Cryotherapy ด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ
Podophyllin resin 10%–25% in benzoin ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ
Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90% ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ
จี้ไฟฟ้ า จี้ด้วยความเย็น ตัดด้วยใบมีด
Cervical wart ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจเพื่อแยกภาวะมะเร็งปากมดลูก ก่อนเริ่มการรักษา
การรักษาตามแนวทางเดียวกับ การรักษา external genital warts โดยบุคลากรทางการแพทย์
Vaginal wart จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ
Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90%
Urethral meatal
wart
จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ
Podophyllin resin 10%–25% in benzoin ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
Anal warts จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ
Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90% ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ
ตัดด้วยใบมีด
*ควรนาคู่นอนมารับการตรวจ โดยส่วนใหญ่มักไม่พบรอยโรค แนะนาให้งดการมีเพศสัมพันธ์เฉพาะช่วงที่มีรอยโรค
**กรณีตั้งครรภ์ ไม่ควรใช้ 5% imiquimod และ podophyllin resin
***ควรนัดมาตรวจสัปดาห์ละครั้ง จนกว่ารอยโรคจะหายสนิท
****Podofilox และ Podophylline resin เป็น anti-mitotic drug ซึ่งมี systemic absorption ได้ จนอาจทาให้เกิด toxicity แต่
ละครั้ง ไม่ควรทาเกิน 0.5mL หรือ พื้นที่ไม่เกิน 10 ตารางเซนติเมตร และควรล้างออกภายใน 4 ชั่วโมงหลังการทาบริเวณที่มี
แผลเปิด
หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum)
เกิดจากไวรัสกลุ่ม poxviridae ไวรัสนี้สามารถเข้าสู่เซลล์ได้โดยวิธี phagocytosis การติดเชื้อมักเกิดเฉพาะผิวหนัง
ชั้นepidermis โดยของเหลวที่อยู่ในกลุ่มรอยโรคนี้จะประกอบด้วย intracytoplasmic inclusion body เรียก molluscum body หูด
ข้าวสุกมักหายได้เองใน 6-9เดือน การรักษาทาเพื่อป้ องกันการแพร่กระจายสู่ผู้อื่นและตนเอง
การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค
การรกษา -มี content: ใช้เข็มฉีดยาสะกิดบริเวณรอยโรค แล้วจึงทาน้ายาฆ่าเชื้อ betadine solution
-ไม่มี content ให้แต้มด้วย 80%-90% trichloracetic acid วิธีการรักษาอื่นๆ เช่น จี้ด้วยไฟฟ้ า
-หากใช้วิธีข้างต้นไม่ได้ผล อาจใช้วิธีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้imiquimod cream, 0.1% tretinoin cream,
cryotherapy/ liquid nitrogen, podophyllin resin10%-25%, LASER
*ถ้าตั้งครรภ์ ให้รักษาเหมือนกัน
**ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ
หิด (Scabies)
การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค (ตารางที่ 2)
การรกษา ให้ผู้ป่วยอาบน้า เช็ดตัวจนแห้ง แล้วทายาบางๆ ให้ทั่วทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงปลายเท้า
รวมผิวหนังสิ่วนที่เป็นปกติด้วย ทิ้งไวิ้12 ชั่วโมง แล้วจึงลิ้างออก ยาที่มีให้เลือกใช้มี 2 ชนิด ได้แก่
1. 1% Gamma benzene hexachloride cream หลิังทายาครั้งแรกแล้ว ให้ทาซ้าอีกครั้งที่หนึ่งสิัปดาห์ต่อมา
ไม่ควรทามากเกินความจิาเป็นเพราะจะทิาให้เกิดพิษต่อระบบประสาท และทิาให้ชักได้ ไมิ่แนะนิาให้ใช้ในเด็ก
อายุ
ต่ากวิ่า 2 ปิี
2. 25% Benzyl benzoate emulsion หลังทายาครั้งแรกแลิ้ว ใหิ้ทาซ้าอิีกครั้งในหนึ่งสิัปดาห์ต่อมา
ยานี้ไมิ่ควรใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปิี เพราะจะทิาให้เกิดอาการระคายเคือง
*รักษาคู่นอนไปพร้อมๆ กัน แม้ไม่มีอาการ
**ถ้าตั้งครรภ์ ให้รักษาเหมือนกัน
***ถ้าคันมาก สามารถรับประทานยา anti-histamine ถ้ายังมีตุ่มคันเหลืออยู่ให้ใช้ mild topical steroid เช่น triamcinolone 0.1%,
betamethasone 0.1% เป็นต้น ทาวันละ 2 ครั้ง จนกว่าจะหาย
โลน (Pubic lice)
การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค (ตารางที่ 2)
การรกษา ใช้ gamma benzene hexachloride 1% cream ทาบางๆ บริิเวณอวัยวะเพศ และผิวหนังบริเวณใกล้เคียง
ทิ้งไว้ 8 -12 ชั่วโมง แล้วล้างออก ส่วนใหญ่ครั้งเดียวมักได้ผล แติ่ถ้ามีตัวโลนจิานวนมาก ควรทาซ้าที่ 3 วันต่อมา
หลังการทาครั้งแรก และควรทายาอีกครั้ง 7 วันหลังครั้งแรก ควรทาความสะอาดเครื่องนุ่งห่มและเครื่องนอน
ด้วยน้าร้อนหรือนาไปตากแดด
*รักษาคู่นอนไปพร้อมๆ กัน แม้ไม่มีอาการ
**ถ้าตั้งครรภ์ ให้การรักษาเหมือนกัน
***ถ้าคันมาก สามารถรับประทานยา anti-histamine ถ้ายังมีตุ่มคันเหลืออยู่ให้ใช้ mild topical steroid เช่น triamcinolone 0.1%,
betamethasone 0.1% เป็นต้น ทาวันละ 2 ครั้ง จนกว่าจะหาย
อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic inflammatory disease)
การวินิจฉย เป็นการวินิจฉัยหลังจากแยกภาวะอื่นๆ ออกไปก่อน โดยมี เกณฑ์การวินิจฉัยขั้นต่าอย่างน้อย 1 ข้อ และ
มีเกณฑ์การวินิจฉัยเพิ่มเติม อีกอย่างน้อย 1 ข้อ
เกณฑ์การวินิจฉยข้นต่า - โยกเจ็บที่ปากมดลูก
- กดเจ็บที่บริเวณมดลูก
- กดเจ็บที่อวัยวะด้านข้างของมดลูก
เกณฑ์การวินิจฉยเพิ่มเติม - วัดอุณหภูมิทางปาก ได้สูงกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
- ตกขาวบริเวณปากมดลูกหรือในช่องคลอดผิดปกติเป็นมูกสีเหลืองปริมาณมาก
- ตรวจตกขาวด้วยกล้องจุลทรรศน์พบเม็ดเลือดขาวจานวนมาก
- มีค่า erythrocyte sedimentation rate สูงขึ้น
- มีค่า c-reactive protein สูงขึ้น
- ตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อ N. gonorrhea หรือ C. trachomatis
การรกษา
แบบผู้ป่วย
นอก
Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม หรือ 3rd
gen. cephalosporin อื่นที่เทียบเท่า ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว และ
Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน และ/ หรือ
Metronidazole 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน
แบบผู้ป่วยใน แนะนา
Cefoxitin 2 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 6 ชั่วโมง และ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง
หรือ
Clindamycin 900 มิลลิกรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 8 ชั่วโมง และ gentamicin loading dose 2 มิลลิกรัม
ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือด ตามด้วย maintenance dose ขนาด
1.5 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุก 8 ชั่วโมง
*สาหรับ gentamicin อาจให้ในรูป 240 มิลลิกรัม ให้ทางเส้นเลือดอย่างช้าๆ วันละ 1 ครั้ง
ทางเลือก
Ampicillin/ sulbactam 3 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 6 ชั่วโมง และ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทาน
วันละ 2ครั้ง
*เมื่ออาการดีขึ้น 24 ชั่วโมง เปลี่ยนเป็นยารูปรับประทาน ได้แก่ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14
วัน หรือ clindamycin 450 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
**รักษาคู่นอนด้วยสูตรยาที่ครอบคลุมทั้ง N. gonorrhea และ C. trachomatis แม้ไม่มีอาการ
***จาเป็นต้องให้ผู้ป่วยเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล ในกรณีต่อไปนี้
- ไม่สามารถแยกภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรมได้ เช่น ภาวะไส้ติ่งอักเสบ
- ผู้ป่วยกาลังตั้งครรภ์
- ไม่ตอบสนองต่อยารูปรับประทาน
- ไม่สามารถมาตรวจติดตามตามนัดได้ หรือไม่สามารถรับประทานยาแบบผู้ป่วยนอกได้
- อาการรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้สูง
- ตรวจพบ tubo-ovarian abscess (TOA)
เอกสารอ้างอิง
1. อนุวัตร รุ่งพิสุทธิพงษ์. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted diseases). กรุงเทพมหานคร: MedInfo G.D., Ltd, 2549.
2. วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร. ตกขาว(vaginal discharge). ใน: วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร, มณี รัตนไชยานนท์, ประสงค์ ตันมหาสมุทร, มงคล
เบญจาภิบาล, ไอรีน เรืองขจร, บรรณาธิการ. ตารานรีเวชวิทยา. ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พี.เอ.ลีฟวิ่ง 2552:153-
64.
3. อังคณา เจริญวัฒนาโชคชัย, เอกจิตรา สุขกุล, นภาพร วิบูลยานนท์, ปริศนา บัวสกุล. แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2553.
4. Monif R, Baker D. Infectious diseases in Obstetrics and Gynecology. 6th
ed. London: IDI Publications; 2008.
5. Centers for Disease Control and Prevention. Sexually transmitted diseases treatment guidelines, 2010. Morbidity and
Mortality Weekly Report. 2010; 59(RR-12):1-112
7. Sobel JD. Vaginitis. N Engl J Med. 1997; 337:1896-903.
8. Morse SA, Ballard RC, Holmes KK, Moreland AA. Atlas of Sexually transmitted diseases and AIDs. 4th
ed. Euradius:
Elsevier Saunders; 2010.

More Related Content

What's hot

Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
Or Chid
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Sombom
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
Aiman Sadeeyamu
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
Apichart Laithong
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Utai Sukviwatsirikul
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
Utai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
CUPress
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
Utai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
Utai Sukviwatsirikul
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
Utai Sukviwatsirikul
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 

What's hot (20)

Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 

Similar to Sti guideline nov.2013 version2

โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
elearning obste
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
nuttanansaiutpu
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
pipepipe10
 
plague
plagueplague
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
anucha98
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
mewsanit
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Utai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
sportrnm
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
praphan khunti
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 

Similar to Sti guideline nov.2013 version2 (20)

โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
plague
plagueplague
plague
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 

More from elearning obste

Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
elearning obste
 
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mvaคู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
elearning obste
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
elearning obste
 
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
2012 update asccp  management abnormal screenig (1)2012 update asccp  management abnormal screenig (1)
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
elearning obste
 
Updated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithmsUpdated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithms
elearning obste
 
Summer 2006 faq
Summer 2006 faqSummer 2006 faq
Summer 2006 faq
elearning obste
 
Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012
elearning obste
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
elearning obste
 
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer preventionAsccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
elearning obste
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
elearning obste
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
elearning obste
 
Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557
elearning obste
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
elearning obste
 
How to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYNHow to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYN
elearning obste
 

More from elearning obste (14)

Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mvaคู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
 
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
2012 update asccp  management abnormal screenig (1)2012 update asccp  management abnormal screenig (1)
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
 
Updated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithmsUpdated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithms
 
Summer 2006 faq
Summer 2006 faqSummer 2006 faq
Summer 2006 faq
 
Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
 
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer preventionAsccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
 
How to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYNHow to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYN
 

Sti guideline nov.2013 version2

  • 1. แนวทางการรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบบ่อย สาหรับนักศึกษาแพทย์และแพทย์ประจาบ้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงเจนจิต ฉายะจินดา หน่วยโรคติดเชื้อทางนรีเวชและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สตรี ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ตุลาคม 2556)
  • 2. การวินิจฉัยและการรักษาโรคติดเชื้อที่พบบ่อยในสูติ-นรีเวชกรรม โรคติดเชื้อทางสูติ-นรีเวชกรรมเป็นภาวะที่พบได้บ่อย และเป็นสาเหตุที่นาไปสู่การเสียชีวิตได้ นักศึกษาแพทย์และแพทย์ ประจาบ้านควรที่จะสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ตั้งแต่การตรวจเพื่อวินิจฉัย จนถึงให้การรักษาอย่างถูกต้อง โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรี (reproductive tract infections; RTIs) อาจเป็น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (sexually transmitted infections; STIs) หรือ โรคที่ไม่ได้ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (non-sexually transmitted infections; non- STIs) สาหรับคาว่า sexually transmitted diseases (STDs) เป็นคาที่ใช้สาหรับกรณีที่การติดเชื้อนั้นมีอาการทางคลินิก สาหรับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นั้น หมายถึง โรคที่ติดต่อถึงกันโดยผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างบุรุษกับสตรี หรือ ระหว่างเพศเดียวกันในกรณีของรักร่วมเพศ โดยบางโรคยังสามารถถ่ายทอดจากมารดาสู่ทารกได้ด้วย อาการแสดงของโรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรี แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ genital discharge, genital ulcer, miscellaneous ดังนี้ Genital discharge Gonorrhea Vaginal trichomoniasis Fungal vaginitis Non-gonococcal cervicitis Bacterial vaginosis Genital lesion Syphilis Chancroid Lymphogranuloma venereum Granuloma inguinale/ Donovanosis Herpes genitalis Condyloma acuminata Molluscum contagiosum Miscellaneous Pelvic inflammatory disease (PID) Human immunodeficiency virus (HIV/ AIDs)* Ectoparasitic infestation เช่น scabies, Pediculosis Pubis infestation Bartholin abscess *Human immunodeficiency virus (HIV/ AIDs) มีการจัดการเรียนการสอนในอีกบทเรียน
  • 3. แนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มารับการตรวจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. ซักประวติ เพื่อการวิินิิจฉัยโรค ประกอบด้วย อาการสิาคัญ อาการริ่วม พฤติิกรรมการมิีเพศสิัมพิันธ์ จิานวนคู่นอน เพศของคู่นอน ช่องทางในการมีเพศสิัมพันธ์ เชิ่น ทางปาก ทางทวารหนัก เป็ นต้น การใชิ้ถิุ งยางอนามัย พฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ ประวัติการแพ้ยา และประวัติการรักษากิ่อนมาพบแพทยิ์ครั้งนี้รวมถึงการใช้ยาปฏิชีวนะรักษา โรค อิืิ่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกัน ประวัติการใช้สารเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เคริืิ่องดิืิ่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น 2. ตรวจรัางกาย ประกอบดิ้วย 2.1 การตรวจริ่างกายทั่วไป ควรตรวจทิุกระบบ โดยเฉพาะผิวหนัง ผม ช่องปาก กระพิุิ้งแกิ้ม ลิิิ้น และใต้ลิ้น ต่อมทอนซิิลติ่อมน้าเหลืองทิีิ่หน้าหู หลังหู คอ รักแร้ และข้อศอก 2.2การตรวจบริิเวณอวัยวะเพศและทวารหนัก (ดูแผล ผื่น ตุ่ม และเก็บสิ่งส่งตรวจ) ตรวจดิูอวัยวะเพศ ภายนอก เพื่อหาแผล หูดอวิัยวะเพศ/หงอนไก่ หิูดขาวสุก โลน ไข่โลน และรอยโรคต่างๆ จดบันทิึกลิักษณะของสิิิ่งที่พบ คลิาที่ขาหนิีบเพื่อตรวจติ่อมน้าเหลือง 3. ตรวจคดกรองหาโรคติดตัอทางเพศสัมพนธ์ชนิดอื่น และการตรวจคดกรองมะเร็งปากมดลูก 4. เสนอบริการตรวจเลัือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวี 5. รักษาอยางถูกต้อง ครบถั้ วนตามโรคที่ตรวจพบ หรือรักษาตามกลุ่มอาการ หากไม่สามารถตรวจหาสาเหตุของโรคได้ ชัดเจน 6. ให้ความรู้ให้คาปรึกษาและแนะนิาแนวทางในการป้ องกันโรค ประกอบด้วย อันตรายของโรคที่กาลังเป็นอยู่และ- โรคแทรกซ้อนต่างๆ ช่องทางการติดต่อของโรคและการถ่ายทอดเชื้อไปสู่คู่นอน การใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง การงดมีเพศสัมพันธ์หรือสาเร็จความใคร่ในระหว่างการรักษา การป้ องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ 7. นดหมายให้มาติดตามผลการตรวจ/รักษา 8. นดหมายและติดตามผัูั้ สมผสโรคมารบการตรวจ/รกษา โดยเฉพาะคู่นอนทั้งหมดในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
  • 4. ตารางที่ 1: ลักษณะทางคลินิกและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นของโรคที่ทาให้เกิดภาวะตกขาว หมายเหตุ: PMN = polymorphonuclear leukocytes, EC = vaginal epithelial cells ที่มา: ดัดแปลงจาก Sobel JD. Vaginitis. N Engl J Med. 1997; 337:1896-903. ตกขาวปกติ Candidiasis Bacterial vaginosis Trichomoniasis Atrophic vaginitis อาการ ปริมาณเปลี่ยนแปลง ตามรอบเดือน กลิ่นคาวเล็กน้อย คัน แสบ แผลถลอก ตกขาวสีคล้ายนมบูด เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์ ตกขาวกลิ่นเหม็นคล้ายปลาเน่า ไม่คัน ไม่เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์ ตกขาวกลิ่นเหม็น เป็นฟอง คัน เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์ ช่องคลอดแห้ง เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์ อาการแสดง ตกขาวใสหรือ คล้ายแป้ งเปียก ผนังช่องคลอดลักษณะปกติ ผื่นแดงที่อวัยวะเพศภายนอก รอยถลอกจากการเกา ผนังช่องคลอดอักเสบบวมแดง ตกขาวเนียนเป็นเนื้อเดียว สีขาวปนเทา กลิ่นเหม็น ผนังช่องคลอดไม่อักเสบ ตกขาวปริมาณมาก สีเขียวเหลือง กลิ่นเหม็นและเป็นฟองมาก ผนังช่องคลอดอักเสบมาก ตกขาวสีเหลืองหรือเขียว ผนังช่องคลอดบาง ความเป็นกรด ด่างของช่อง คลอด (pH) 3.5 - 4.5 4.0 - 4.5 > 4.5 5.0 - 6.0 > 6.0 Whiff test กลิ่นปกติ กลิ่นปกติ กลิ่นเหม็น มักให้กลิ่นเหม็น กลิ่นปกติ การตรวจ wet smear PMN: EC < 1 PMN: EC < 1 PMN: EC < 1 PMN: EC > 1 PMN: EC > 1 แบคทีเรียชนิด rods มาก Lactobacilli เป็น Gram+ rod pseudohyphae, budding yeast coccobacilli เพิ่มขึ้น clue cells motile trichomonads rods cocci น้อยลง และ coliforms เพิ่มขึ้น parabasal cells เพิ่มขึ้น การตรวจ 10%KOH ไม่พบ pseudohyphae พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae ไม่พบ pseudohyphae
  • 5. ตารางที่ 2: รอยโรคที่อวัยวะเพศ ชื่อโรค เชื้อก่อโรค จานวน รอยโรค อาการ เจ็บ ลักษณะของรอยโรค อาการอื่นๆ ที่พบร่วมด้วย Herpes genitalis Herpes simplex virus multiple yes vesiculopustules; shallow ulcers with secondary infection tender inguinal adenopathy (secondary infection) Behcet’s syndrome unknown multiple yes shallow-based ulcers with secondary infection concomitant oral apthous lesions: possible uveitis or iridocyclitis Chancroid Hemophilus ducreyi single yes shaggy borders surrounding necrotic exudate inguinal adenopathy Primary syphilis Treponema pallidum single no well-defined margins; rolled, clean tender inguinal adenopathy Lymphogranuloma venereum (LGV) Chlamydia trachomatis single no granular base; shallow ulcer with secondary infection anorectal proctitis (possible) Donovanosis/ Granuloma inguinale Calymmatobacterium granulomatis single (mostly) no well-defined borders; clean, granular base inguinal adenopathy (pseudobubo formation) Scabiasis Sarcoptes scabei multiple no papules, burrows, excoriations, nodules, vesicles, pyoderma, eczema marked pruritus, associated body area; flexor surface of wrists, elbows, anterior axillary folds, areolae, belt line, lower portion of buttocks, upper thigh Pubic lice Phthirus pubis multiple no multiple rusted spots (from blood-sucking nature), secondary bacterial infection marked pruritus (half-asymptomatic), pubic lice attaching to pubic hair Molluscum contagiosum Poxvirides multiple no centrally-umbilicated lesion on cutaneous area +/- caseous content - Condyloma acuminata Human papillomavirus multiple no four types: papular, exophytic, keratotic, flat - ที่มา: ดัดแปลงจาก 6th Ed Infectious diseases in Obstetrics and Gynecology และ 4th Ed Atlas of Sexually transmitted diseases and AIDs
  • 6. โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรีที่อาการแสดงคือตกขาว ตกขาวปกติ (vaginal discharge หรือ leukorrhea) หมายถึงสิ่งที่ถูกขับออกมาทางช่องคลอดที่ไม่ใช่เลือด ไม่จาเป็นต้องมีสีขาว มีลักษณะคล้ายแป้ งเปียกหรือมูกใส ปริมาณไม่มาก ไม่มีกลิ่นเหม็น อาจมีกลิ่นคาวเล็กน้อย มีสภาพเป็นกรด (pH 3.5-4.5) ตกขาวประกอบด้วยสารคัดหลั่งจากส่วนต่างๆ ได้แก่ ต่อมมูกที่ปากมดลูก สารน้าจากผนังช่อง คลอด สารน้าจากท่อนาไข่ เซลล์เยื่อบุโพรงมดลูก สารคัดหลั่งจากต่อมบาร์โธลินและต่อมข้างรูเปิดของท่อปัสสาวะ (skene glands) แบคทีเรียในช่องคลอดและสารที่สร้างจากแบคทีเรียเหล่านั้น ปริมาณของตกขาวปกติจะมากขึ้นในบางช่วง เช่น ในระยะ ตกไข่ และขณะตั้งครรภ์ เกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ตกขาวจะเพิ่มขึ้นได้หลังการมีเพศสัมพันธ์ เนื่องจากต่อม บาร์โธลินหลั่งสารหล่อลื่นเพิ่มขึ้น และมีสารน้าหลั่งออกมาจากผนังช่องคลอด การตรวจตกขาว (wet smear) วิธีการ คือ 1. ใช้ speculum แห้ง ใส่ในช่องคลอดอย่างนุ่มนวล และจัดให้เห็นปากมดลูกอย่างชัดเจน 2. การตรวจ wet smear ทาโดยใช้ไม้พันสาลีแห้งป้ ายตกขาวจาก posterior fornix แล้วนาไปใส่หลอดทดลอง จากนั้นเติม 0.9% normal saline solution (NSS) ในหลอดทดลองจานวน 0.5-1 มิลลิลิตร ควรปิดด้วย cover slip เนื่องจากเลนส์วัตถุที่มี กาลังขยาย 40x จะสัมผัสโดนสารละลายตกขาวนั้น *แนวทางเลือก: หยด 0.9%NSS 1 หยดบนสไลด์ นาไม้พันสาลีที่ป้ ายตกขาวมาผสมกับสารละลายดังกล่าว แล้วดูภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ทันที ก่อนที่สารละลายจะแห้ง 3. การตรวจ 10% potassium hydroxide (10%KOH) ทาโดยการเติม สารละลาย 10%KOH จานวน 1 หยด ลงใน สารละลาย ตกขาวจานวน 1 หยด ทาการดมกลิ่น (whiff test) แล้วดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ทันที ก่อนที่สารละลายจะแห้ง เพื่อดู pseudohyphae ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนขึ้น เนื่องจาก 1-%KOH ไปทาลายเยื่อบุสเควมัสและเซลล์เม็ดเลือดขาว 4. การตรวจ gram stain ทาโดยการใช้ไม้พันสาลีแห้งใส่เข้าไปในรูของปากมดลูกและหมุน 2-3 รอบ และป้ ายที่สไลด์ทันที โดย หมุนใช้ไม้พันสาลีแห้งไปทางเดียวเกลี่ยให้ทั่วสไลด์ ปล่อยให้แห้งด้วยอากาศในอุณหภูมิห้อง *หากตกขาวในช่องคลอดปริมาณมาก ให้ใช้สาลีแห้งเช็ดตกขาวในช่องคลอดออกให้หมดก่อน 5. ตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยการทา Pap smear 6. นา speculum ออกจากช่องคลอดของผู้ป่วย ทาการตรวจ pH ของตกขาวใน speculum โดยหลีกเลี่ยงตาแหน่งของตกขาวที่ มีเลือดปนเปื้อน อ่านค่า pH โดยเทียบกับค่ามาตรฐานข้างกล่อง 7. ตรวจตกขาวด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้กาลังขยาย 100 เท่า* (optic lens 10x, objective lens 10x) - นับจานวน epithelial cells(EC), polymorphonuclear leukocyte (PMN) รายงานเป็น PMN: EC (ค่าปกติ คือ PMN:EC < 1) - การตรวจนับ clue cells ทาการนับเซลล์เยื่อบุสเควมัส อย่างน้อย 10 ตัว ค่าปกติ คือ clue cells < 4/10 เซลล์ - การตรวจหา fungus ควรดูบริเวณที่มีเซลล์เยื่อบุสเควมัสจานวนมากให้ทั่วสไลด์ โดยจะเห็นชัดเจนขึ้นเมื่อเติม สารละลาย 10%KOH - การตรวจหา Trichomonas vaginalis ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับเม็ดเลือดขาวและมีการเคลื่อนที่แบบกระตุก (jerky movement) *แนวทางนี้สาหรับการตรวจที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอก ในกรณีที่ต้องการดูรายละเอียด ควรตรวจดูที่กาลังขยาย 400 เท่า (optic lens 10x, objective lens 40x) และรายงานผลเป็น cells/ high power field 8. บันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน และแปลผลตาม ตารางที่ 1 9. สาหรับนักศึกษาแพทย์ ในการสอบควรรายงานให้ครบถ้วนทุกอย่างถึงแม้ผลจะปกติ ได้แก่ เซลล์เยื่อบุสเควมัส, เซลล์เม็ดเลือดขาว, trichomonads, fungus, clue cells
  • 7. หนองใน (Gonococcal Infection) เกิดจากการติดเชื้อ Neisseria gonorrhea เป็นเชื้อที่มักติดที่เซลล์เยื่อบุ columnar ซึ่งเป็นเซลล์ที่พบได้ในบริเวณต่อไปนี้ urethra, endocervix, fallopian tubes, conjunctiva ตาแหน่งการติดเชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ endocervix รองมาคือ urethra และ anus เชื้อนี้สามารถเข้าสู่กระแสเลือดไปที่อวัยวะอื่นได้ เช่น ข้อ เยื่อหุ้มสมอง หัวใจ เป็นต้น ผู้ป่วยมักมีอาการแสบคันที่ช่องคลอด และท่อปัสสาวะที่รุนแรง การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ PMN: EC > 1 การตรวจ gram stain ที่ endocervix และ urethra พบ intracellular gram-negative diplococci การเพาะเชื้อ การส่งตรวจ polymerase chain reaction (PCR) การรกษา ตาแหน่งการติดเชื้อ ยาปฏิชีวนะ Cervix, urethra และ rectum Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว หรือ Cefixime 400 มิลลิกรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ Single dose injectable cephalosporin regimens plus Azithromycin 1g po in a single dose or Doxycycline 100mg po bid 7 days Pharynx Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว Disseminated infection *ฉีดยาปฏิชีวนะจนกระทั่งอาการดีขึ้น 24-48 ชั่วโมง แล้วจึงเปลี่ยนเป็นยา cefixime 400 มิลลิกรัม รับประทาน วันละ 2 ครั้งจนครบ 7 วัน แนะนา Ceftriaxone 1 กรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือด ทุก 24 ชั่วโมง ทางเลือก Cefotaxime 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 8 ชั่วโมง หรือ Ceftizoxime 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 8 ชั่วโมง Meningitis และ endocarditis Ceftriaxone 1-2 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือด ทุก 12 ชั่วโมง *Meningitis ให้การรักษา 10-14 วัน Endocarditis ให้การรักษา 4 สัปดาห์ *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ **ให้การรักษาหนองในเทียมร่วมด้วยเสมอ เนื่องจากพบการติดเชื้อร่วมกันได้ประมาณร้อยละ 30 จะสังเกตว่ายารักษาหนองใน บางกลุ่มสามารถรักษาหนองในเทียมได้ด้วย
  • 8. หนองในเทียม (Non-gonococcal cervicitis) ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Chlamydia trachomatis อาการและอาการแสดงคล้ายกับอาการแสดงของ โรคหนองในมากแต่มีความรุนแรงน้อยกว่า เพราะเชื้อแบคทีเรียนี้มักติดที่เซลล์เยื่อบุเป็นชนิด columnar ทาให้มีอาการ ปัสสาวะแสบขัด และมีหนองออกจากท่อปัสสาวะ โดยมักไม่พบอาการผิดปกติอื่น การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ PMN: EC > 1 การเพาะเชื้อมักให้ผลลบ นิยมการตรวจวินิจฉัยโดยการใช้ nucleic acid amplification test (NAAT) การรกษา ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียวขณะท้องว่าง หรือ Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน ทางเลือก Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Erythromycin ethylsuccinate 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Ofloxacin 300 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Levofloxacin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 7 วัน หรือ Roxithromycin 150 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้งก่อนอาหาร 15 นาที นาน 14 วัน หรือ Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน ตั้งครรภ์ แนะนา Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียวขณะท้องว่าง หรือ Amoxycillin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน ทางเลือก Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Erythromycin base 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ Erythromycin ethylsuccinate 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Erythromycin ethylsuccinate 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ **ไม่ต้องรักษาโรคหนองในร่วมด้วย
  • 9. พยาธิในช่องคลอด (Vaginal trichomoniasis) เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว Trichomonas vaginalis ซึ่งพบได้เฉพาะในคน มีขนาดใกล้เคียงเม็ดเลือดขาว มี flagellum ออกมาจาก anterior kinetosomal complex และ flagellum เส้นที่ 5 ที่ติดกับ undulating membranes ยาวลงมาถึงกลางลาตัว เคลื่อนไหวแบบกระตุก (jerky movement) อยู่ได้ทั้งในสภาวะที่มีและไม่มีออกซิเจน การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear พบ motile trichomonads การรกษา การรักษาครั้งแรก Metronidazole 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ Tinidazole 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว ถ้ารักษาครั้งแรกแล้วอาการไม่ดีขึ้น และ ยังคงตรวจพบ Trichomonas vaginalis ร่วมกับแยกการติดเชื้อซ้า ออกไปแล้ว Metronidazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน หรือ Metronidazole 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน ถ้ารักษาครั้งที่สองแล้วอาการไม่ดีขึ้น และยังคงตรวจพบ Trichomonas vaginalis ร่วมกับแยกการติดเชื้อซ้า ออกไปแล้ว Metronidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน หรือ Tinidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ **ผู้ป่วยไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการรักษา เนื่องจากอาจทาให้เกิดอาการ disulfiram-like reaction จนถึง 24 ชั่วโมง หลังรับประทาน metronidazole หรือ 72 ชั่วโมง หลังรับประทาน tinidazole Bacterial vaginosis การเกิดภาวะนี้เริ่มจากการเสียสมดุลของเชื้อแบคทีเรียประจาถิ่นในช่องคลอด ทาให้มี lactobacilli ลดลงหรือหายไป และเชื้อ Gardnerella vaginalis, Mycoplasma hominis และ anaerobic bacteria อื่นๆ มีจานวนเพิ่มขึ้น 100-1000 เท่า ผู้ป่วยจึงมีอาการตกขาวมีกลิ่นเหม็น การตรวจเพื่อวินิจฉย ใช้การวินิจฉัยทางคลินิก คือ Amsel’s criteria โดยมีอย่างน้อย 3 ใน 4 ข้อ ต่อไปนี้ตกขาวสีเทาหรือขาวนวล, pH > 4.5, ตกขาวกลิ่นกุ้งเน่าหรือปลาเน่า โดยใส่หรือไม่ใส่สารละลาย 10%KOH , พบ clue cells อย่างน้อย 4 ใน 10 เซลล์ การรกษา ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา Metronidazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน ทางเลือก Tinidazole 2 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 3 วัน หรือ Tinidazole 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน หรือ Clindamycin 300 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน ตั้งครรภ์ เช่นเดียวกับการรักษาสตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ ยกเว้น การใช้ยา tinidazole ซึ่งยังมีข้อมูลจากัดในสตรีตั้งครรภ์ *ไม่ต้องรักษาคู่นอน **ผู้ป่วยไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการรักษา เนื่องจากอาจทาให้เกิดอาการ disulfiram-like reaction จนถึง 24 ชั่วโมง หลังรับประทาน metronidazole หรือ 72 ชั่วโมง หลังรับประทาน tinidazole
  • 10. เชื้อราในช่องคลอด (Fungal vaginitis) ร้อยละ 80-90 เกิดจากการเพิ่มจานวนของเชื้อ Candida albicans รองมาคือเชื้อ Candida glabrata ผู้ป่วยมักมีตกขาว ปริมาณมาก และคันหรือแสบในช่องคลอด เนื่องจากเชื้อ Candida spp. เป็นเชื้อประจาถิ่นในช่องคลอด โดยพบในช่องคลอดถึง ร้อยละ 10-20 ของสตรีวัยเจริญพันธุ์ จึงจะให้การรักษาเมื่อมีอาการ ร่วมกับมีผลตรวจ wet smear หรือ ผลการเพาะเชื้อเป็นบวก การตรวจเพื่อวินิจฉย การตรวจ wet smear ร่วมกับการใส่สารละลาย 10%KOH การส่งเพาะเชื้อรา การรกษา เชื้อราในช่องคลอด แนะนา Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานครั้งเดียว ถ้าไม่มีข้อบ่งห้าม เช่น โรคตับ แพ้ยา ทางเลือก ยารูปเหน็บทางช่องคลอด จะใช้ในกรณี ไม่สามารถใช้ยารูปรับประทานได้ 1% Clotrimazole cream ทาช่องคลอด นาน 7-14 วัน หรือ Clotrimazole 100 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 6 วัน หรือ Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 3 วัน หรือ Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอดครั้งเดียว ยารูปรับประทานชนิดอื่นๆ Itraconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 1 วัน หรือ Ketoconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ Ketoconazole 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน ตั้งครรภ์ 1% Clotrimazole cream ทาช่องคลอด นาน 7-14 วัน หรือ Clotrimazole 100 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 6 วัน หรือ Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด นาน 3 วัน หรือ Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอดครั้งเดียว ชนิดรุนแรง (อาการคันมากและ รอยโรคที่ผิวหนังรุนแรง) Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทาน 2 ครั้ง ห่างกัน 72 ชั่วโมง และ 1% Clotrimazole cream ทาภายนอก นาน 7-14 วัน Compromised host เช่น ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นต้น ใช้ยาเป็นระยะเวลานานขึ้นเป็น 7–14วัน ได้รับการวินิจฉัยอย่างน้อย 4 ครั้งใน 1 ปี (จะต้องมี หลักฐานการติดเชื้อ เช่น การเพาะเชื้อ หรือ การตรวจ wet smear) *เมื่อรักษาแล้ว พบว่า ร้อยละ 30-50 จะกลับเป็น ซ้าหลังหยุดยา การตรวจเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติม: การส่งเพาะเชื้อเพื่อหาสายพันธุ์ของเชื้อรา การรกษาชวงแรก: Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทาน 3 ครั้ง ห่างกัน 72 ชั่วโมง (วันที่ 1, 4, 7) และ ยาเฉพาะที่ตามสูตรข้างต้นให้นานขึ้นเป็น 7-14 วัน การรกษาแบบตอเนื่อง: ระยะเวลา 6 เดือน Fluconazole 200 มิลลิกรัม รับประทานสัปดาห์ละ 1ครั้ง หรือ Clotrimazole 200 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง หรือ Clotrimazole 500 มิลลิกรัม เหน็บช่องคลอด สัปดาห์ละครั้ง *ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ
  • 11. โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์สตรีที่อาการแสดงคือรอยโรคที่อวัยวะเพศ ตารางที่ 2 แสดงลักษณะของรอยโรคต่างๆ เริมที่อวัยวะเพศ (Herpes genitalis) ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Herpes simplex virus type II (HSV type II) ลักษณะรอยโรคเป็น erythematous maculopapular lesion โดยเฉพาะบริเวณ muco-cutaneous junction เริ่มจากรอยแดง จากนั้นเป็น vesicular eruption ต่อมา แตกเป็นแผลตื้นๆ เล็กๆ อาจรวมกันเป็นแผลใหญ่ และอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้าซ้อน การตรวจเพื่อวินิจฉย การทา Tzanck smear (ความไว ร้อยละ 40-70) การตรวจ type-specific HSV antibody การรกษา ครั้งแรก *ถ้าแผลยังไม่หายให้นานกว่า 10 วันได้ จนกวาแผลจะหาย Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ Acyclovir 200 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 5 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ Famciclovir 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7-10 วัน เมื่อกลับเป็นซ้า Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ Acyclovir 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ Acyclovir 800 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 2 วัน หรือ Famciclovir 125 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ Famciclovir 1 กรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 1 วัน หรือ Valacyclovir 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 3 วัน หรือ Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง นาน 5 วัน ในกรณีที่ได้รับการวินิจฉัย อย่างน้อย 6 ครั้งใน 1 ปี พิจารณาให้ยาอย่างต่อเนื่อง Acyclovir 400 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ Famciclovir 250 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ Valacyclovir 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ Valacyclovir 1 กรัม รับประทานวันละครั้ง ตั้งครรภ์ ไม่ต่างจากการรักษาผู้ป่วยที่ไม่ตั้งครรภ์ ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้การรักษาเหมือนกัน แต่จะให้ยาขานาดเพิ่มขึ้น เป็นครั้งแรก: เหมือนกัน เมื่อกลับเป็นซ้า: Acyclovir 400mg po tid, 5-10 d or Famciclovir 500mg po bid 5-10 d or Valacyclovir 1g po bid 5-10 d ป้ องกันการกลับเป็นซ้า: Acyclovir 400-800mg po bid or Famciclovir 500mg po bid or Valacyclovir 500mg po bid *ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ **การรักษาอื่นๆ ร่วมด้วย ได้แก่ ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ การทาแผลด้วย normal saline solution หรือ 3% boric acid ประคบแผลนาน 15 นาที วันละ 4 ครั้ง
  • 12. แผลริมอ่อน (Chancroid) เกิดจากการติดเชื้อ Hemophilus ducreyi ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิด gram-negative rod ที่มีลักษณะผอมและสั้น เรียงตัวแบบ แนวยาว (school of fish/ rail road track) ชอบสภาวะไม่มีออกซิเจน รอยโรคมักเริ่มจากเป็นเม็ด จากนั้นจะนูนขึ้นเป็นหนองและแตก ออก ขอบไม่เรียบ ตัวเชื้อมักอยู่ในเนื้อเยื่อที่ก้นแผลกินลึกไปเรื่อยๆ พบฝีที่ขาหนีบได้ร้อยละ 50 เชื้อนี้ไม่เข้ากระแสเลือด จึงไม่ทาให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง การตรวจเพื่อวินิจฉย เนื่องจากการตรวจหาเชื้อก่อโรคทาได้ยาก จึงมีการเสนอให้วินิจฉัยทางคลินิก โดยกาหนดว่า ถ้ามี 4 ข้อ ต่อไปนี้สามารถให้การวินิจฉัยแผลริมอ่อนได้ ประกอบด้วย - แผลเจ็บ อย่างน้อย 1 แห่ง ที่อวัยวะเพศ - ตรวจไม่พบการติดเชื้อซิฟิลิส โดยการตรวจ dark-field examination ในน้าเหลืองจากแผล หรือ การตรวจเลือด ที่ระยะเวลา 7 วัน หลังเริ่มมีรอยโรค - แผลสกปรกขอบยุ่ย อาจมีต่อมน้าเหลืองโตร่วมด้วย - ตรวจไม่พบหลักฐานการติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศ การรกษา ไม่ตั้งครรภ์ Azithromycin 1 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว หรือ Ciprofloxacin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 3 วัน หรือ Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน ตั้งครรภ์ ได้ทุกตัว ยกเว้น ciprofloxacin *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ **กรณีที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณขาหนีบอักเสบ ไม่ว่าจะมีหนองหรือไม่ก็ตาม ควรให้ยาฉีดหรือยารับประทานชนิดใช้ครั้งเดียว แล้วต่อด้วยยา erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน ***กรณีที่ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบอักเสบและมีหนองชัดเจน (bubo) ควรเจาะดูดหนองออก โดยใช้เข็มเจาะผ่านผิวหนังปกติ ไม่ควรใช้วิธีผ่าหนองออกเหมือนฝีทั่วไป เพราะจะทาให้รอยแผลที่เกิดจากการผ่าตัดหายช้า
  • 13. Lymphogranuloma venereum (LGV) เกิดจากการติดเชื้อ Chlamydia trachomatis เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับระบบน้าเหลือง เริ่มจากมีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์เป็นตุ่ม เล็กๆ ไม่เจ็บและเป็นอยู่ไม่นาน ต่อมาต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโตขึ้น และอาจแตกออกเป็น fistula มีการทาลายของเนื้อเยื่อรอบๆ ต่อมน้าเหลือง ทาให้มีการอักเสบและพังผืดตามมา ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโตทั้งกลุ่มบนและล่าง โดยแยกกันด้วย Pupart’s ligament เห็นเป็นลักษณะเฉพาะเป็นร่องเรียก groove sign การตรวจเพื่อวินิจฉย ดูจากรอยโรคและการดาเนินโรค และการวินิจฉัยแยกโรคอื่นๆ ออกไป การตรวจหาเชื้อก่อโรคใช้วิธี nucleic acid amplification test (NAAT) การรกษา ระยะเวลาการรักษาอย่างน้อย 3 สัปดาห์และแผลหายสนิท ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง ทางเลือก Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง หรือ Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง ตั้งครรภ์ Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ **กรณีที่ต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบอักเสบและมีหนองชัดเจน (bubo) ควรเจาะดูดหนองออก โดยใช้เข็มเจาะผ่านผิวหนังปกติ ไม่ควรใช้วิธีผ่าหนองออกเหมือนฝีทั่วไป เพราะแผลที่เกิดจากการผ่าตัดจะหายช้าและไม่สวยงาม Granuloma inguinale/ Donovanosis เกิดจากการติดเชื้อ Calymmatobacterium granulomatis ซึ่งเป็นแบคทีเรียกรัมลบและมีแคปซูลห่อหุ้ม ลักษณะรอยโรคเป็น แผลขอบไม่เรียบคล้ายฟันเลื่อย รอยโรคอาจลามใหญ่โตได้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการเสียดสี ก้นแผลสีแดงคล้ายเนื้อวัวสด ไม่เจ็บ เลือดออกง่าย การตรวจเพื่อวินิจฉย ดูจากรอยโรค การเพาะเชื้อมักให้ผลเป็นลบ ผลการย้อม giemsa stain จะเห็น mononuclear cells บวม และมี donovan bodies อยู่ภายใน การรกษา ระยะเวลาการรักษา อย่างน้อย 3 สัปดาห์และแผลหายสนิท ไม่ตั้งครรภ์ แนะนา Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง ทางเลือก Azithromycin 1กรัม รับประทานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ Ciprofloxacin 750 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ Erythromycin base 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง หรือ Bactrim(TMP160 มิลลิกรัม/ SMX 800 มิลลิกรัม) รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งครรภ์ ไม่ควรใช้ doxycycline, bactrim, ciprofloxacin *รักษาคู่นอนด้วย แม้ไม่มีอาการ
  • 14. Syphilis เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum ซึ่งเป็น spirochete ที่มีความยาว 20µm เคลื่อนที่แบบควงสว่านไปข้างหน้า มี 8-14 เกลียว มี flagella 3 เส้น เชื้อนี้ชอบความชื้น ตายง่ายในสภาวะแห้ง ไวต่อสาร antiseptic agents Treponema pallidum เป็นเชื้อที่ถ่ายทอดทางการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการบาดเจ็บของเยื่อบุ เชื้อมีระยะฟักตัวประมาณ 9- 90 วัน จากนั้นจะเกิดเป็นแผลนูนสะอาดลักษณะชุ่มชื้น ไม่เจ็บ เรียกว่า hard chancre ระยะนี้เรียกว่า primary syphilis รอยโรคนี้สามารถหายไปได้เองใน 2-3 สัปดาห์ และเชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือด แสดงอาการบริเวณต่างๆ ตามร่างกาย ได้แก่ แผลนูนไม่เจ็บที่อวัยวะเพศ(condyloma lata) ผื่นตามร่างกายรวมถึงฝ่ามือฝ่าเท้า(roseola syphilitica) เป็นต้น เรียกว่า ระยะ secondary syphilis ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย แต่รอยโรคต่างๆ จะสามารถหายไปได้เอง ต่อมาจะกลายเป็น tertiary syphilis รอยโรคระยะที่ไม่มีอาการจะเรียกว่า latent syphilis มีการแบ่งที่ระยะ 1 ปี เป็น early latent และ late latent โดย early latent syphilis เป็นระยะแพร่เชื้อได้มากกว่า การตรวจเพื่อวินิจฉย -เมื่อสงสัยว่ามีการติดเชื้อ syphilis ส่งเลือดตรวจทั้ง treponemal และ non-treponemal test ได้แก่ venereal disease research laboratory (VDRL) และ Treponema pallidum hemaglutination assay (TPHA) ทุกราย หากตรวจพบ chancre หรือ condyloma lata ควรส่งตรวจ dark field examination -การตรวจคัดกรองในสตรีตั้งครรภ์ใช้เฉพาะ VDRL ถ้า reactive จึงตรวจยืนยันด้วย TPHA ลกษณะที่บงชี้วาการรกษาซิฟิลิสล้มเหลว - อาการทางคลินิกไม่ดีขึ้น หรือกลับเป็นซ้าอีก - มีการเพิ่มระดับ VDRL ตั้งแต่ 4 เท่าขึ้นไป - ระดับ VDRL ลดน้อยกว่า 4 เท่า หรือยังมีระดับ ตั้งแต่ 1:8 ขึ้นไป หลังจากรักษาเป็นเวลา 1 ปี ข้อควรปฏิบติกอนการรกษาซ้า - ประเมินผู้ป่วยเกี่ยวกับการติดเชื้อใหม่ - พิจารณาตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี 1.ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสเอชไอวีร่วมด้วย ให้พิจารณาตรวจน้าไขสันหลังร่วมด้วย เนื่องจากอาจเกิดจากมีซิฟิลิสของระบบประสาท 2.ผู้ป่วยไม่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้ตรวจน้าไขสันหลังเมื่อมีอาการแสดงที่น่าสงสัย - รักษาคู่นอน
  • 15. การรกษา ชนิด/ ระยะของ syphilis การรักษา Primary, secondary syphilis และ early latent syphilis รักษาคู่นอน แม้ไม่มีอาการ แนะนา Benzathine penicillin G 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว ทางเลือก Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ Ceftriaxone 1 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดหรือกล้ามเนื้อวันละครั้ง นาน 10-14 วัน หรือ Azithromycin 2 กรัม รับประทานครั้งเดียว หรือ Erythromycin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน Late latent syphilis รักษาคู่นอน เมื่อตรวจพบ มีผลเลือดผิดปกติ Benzathine penicillin G 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสัปดาห์ละครั้ง จานวน 3 ครั้ง ทางเลือก Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 30 วัน หรือ Tetracycline 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 30 วัน หรือ Erythromycin 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 30 วัน Tertiary syphilis Benzathine penicillin G 7.2 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสัปดาห์ละครั้ง จานวน 3 ครั้ง Neurosyphilis แนะนา Aqueous crystalline penicillin G 18-24 ล้านหน่วยต่อวัน แบ่งเป็น 6 เวลาและให้อย่าง ต่อเนื่องตลอดวัน นาน 10-14 วัน ทางเลือก Procaine penicillin 2.4 ล้านหน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ วันละครั้ง ร่วมกับ probenacid 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 10-14 วัน ตั้งครรภ์ Benzathine penicillin G เป็นทางเลือกแรก วิธีการให้เหมือนผู้ป่วยที่ไม่ตั้งครรภ์ หากไม่มียาดังกล่าว จะให้การรักษาด้วย erythromycin stearate แต่เนื่องจาก erythromycin ผ่านรกได้ในปริมาณน้อย จึงควรแจ้งกุมารแพทย์ เพื่อดูแลทารกแรกเกิดแบบ congenital syphilis ทุกราย ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ให้การรักษาเหมือนผู้ที่ไม่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี
  • 16. หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminata) เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Human papillomavirus (HPV) ชนิดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่า โดยร้อยละ 90 เกิดจากไวรัสเอช พีวี ชนิด 6 และ 11 เชื้อไวรัสนี้ทาให้เซลล์มีการแบ่งตัวมากผิดปกติ ทาให้มีก้อนเนื้อยื่นนูน เลือดออกได้ง่าย แสบ หรือ ตกขาวมากขึ้น อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรคเป็นหลัก ตาแหน่งรอยโรค การรักษา External genital warts โดยผู้ปวยทาเอง 0.5% Podofilox solution หรือ gel ทาวันละ 2 ครั้ง 3 วัน เว้น 4 วัน จานวนไม่เกิน 4 รอบ หรือ Imiquimod 5% cream ทา 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ไม่เกิน 16 สัปดาห์ โดยบุคลากรทางการแพทย์ทาให้ Cryotherapy ด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ Podophyllin resin 10%–25% in benzoin ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90% ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ จี้ไฟฟ้ า จี้ด้วยความเย็น ตัดด้วยใบมีด Cervical wart ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจเพื่อแยกภาวะมะเร็งปากมดลูก ก่อนเริ่มการรักษา การรักษาตามแนวทางเดียวกับ การรักษา external genital warts โดยบุคลากรทางการแพทย์ Vaginal wart จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90% Urethral meatal wart จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ Podophyllin resin 10%–25% in benzoin ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง Anal warts จี้ด้วยความเย็นด้วย liquid nitrogen หรือ cryoprobe หรือ Trichloroacetic acid (TCA) 80%–90% ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ ตัดด้วยใบมีด *ควรนาคู่นอนมารับการตรวจ โดยส่วนใหญ่มักไม่พบรอยโรค แนะนาให้งดการมีเพศสัมพันธ์เฉพาะช่วงที่มีรอยโรค **กรณีตั้งครรภ์ ไม่ควรใช้ 5% imiquimod และ podophyllin resin ***ควรนัดมาตรวจสัปดาห์ละครั้ง จนกว่ารอยโรคจะหายสนิท ****Podofilox และ Podophylline resin เป็น anti-mitotic drug ซึ่งมี systemic absorption ได้ จนอาจทาให้เกิด toxicity แต่ ละครั้ง ไม่ควรทาเกิน 0.5mL หรือ พื้นที่ไม่เกิน 10 ตารางเซนติเมตร และควรล้างออกภายใน 4 ชั่วโมงหลังการทาบริเวณที่มี แผลเปิด
  • 17. หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum) เกิดจากไวรัสกลุ่ม poxviridae ไวรัสนี้สามารถเข้าสู่เซลล์ได้โดยวิธี phagocytosis การติดเชื้อมักเกิดเฉพาะผิวหนัง ชั้นepidermis โดยของเหลวที่อยู่ในกลุ่มรอยโรคนี้จะประกอบด้วย intracytoplasmic inclusion body เรียก molluscum body หูด ข้าวสุกมักหายได้เองใน 6-9เดือน การรักษาทาเพื่อป้ องกันการแพร่กระจายสู่ผู้อื่นและตนเอง การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค การรกษา -มี content: ใช้เข็มฉีดยาสะกิดบริเวณรอยโรค แล้วจึงทาน้ายาฆ่าเชื้อ betadine solution -ไม่มี content ให้แต้มด้วย 80%-90% trichloracetic acid วิธีการรักษาอื่นๆ เช่น จี้ด้วยไฟฟ้ า -หากใช้วิธีข้างต้นไม่ได้ผล อาจใช้วิธีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้imiquimod cream, 0.1% tretinoin cream, cryotherapy/ liquid nitrogen, podophyllin resin10%-25%, LASER *ถ้าตั้งครรภ์ ให้รักษาเหมือนกัน **ให้การรักษาคู่นอน หากมีอาการ หิด (Scabies) การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค (ตารางที่ 2) การรกษา ให้ผู้ป่วยอาบน้า เช็ดตัวจนแห้ง แล้วทายาบางๆ ให้ทั่วทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงปลายเท้า รวมผิวหนังสิ่วนที่เป็นปกติด้วย ทิ้งไวิ้12 ชั่วโมง แล้วจึงลิ้างออก ยาที่มีให้เลือกใช้มี 2 ชนิด ได้แก่ 1. 1% Gamma benzene hexachloride cream หลิังทายาครั้งแรกแล้ว ให้ทาซ้าอีกครั้งที่หนึ่งสิัปดาห์ต่อมา ไม่ควรทามากเกินความจิาเป็นเพราะจะทิาให้เกิดพิษต่อระบบประสาท และทิาให้ชักได้ ไมิ่แนะนิาให้ใช้ในเด็ก อายุ ต่ากวิ่า 2 ปิี 2. 25% Benzyl benzoate emulsion หลังทายาครั้งแรกแลิ้ว ใหิ้ทาซ้าอิีกครั้งในหนึ่งสิัปดาห์ต่อมา ยานี้ไมิ่ควรใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปิี เพราะจะทิาให้เกิดอาการระคายเคือง *รักษาคู่นอนไปพร้อมๆ กัน แม้ไม่มีอาการ **ถ้าตั้งครรภ์ ให้รักษาเหมือนกัน ***ถ้าคันมาก สามารถรับประทานยา anti-histamine ถ้ายังมีตุ่มคันเหลืออยู่ให้ใช้ mild topical steroid เช่น triamcinolone 0.1%, betamethasone 0.1% เป็นต้น ทาวันละ 2 ครั้ง จนกว่าจะหาย โลน (Pubic lice) การตรวจเพื่อวินิจฉย จากการดูรอยโรค (ตารางที่ 2) การรกษา ใช้ gamma benzene hexachloride 1% cream ทาบางๆ บริิเวณอวัยวะเพศ และผิวหนังบริเวณใกล้เคียง ทิ้งไว้ 8 -12 ชั่วโมง แล้วล้างออก ส่วนใหญ่ครั้งเดียวมักได้ผล แติ่ถ้ามีตัวโลนจิานวนมาก ควรทาซ้าที่ 3 วันต่อมา หลังการทาครั้งแรก และควรทายาอีกครั้ง 7 วันหลังครั้งแรก ควรทาความสะอาดเครื่องนุ่งห่มและเครื่องนอน ด้วยน้าร้อนหรือนาไปตากแดด *รักษาคู่นอนไปพร้อมๆ กัน แม้ไม่มีอาการ **ถ้าตั้งครรภ์ ให้การรักษาเหมือนกัน
  • 18. ***ถ้าคันมาก สามารถรับประทานยา anti-histamine ถ้ายังมีตุ่มคันเหลืออยู่ให้ใช้ mild topical steroid เช่น triamcinolone 0.1%, betamethasone 0.1% เป็นต้น ทาวันละ 2 ครั้ง จนกว่าจะหาย อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic inflammatory disease) การวินิจฉย เป็นการวินิจฉัยหลังจากแยกภาวะอื่นๆ ออกไปก่อน โดยมี เกณฑ์การวินิจฉัยขั้นต่าอย่างน้อย 1 ข้อ และ มีเกณฑ์การวินิจฉัยเพิ่มเติม อีกอย่างน้อย 1 ข้อ เกณฑ์การวินิจฉยข้นต่า - โยกเจ็บที่ปากมดลูก - กดเจ็บที่บริเวณมดลูก - กดเจ็บที่อวัยวะด้านข้างของมดลูก เกณฑ์การวินิจฉยเพิ่มเติม - วัดอุณหภูมิทางปาก ได้สูงกว่า 38.3 องศาเซลเซียส - ตกขาวบริเวณปากมดลูกหรือในช่องคลอดผิดปกติเป็นมูกสีเหลืองปริมาณมาก - ตรวจตกขาวด้วยกล้องจุลทรรศน์พบเม็ดเลือดขาวจานวนมาก - มีค่า erythrocyte sedimentation rate สูงขึ้น - มีค่า c-reactive protein สูงขึ้น - ตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อ N. gonorrhea หรือ C. trachomatis การรกษา แบบผู้ป่วย นอก Ceftriaxone 250 มิลลิกรัม หรือ 3rd gen. cephalosporin อื่นที่เทียบเท่า ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว และ Doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน และ/ หรือ Metronidazole 500 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน แบบผู้ป่วยใน แนะนา Cefoxitin 2 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 6 ชั่วโมง และ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง หรือ Clindamycin 900 มิลลิกรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 8 ชั่วโมง และ gentamicin loading dose 2 มิลลิกรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือด ตามด้วย maintenance dose ขนาด 1.5 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุก 8 ชั่วโมง *สาหรับ gentamicin อาจให้ในรูป 240 มิลลิกรัม ให้ทางเส้นเลือดอย่างช้าๆ วันละ 1 ครั้ง ทางเลือก Ampicillin/ sulbactam 3 กรัม ฉีดเข้าเส้นเลือดทุก 6 ชั่วโมง และ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทาน วันละ 2ครั้ง *เมื่ออาการดีขึ้น 24 ชั่วโมง เปลี่ยนเป็นยารูปรับประทาน ได้แก่ doxycycline 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ clindamycin 450 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน **รักษาคู่นอนด้วยสูตรยาที่ครอบคลุมทั้ง N. gonorrhea และ C. trachomatis แม้ไม่มีอาการ ***จาเป็นต้องให้ผู้ป่วยเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล ในกรณีต่อไปนี้ - ไม่สามารถแยกภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรมได้ เช่น ภาวะไส้ติ่งอักเสบ - ผู้ป่วยกาลังตั้งครรภ์ - ไม่ตอบสนองต่อยารูปรับประทาน - ไม่สามารถมาตรวจติดตามตามนัดได้ หรือไม่สามารถรับประทานยาแบบผู้ป่วยนอกได้
  • 19. - อาการรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้สูง - ตรวจพบ tubo-ovarian abscess (TOA) เอกสารอ้างอิง 1. อนุวัตร รุ่งพิสุทธิพงษ์. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted diseases). กรุงเทพมหานคร: MedInfo G.D., Ltd, 2549. 2. วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร. ตกขาว(vaginal discharge). ใน: วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร, มณี รัตนไชยานนท์, ประสงค์ ตันมหาสมุทร, มงคล เบญจาภิบาล, ไอรีน เรืองขจร, บรรณาธิการ. ตารานรีเวชวิทยา. ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พี.เอ.ลีฟวิ่ง 2552:153- 64. 3. อังคณา เจริญวัฒนาโชคชัย, เอกจิตรา สุขกุล, นภาพร วิบูลยานนท์, ปริศนา บัวสกุล. แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2553. 4. Monif R, Baker D. Infectious diseases in Obstetrics and Gynecology. 6th ed. London: IDI Publications; 2008. 5. Centers for Disease Control and Prevention. Sexually transmitted diseases treatment guidelines, 2010. Morbidity and Mortality Weekly Report. 2010; 59(RR-12):1-112 7. Sobel JD. Vaginitis. N Engl J Med. 1997; 337:1896-903. 8. Morse SA, Ballard RC, Holmes KK, Moreland AA. Atlas of Sexually transmitted diseases and AIDs. 4th ed. Euradius: Elsevier Saunders; 2010.