SlideShare a Scribd company logo
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2
คำนำ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ SMEs มีบทบาทในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากจำนวนผู้ประกอบการที่มี
มากกว่า 2.7 ล้านราย และเป็นสัดส่วนมากถึง 37.4% ของ GDP ทั้งประเทศ อย่างไร
ก็ตามผู้ประกอบการรายย่อยยังมีข้อจำกัดด้านองค์ความรู้ในการบริหารธุรกิจให้เข้า
กับยุคสมัย การพัฒนาเทคโนโลยี ตลอดจนการประยุกต์แนวคิดเชิงนวัตกรรมกับ
ธุรกิจได้ การที่จะก้าวผ่านข้อจำกัดดังกล่าวได้ พี่เลี้ยงธุรกิจที่ช่วยให้คำแนะนำจึงเป็น
เครื่องมือหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการช่วยเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งนวัตกรรมให้เติบโตใน
ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจเล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับพี่เลี้ยง
ธุรกิจเพื่อสร้างความเข้าใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลแนวโน้มของธุรกิจไทย รูปแบบ
ของนวัตกรรมในการประกอบธุรกิจ เครื่องมือและกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนา
ธุรกิจ แนวทางการเตรียมความพร้อมของพี่เลี้ยง ซึ่งสิ่งเหล่านี้พี่เลี้ยงจำเป็นที่จะต้อง
ศึกษาและทำความเข้าใจก่อนการให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ เพื่อให้การให้คำ
ปรึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาผู้ประกอบการ และยก
ระดับภาคเศรษฐกิจของไทย
3
สารบัญ
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SMEs....
1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงการ.....................................................
1.2 แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย........................................................
• เทรนด์มาแรงของโลก และการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ..............
• แนวโน้มธุรกิจมาแรงของโลก...................................................
• แนวโน้มธุรกิจมาแรงของไทย....................................................
1.3 นวัตกรรมทางธุรกิจ.........................................................................
• นวัตกรรมคืออะไร.....................................................................
• 10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม…………………….………………….
1.4 ระบบพี่เลี้ยง......................................................................................
• ความสำคัญของระบบพัฒนาพี่เลี้ยง........................................
• บทบาทของพี่เลี้ยง...................................................................
• รูปแบบแนวทางความร่วมมือ....................................................
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยง........................................................
2.1 การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ............................................................
2.2 การกำหนดหลักเกณฑ์และการคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ............
2.3 การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ..................................................................
2.4 การจับคู่พี่เลี้ยงกับ SMEs..............................................................................
2.5 การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง..............
2.6 การประเมินผลและการคัดเลือกพี่เลี้ยงต้นแบบ..............................................
บทที่ 3 แนวทางการให้คำปรึกษา................................................
3.1 แบบจำลองทางธุรกิจ (Business Model Canvas)…………………………….…
3.2 กลยุทธ์ STP (STP Strategy)…………………………………………………………
3.3 การวิเคราะห์ 3C (3C’s Model)…………………………………………………………
3.4 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (Key Success Factor)………………………………………
3.5 ทางด่วนแห่งชัยชนะ (Quick-win Analysis)………………………………………
บทที่ 4 ตัวอย่างรูปแบบการสร้างนวัตกรรม.............................
4
5
9
10
11
12
14
17
18
30
31
32
34
35
37
40
44
46
49
66
68
70
101
111
117
122
125
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SMEs?
4
B R O N X .
ที่มาและความสำคัญ
ของโครงการ
1.1
5
CLICKTODISCOVER
ธุรกิจ SMEs
มีอัตรา GDP เติบโตสูงกว่า
GDP รวมทั้งประเทศ
ที่มาและความสำคัญของโครงการ Smart Thai Biz
ธุรกิจบริการเข้ามา
มีบทบาทแทนการผลิต
ธุรกิจ SMEs ไทยมีข้อจำกัด
ด้านการพัฒนาเทคโนโลยี
และแนวคิดเชิงนวัตกรรม
ผู้ประกอบการ SMEs ไทย
ยังขาดองค์ความรู้
ในการบริหารธุรกิจ
ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นฐาน
6
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ
ธุรกิจ SMEs เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ของประเทศ โดยมีจํานวนมากกว่า 2.7 ล้าน
ราย และ GDP จาก SMEs คิดเป็น 37.4%
ของ GDP ทั้งประเทศ ดังนั้น...
การพัฒนาธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
ให้ขายสินค้า และบริการได้เต็มศักยภาพ
พัฒนาโมเดลธุรกิจให้สามารถก้าวทันโลกที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจะช่วยให้เศรษฐกิจ
ไทยเติบโตอย่างยั่งยืน
7
1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
วัตถุประสงค์
ของโครงการ
SmartThaiBiz
ย ก ร ะ ดั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู ้ป ร ะ ก อ บ ก า ร
ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายย่อย
ให้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ส ร้ า ง ส ภ า ว ะ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ท ำ ธุ ร กิ จ
สร้างสภาพแวดล้อมการทำธุรกิจที่เหมาะสมและเกื้อหนุน
การพัฒนาผู้ประกอบรายย่อยเป็นนักการค้ามืออาชีพ
ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย
สร้างเครือข่ายการพัฒนายกระดับผู้ประกอบธุรกิจให้เข้มแข็ง
และขยายโอกาสทางการตลาดในประเทศและต่างประเทศ
8
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ
B R O N X .
แนวโน้มธุรกิจ
โลกและประเทศไทย
9
1.2
10
การเพ่ิมขึ้นของชนช้ันกลาง และ
ผู้สูงอายุส่งผลให้เกิดกระแส
รักสุขภาพ ธุรกิจอาหารสุขภาพ
และธุรกิจท่ี เก่ียวข้องกับ
การออกกําลังกาย การดูแลด้าน
สุขภาพเป็นที่ต้องการ นอกจากนี้
ยังทําให้ธุรกิจร้านอาหาร
บริการส่งอาหารเป็นท่ีนิยม
1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
11
คน Gen-Y
ชอบการทำงาน
ประชุมออนไลน์
80%
Online Meeting &
Web Conferencing
Services
E-Commerce
+free shipping
ผู้ซื้อ 58% พร้อมจะคลิก “สั่งซื้อ”
ถ้าธุรกิจเสนอบริการส่งฟรี
EMV payment
security
Online lending
Business
Intelligence
ธุรกิจที่ช่วยอำนวย
ความสะดวกในการ
วิเคราะห์ข้อมูล
Big Data และ
Social Media Tools
FREE
ที่มา : entrepreneur
แนวโน้มธุรกิจมาแรงของโลก
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
แนวโน้มธุรกิจมาแรง
ของไทย
12
ธุรกิจรับเหมางาน
ก่อสร้างภาครัฐ
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม
ธุรกิจผลิตและจําหน่าย
วัสดุก่อสร้าง
มูลค่ารวม
400,000
ล้านบาท
เติบโต
5%
มูลค่ารวมทั่วโลก
35
ล้านล้านบาท
ตลาดอาหาร
เพื่อสุขภาพไทย
อันดับ
ของโลก19
ที่มา : MarketingOops.com
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
แนวโน้มธุรกิจมาแรง
ของไทย
13
ธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์
ธุรกิจ E-Commerce และ Digital Technology
ธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหารตามแหล่งท่องเที่ยว
ธุรกิจ E-Commerce ขยายตัวทำให้ธุรกิจ
ขนส่งระหว่าง B2C และ C2C เติบโตด้วย
20%
240,000
ล้านบาท
=
15%
นักท่องเที่ยว
ต่างชาติ
เพิ่มขึ้น
150,000
ล้านบาท
=
ที่มา : MarketingOops.com
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
B R O N X .
นวัตกรรมทางธุรกิจ
14
1.3
หลักสูตรการพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
CLICKTODISCOVERBUSINESSMODELCANVAS
15
“Innovation distinguishes
between leader and
followers”
- Steve Jobs
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
15
CLICKTODISCOVER
16
KODAK เป็นฝันร้ายของธุรกิจ
ที่ไม่มีการพัฒนาด้านนวัตกรรม
ให้เข้ากับความต้องการของผู้บริโภค
เหตุผลที่ทำให้ KODAK ล้มละลาย
Core Competency ของธุรกิจ คือ ฟิล์ม ซึ่งกลายเป็น
สิ่งที่ผู้บริโภคไม่ต้องการ
ไม่ทำการสำรวจความต้องการของผู้บริโภค
ปรับตัวเข้าสู่ตลาดดิจิทัลช้าเกินไป
ผู้บริหารไม่ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์และพัฒนา
ด้านนวัตกรรมสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
17
นวัตกรรมคืออะไร?
DIFFERENT RELEVANT
แตกต่าง ตอบโจทย์
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
CLICKTODISCOVER
18
10 Types of Innovation
10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม
ที่มา : หนังสือ 10 Types of Innovation และการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลโดยศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหารแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
1
Profit Model
(รูปแบบโครงสร้างกำไร)
นวัตกรรมการสร้างรูปแบบการทำธุรกิจ
เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น หรือขายสินค้าได้
แพงขึ้น หรือคิดหาวิธีสร้างที่มาของ
รายได้รูปแบบใหม่
19
10 Types of Innovation
Configuration
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
10 Types of Innovation
2
Network
(เครือข่าย)
นวัตกรรมที่เกิดจากการใช้เครือข่ายเพื่อ
สร้างคุณค่าใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ
20
พันธมิตร (Alliances)
ธุรกิจที่มีรูปแบบการดำเนินงานคล้าย ๆ กันมาร่วมมือกันโดยแบ่งปันความเสี่ยง และรายได้ร่วมกัน
เพื่อพัฒนาความได้เปรียบทางการแข่งขันของตนในตลาด เช่น ร้านขายเสื้อผ้าออนไลน์รวมตัวกัน
เปิดหน้าร้านที่สยามสแควร์ และการที่ Sizzler ใช้ผักสดจากโครงการหลวงเพื่อสร้างความเชื่อมั่น
ให้ผู้บริโภค
Configuration
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
การซื้อกิจการเพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตหรือช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรบางอย่าง
ร่วมกับบริษัทที่โดยปกติถือว่าเป็นคู่แข่งของคุณเพื่อบรรลุจัดประสงค์
บางอย่างไปด้วยกัน เช่น ผู้ผลิตมือถือต่างร่วมมือกันในการกำหนด
มาตรฐานของเทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูล เช่น EDGE, 3G, 4G
10 Types of Innovation
Configuration
3
Structure
(โครงสร้าง)
นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร
ในระดับ Corporate Strategy เช่น ผังองค์กร
การดำเนินงานขององค์กร
21
ใช้ผู้รับจ้างภายนอก (Outsourcing)
การมอบหมายให้ผู้รับจ้างภายนอกทําหน้าที่ในการผลิต พัฒนา หรือดูแลรักษาระบบต่างๆ เช่น
เว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์มักจ้างธุรกิจขนส่งมาดําเนินการกระจายสินค้าไปยังลูกค้า
สร้างมาตรฐานอุปกรณ์ (Asset Standardization)
การลดต้นทุนดําเนินงาน และเพิ่มความสามารถในการเชื่อมโยงด้วยการสร้างมาตรฐาน วัสดุ
อุปกรณ์ต่างๆ เช่น แฟรนไชส์ไก่ย่างห้าดาวมีการสร้างมาตรฐานอุปกรณ์ท่ีเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็น
ตู้ทอด ตู้เย็น และอุปกรณ์การขายต่างๆ
ร่วมงานกับมหาวิทยาลัย (Corporate University)
การจัดหาการฝึกอบรมความเชี่ยวชาญทางสายงาน หรือความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ ให้กับ
ผู้จัดการ เช่น ธุรกิจส่งพนักงานเข้ารับการอบรมภาษาจีนกับสถาบันภาษา มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ เพื่อการติดต่อกับผู้ค้าชาวจีน
ออกแบบโครงสร้างองค์กร (Organizational Design)
การจัดหรือปรับปรุงโครงสร้างองค์กรตามฟังก์ชัน จุดประสงค์หลัก และลักษณะการ ดําเนินธุรกิจ
เช่น หากเป็นธุรกิจการผลิตควรแบ่งโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายคลังสินค้า
ฝ่ายจัดส่ง ฝ่ายบัญชี เป็นต้น
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
10 Types of Innovation
Configuration
4
Process
(กระบวนการผลิต)
นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนในระดับกระบวนการ
ที่ส่งผลให้กระบวนการทำงานในระดับ Functional
มีประสิทธิภาพมากขึ้น
22
กระบวนการผลิตแบบลีน (Lean Production)
การลดของเสียและต้นทุนที่ไม่จําเป็นในการผลิต และในการดําเนินการอ่ืนๆ ท่ีทําให้ขั้นตอนการผลิตสั้น
ลง ใช้เวลาลดลงและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระบบการผลิตที่ไม่มีการจัดเก็บวัตถุดิบ หรือจัดเก็บน้อย
มาก โดยจะทําการสั่งซ้ือวัตถุดิบเมื่อได้รับคําสั่งซ้ือจากลูกค้าเพื่อลดต้นทุนในการจัดเก็บวัตถุดิบ
ใช้ระบบอัตโนมัติ (Process Automation)
ใช้เครื่องมือ และระบบเข้ามาจัดการกับงานประจําแทน เพื่อพนักงานจะมีเวลาว่างไปทํางานอย่างอื่น
เช่น ระบบหยอดเหรียญอัตโนมัติเพื่อเข้าห้องนํ้า ลดจํานวนคนในการเก็บเงินจากผู้ใช้บริการ
วางมาตรฐานกระบวนการผลิต (Process Standardization)
การเลือกใช้สินค้า กระบวนการทํางาน และนโยบายที่เหมือนกัน เพ่ือลดความยุ่งยาก ลดค่าใช้จ่าย และ
ลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น โรงแรม ibis เป็นโรงแรมราคาประหยัดที่มีบริการครบถ้วนตาม
ท่ีลูกค้าต้องการ โดยเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์เหมือนกัน และนโยบายในการทํางานที่เหมือนกัน
ลดความยุ่งยากในการจัดการ
ผู้ใช้งานเป็นผู้ให้ข้อมูล (User Generated)
ทําให้ผู้ใช้งานมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเพ่ิมศักยภาพให้กับสินค้าของเรา เช่น KFC มีการให้ลูกค้า
เข้าไปตอบแบบสอบถามความถึงพอใจในการให้บริการของพนักงาน รวมถึงรสชาติอาหาร และ
ข้อเสนอแนะอื่นๆ ทางออนไลน์ โดยให้นักเก็ตเป็นของตอบแทน ซึ่งผลประเมินเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่ทําให้
ธุรกิจปรับปรุงและพัฒนาต่อไปได้
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
5
Product
Performance
(ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์)
นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์
เพื่อสร้างคุณค่าด้านประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการใช้งาน
ของผู้บริโภค
23
เพิ่มฟังก์ชันการใช้งาน (Added Functionality)
การเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับผลิตภัณฑ์หรือ บริการ เช่น
Facebook ที่มีการเพิ่มฟังก์ชั่นการใช้ งาน "Live" ที่ช่วยให้คุณ
สามารถถ่ายทอดสด พร้อมเห็นถึงผลตอบรับจากผู้ชมได้ใน
ขณะนั้นเลย
ใส่ใจส่ิงแวดล้อม (Environmental Sensitivity)
ใช้วัตถุดิบ หรือส่วนประกอบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น
ธุรกิจผลิตจานชามจากพลาสติกหรือโฟม เปลี่ยนเป็นผลิตจาน
เยื่อพืชธรรมชาติ ซึ่งมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ และ ย่อยสลายได้
ง่ายและรวดเร็วกว่าพลาสติก/โฟม
มีสไตล์ (Styling)
นําเอาสไตล์แฟช่ัน หรือภาพลักษณ์ท่ีโดดเด่นมาใช้ ในการดึงดูด
ใจลูกค้า การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มี ความทันสมัย หรือ การนํา
ดารา หรือผู้มีชื่อเสียงมาเป็นตัวแทนตราสินค้า ซึ่งจะช่วยดึงดูด
ความสนใจของลูกค้า
เช่น แบรนด์ VATANIKA มีการร่วมมือกับ ชมพู่ อารยา
10 Types of Innovation
Offering
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
6
Product
System
(ระบบผลิตภัณฑ์)
นวัตกรรมจากการปรับปรุงระบบของ
สินค้าหรือคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์
ให้เข้ากับพฤติกรรมการใช้ การบริโภค
หรือการซื้อของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
24
10 Types of Innovation
Offering
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
10 Types of Innovation
7
Service
(การบริการ)
นวัตกรรมจากการปรับปรุงรูปแบบของ
การบริการเพื่อสร้างประสบการณ์การใช้
งานที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้
บริการแต่ละกลุ่ม
25
Experience
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
8
Channel
(ช่องทางการจำหน่าย)
นวัตกรรมที่เกิดจากสร้างรูปแบบช่องทาง
การเข้าถึงสินค้าหรือการเข้าถึงบริการเพื่อ
สร้างประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับ
ผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม
26
10 Types of Innovation
Experience
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
9
Brand
(ตราสินค้า)
นวัตกรรมที่มาจากการใช้แบรนด์
( ต ร า สิ น ค้ า ) เ ป็ น ตั ว ส ร้ า ง
ประสบการณ์ให้กับลูกค้าในรูปแบบ
ต่างๆ ตาม Brand DNA ของธุรกิจ
27
10 Types of Innovation
Experience
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
10
Customer
Engagement
(ความผูกพันกับลูกค้า)
นวัตกรรมที่ใช้ในการสร้างความผูกพันกับลูกค้า
ในรูปแบบต่างๆ เพื่อส่งมอบประสบการณ์ที่
ลูกค้ามองหาหรือลูกค้าคาดไม่ถึง
28
อิสระและสิทธิพิเศษ (Autonomy and Authority)
ให้ผู้ใช้งานมีอํานาจในการกําหนดประสบการณ์ของตนเอง เช่น ร้านอาหาร ที่ผู้ใช้งาน
สามารถเลือกได้ว่าจะประกอบอาหารเอง หรือให้พนักงานทําให้ เช่น Pepper Lunch
ประสบการณ์แสนสะดวก (Experience Automation)
ลดการกระทําที่ซํ้าซากของผู้ใช้งาน เพื่อทําให้ชีวิตของ
พวกเขาง่ายขึ้น และให้ประสบการณ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิมแก่
เขา เช่น ร้าน MK ที่ลูกค้าสามารถสั่งอาหารได้ผ่านทาง
จอ tablet ท่ีติดตั้งทุกโต๊ะ เพื่อสร้างความสะดวกสบาย
ให้ลูกค้า และช่วยลดข้ันตอนการรับเมนูจากพนักงาน
นอกจากนี้ยังให้ลูกค้าสามารถดูสรุปยอดค่าใช้จ่ายได้
ความแปลกใหม่และเอกลักษณ์เฉพาะตัว
(Whimsy and Personality)
สร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวให้กับสินค้าของคุณ ด้วย
รายละเอียดเล็กๆ บนแบรนด์ บนข้อความต่างๆ และทํา
ให้มันดูเหมือนมีชีวิต Bar-b-q Plaza จัดทําพวงกุญแจ
เตาทองเหลือง ซึ่งผลิตจากเตาทองเหลือรุ่นเก่านําไป
หลอมเป็นพวงกุญแจ ซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์ที่สื่อ
ถึงร้านอย่างชัดเจน
10 Types of Innovation
Experience
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
29
แนวทางการประยุกต์ใช้ “10 Types of Innovation” ในโครงการ SMART THAI BIZ
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
Configuration
Profit Model ธุรกิจทำการตลาดร่วมกับคอนโดแจกเหยือกกรองน้ำให้ใช้ฟรี เพื่อจะสร้างกำไรจากการขายไส้กรองต่อไป
Network ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ผ้าม่านสร้างเครือข่ายแฟรนไชส์ที่จะเป็นฐานลูกค้าที่จะสั่งซื้อสินค้าอุปกรณ์ผ้าม่านของตัวเอง
Structure
ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายอุปกรณ์เก็บนมแม่ โดยใช้โครงสร้างที่ใช้คนน้อยมาก เน้นใช้ช่องทางออนไลน์และจัดจ้าง
องค์กรภายนอกในการบริหารการขาย
Process
ธุรกิจพัฒนานวัตกรรมการผลิตสินค้าพลาสติกสำหรับอุตสาหกรรมแบบ Express Service  ที่มี Lead time ใน
การผลิตต่ำ เพื่อตอบโจทย์การผลิตในอุตสาหกรรมรถ
Offering
Product
Performance
ธุรกิจพัฒนานวัตกรรมรองเท้าเซฟตี้ โดยผลิตส้นและตัวรองเท้าเป็นชิ้นเดียว ไม่ต้องเย็บหรือทากาวติด เพื่อขจัด
ปัญหาการหลุดแยกชิ้นจากการใช้งาน
Product System ธุรกิจนอกจากขายรถรางแล้ว ยังขายระบบการบริการ จัดตารางรถ และแอปพลิเคชั่นมือถือ พร้อมกันไปด้วย
Experience
Service
ธุรกิจขายคอมพิวเตอร์ที่เน้นการให้บริการแบบครบวงจร ทั้งติดตั้ง ลงโปรแกรม เพื่อสร้างความแตกต่างจาก
ผู้ขายออนไลน์ที่ราคาต่ำกว่าแต่ไม่มีบริการให้
Channel
ธุรกิจขายอุปกรณ์ก่อสร้างในกรุงเทพฯ ขยายช่องทางออนไลน์เพื่อเจาะตลาดผู้รับเหมาในต่างจังหวัดที่เริ่มมี
การเปรียบเทียบราคาออนไลน์มากขึ้น
Brand
ธุรกิจล้างรถสร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์ดูแลรถยนต์เพื่อเป็นวิธีในการสร้างความรับรู้กับลูกค้า เตรียมพร้อมสำหรับ
ขยายสาขา และสร้างแฟรนไชส์ในอนาคต
Customer
Engagement
ธุรกิจไวน์ผลไม้ใช้การติดต่อแบบเป็นส่วนตัวผ่านโปรแกรม Line เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าและบริหารจัดการ
ฐานข้อมูลลูกค้า (CRM)
B R O N X .
ระบบพี่เลี้ยง
30
1.4
ระบบพี่เลี้ยง คือ ระบบที่ผู้ที่มีความสามารถ เป็นที่ยอมรับ หรือมีประสบการณ์ในการทำธุรกิจมาเฝ้าสังเกต ให้ความรู้และคำแนะนำ
ช่วยเหลือในการทำธุรกิจแก่ผู้ที่ขาดประสบการณ์หรือผู้ที่เริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ โดยจะให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจในด้านต่างๆ
31
1.4ระบบพี่เลี้ยง
การขาดประสบการณ์และความสามารถในการบริหาร
เป็นสาเหตุหลักที่ธุรกิจ SMEs ล้มเหลว
จะเห็นได้จากการที่ผู้ประกอบการขาดวิสัยทัศน์ และไม่สามารถที่จะ
หาช่องทางการทำกำไรสำหรับธุรกิจของตนเองได้
(Baldwin et al., 1997; Festervand and Forrest 1991; Gaskill et al., 1993)
เพราะเป็นเครื่องมือการจัดการความรู้ในแง่ของการถ่ายทอดความรู้ระหว่างผู้ที่มีประสบการณ์
มากกว่าและผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า และเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพสำหรับการช่วยให้
ผู้ประกอบการเกิดการเรียนรู้และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายๆ ปีที่ผ่านมา
(E. St-Jean and J. Audet, 2009)
ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงจึงได้ถูกนำมาใช้
เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
บทบาทของพี่เลี้ยง
คือ การเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งนวัตกรรม
ให้เกิดขึ้นในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ของไทยที่กำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญใน
การสร้างเม็ดเงินให้ประเทศ
32
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.4ระบบพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
OUR JOB IS
“MANAGING CHANGE & INNOVATION”
33
The most important thing is to create “TRUST”
Because people don’t resist change, they resist being changed
Unfreezing
We are the same team
Changing
Know what to change
Refreezing
Maintain Improvement
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.4ระบบพี่เลี้ยง
รูปแบบแนวทางความร่วมมือ
34
ระบบพี่เลี้ยงจะประสบความสำเร็จได้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องร่วมมือกันเพื่อเพิ่มศักยภาพ SMEs ในรูปแบบต่างๆ โดยสามารถแบ่งความร่วมมือตาม
หน่วยงานที่จัดโครงการ ได้ดังนี้ 
ความร่วมมือ “สานพลังประชารัฐ ส่งเสริมวิสาหกิจ SMEs Start-up & Social Enterprises” เป็นการร่วมมือกันของหน่วยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชนจำนวน 64 องค์กร เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงโครงการต่างๆ พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำและ
คำปรึกษาจากพี่เลี้ยงธุรกิจ ภายใต้ความร่วมมือ 3 รูปแบบหลัก คือ
1. MOU SMEs ประกอบด้วย  
• โครงการ Big Brother (พี่ช่วยน้อง): โครงการความร่วมมือระหว่าง 14 องค์กร ได้แก่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม บริษัทมาลี บริษัทไทยเบฟเวอเรจ บริษัทมิตรผล บริษัทซีพีออลล์ บริษัทเอสซีจี บริษัท
โตโยต้า บริษัทสิงห์ คอร์เปอเรชั่น บริษัทสุรพล ฟู้ดส์ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกร ธนาคารทหารไทย มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย  เพื่อช่วยให้ธุรกิจ SMEs มีการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยการถ่ายทอดประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ
• โครงการส่งเสริม SMEs เข้าถึงแหล่งทุน 
• โครงการส่งเสริมตลาดต่างประเทศ (SMEs connect to the world) 
• โครงการส่งเสริมช่องทางการตลาด E-Commerce
2.กรอบ MOU Startup and IDE มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 1 ฉบับ
คือ การสนับสนุนและพัฒนาระบบนิเวศ (Eco-System) ให้ผู้ประกอบการใหม่ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (IDE Start-up)
3.กรอบ MOU Social Enterprise (SE) มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 2 ฉบับ
คือ การสนับสนุนและส่งเสริมความเข้มแข็งของวิสาหกิจเพื่อสังคมและเศรษฐกิจฐานรากและการสนับสนุนด้านการเงิน (SE Funding) 
• โครงการพัฒนาที่ปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)
• โครงการ Business Mentoring Center: BMC สู่ตลาดสากล เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่ง
เสริมการค้าระหว่างประเทศ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และศูนย์บริการข้อมูล (BSC) 
• โครงการนวัตกรรมเทคโนโลยีสะอาด โอกาสใหม่ของธุรกิจ SMEs (GEF UNIDO Cleantech
Programme for SMEs in Thailand) เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ (มก.) และองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูนิโด)
(ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2548)
การร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาครัฐ
เป็นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการ เช่น
บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
1.4ระบบพี่เลี้ยง
การร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
35
CLICKTODISCOVER
การกำหนดหลักเกณฑ์และ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
เพื่อให้ได้พี่เลี้ยงธุรกิจที่มีคุณสมบัติและทักษะที่
จำเป็นต่อการให้คำปรึกษา
36
การเลือกกลุ่มเป้าหมาย
พี่เลี้ยงธุรกิจ
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจที่
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ
01
ขั้นตอนการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงธุรกิจ
02
การพัฒนาหลักสูตร
พี่เลี้ยงธุรกิจ
เพื่อให้พี่เลี้ยงสามารถใช้เครื่องมือ
ต่าง ๆ เป็นตัวช่วยการให้คำปรึกษา
และมีประสบการณ์การให้คำปรึกษา
03
การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษา
และช่องทางในการสื่อสารกับพี่เลี้ยง
เพื่อแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น และลด
ความขัดแย้งระหว่างพี่เลี้ยงและ SMEs
0504
การจับคู่พี่เลี้ยงกับ SMEs
เพื่อให้ความเชี่ยวชาญของพี่เลี้ยงตรง
ความต้องการ SMEs
06
การประเมินผลและ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงต้นแบบ
เพื่อให้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์โครงการ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
B R O N X .
37
การเลือกกลุ่มเป้าหมาย
พี่เลี้ยงธุรกิจ
2.1
CLICKTODISCOVER
38
การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ
ใครบ้างที่สามารถเป็นพี่เลี้ยงได้
พนักงานเอกชน
ระดับผู้บริหาร
ระดับเจ้าหน้าที่
นักวิชาการ
ที่ปรึกษามืออาชีพ
นักศึกษาปริญญาโท เจ้าหน้าที่จาก
หน่วยงานภาครัฐ
เจ้าของธุรกิจที่
ประสบความสำเร็จ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.1การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ
CLICKTODISCOVER
39
ตัวอย่าง การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจในโครงการ SMART THAI BIZ
นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในแต่ละพื้นที่
ได้รับความร่วมมือจากสภาหอการค้าและสภาอุตสาหกรรมจังหวัดใน
การส่งรายชื่อ โดยเป้าหมายเป็นนักธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
เนื่องจากธุรกิจขนาดใกล้เคียงกันจะมีความเข้าใจกันเรื่องข้อจำกัดแบบ
ต่างๆ ได้ดีมากกว่า เช่น ข้อจำกัดเรื่องทรัพยากรเงินลงทุน
เป้าหมายการเลือก:
• เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของ SMEs ที่เป็นสมาชิกของโครงการได้ครอบคลุม
• เพื่อสะดวกต่อการจัดกลุ่มและก่อให้เกิดการเชื่อมโยงกันระหว่างพี่เลี้ยงธุรกิจภายในพื้นที่หรือในกลุ่มอุตสาหกรรม
1 2
ดังนั้นจึงได้เลือกกลุ่มเป้าหมายธุรกิจจาก 2 กลุ่ม
ที่ปรึกษามืออาชีพ
จากเครือข่ายของศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหาร
ทางธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CONC)
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.1การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ
B R O N X .
40
การกำหนดหลักเกณฑ์และ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจ
ประจำโครงการ
2.2
CLICKTODISCOVER
41
การกำหนดหลักเกณฑ์
ต้องคำนึงถึง
“จุดประสงค์โครงการ”
ตัวอย่างคุณสมบัติพี่เลี้ยงที่เหมาะสม
มีความพร้อมและยินดีที่จะเป็นพี่เลี้ยงธุรกิจ
เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีความเข้าใจในการประกอบธุรกิจ
มีทักษะในการสื่อสารที่ดี และมีความน่าเชื่อถือ
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และรับฟังผู้อื่น
มีความเป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์ และมองการณ์ไกล
มีความอดทนและความรับผิดชอบสูง
การคัดเลือกพี่เลี้ยงได้เหมาะสม
จะช่วยทำให้การนำระบบพี่เลี้ยงมาใช้
ประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น ”
“
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
CLICKTODISCOVER
42
ตัวอย่าง วิธีการคัดเลือกพี่เลี้ยง
☑ ประวัติการดำเนินธุรกิจ / การทำงาน
☑ วุฒิการศึกษา
☑ ประสบการณ์การทำธุรกิจ/ให้คำปรึกษา
☑ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
☑ เจตคติ และความมุ่งมั่น ใน
การช่วยเหลือผู้ประกอบการ
☑ ความน่าเชื่อถือ
☑ ทักษะการเป็นผู้ฟังที่ดี
☑ ความพร้อมด้านเวลา
☑ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
การตรวจสอบเอกสาร / CV การสัมภาษณ์
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
CLICKTODISCOVER
43
การกำหนดหลักเกณฑ์และการคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในแต่ละพื้นที่
พี่เลี้ยงนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
กิจการที่มีความเข้มแข็ง โดยพิจารณาผลการดำเนิน
กิจการจากสถานะทางการเงิน ซึ่งได้แก่ รายได้จากการ
ประกอบธุรกิจ และอัตราการเติบโตของยอดขาย
เนื่องจากกิจกรรมของโครงการเป็นกิจกรรมที่จะต้องอาศัยความต่อเนื่องของพี่เลี้ยงในการเข้าร่วมโครงการ
ดังนั้นพี่เลี้ยงนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จจะต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอจนจบโครงการ
1 2
1. คุณสมบัติด้าน
ความรู้ความสามารถ
2. ทั ศ น ค ติ แ ล ะ ค ว า ม
เต็มใจที่จะเป็นพี่เลี้ยง
ตลอดโครงการ
พี่เลี้ยงที่ปรึกษามืออาชีพ
พิจารณาจากประวัติการทำงาน (CV) ที่ทาง
ที่ปรึกษามืออาชีพส่งให้โครงการ
ที่ปรึกษามืออาชีพ
หลักเกณฑ์การคัดเลือก
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ
การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
B R O N X .
44
การพัฒนาหลักสูตร
พี่เลี้ยงธุรกิจ
2.3
CLICKTODISCOVER
45
การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ
การอบรมภาคทฤษฎี
เป็นการเพิ่มประสบการณ์ให้พี่เลี้ยงธุรกิจสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ
เป็นตัวช่วยในการจัดระเบียบความคิด และช่วยในการสื่อสารกับ
ผู้ประกอบการ SMEs ได้ดีมากยิ่งขึ้นมีการพัฒนาหลักสูตรจาก
• แนวความคิดแบบจำลองทางธุรกิจ (Business Model Canvas)
• แนวความคิด 10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม (10 Types of
Innovation)
การฝึกภาคปฏิบัติ
เพื่อให้มีโอกาสได้ทำความรู้จักผู้ประกอบการ มีเวลาค้นหาข้อมูล
เพิ่มเติม เพื่อให้การพัฒนาโมเดลมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังนี้
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ
ครั้งที่ 3 : ติดตามผลลัพธ์จากการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่ เพื่อนำ
มาจัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.3การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ
B R O N X .
46
การจับคู่
พี่เลี้ยง กับ SMEs
2.4
CLICKTODISCOVER
47
ต้องคำนึง...
• ความถนัดและความเชี่ยวชาญของพี่เลี้ยงธุรกิจ
• ความต้องการของผู้ประกอบการในด้านที่ต้องการ
เข้ารับคำปรึกษา
• การเดินทาง/สถานที่ที่ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง
และผู้ประกอบการ
“เพื่อลดความขัดแย้ง และ
ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในกระบวนการให้คำปรึกษา”
การจับคู่ให้คำปรึกษา
ระหว่างพี่เลี้ยงธุรกิจและผู้ประกอบการ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.4การจับคู่พี่เลี้ยงกับSMEs
CLICKTODISCOVER
48
ตัวอย่าง เกณฑ์การจับคู่ให้คำปรึกษา
ระหว่างพี่เลี้ยงกับผู้ประกอบการ
ความเหมาะสมด้านพื้นที่
รูปแบบการดำเนินธุรกิจ
และกลุ่มอุตสาหกรรม
ประสบการณ์ และ
ความถนัดของพี่เลี้ยงธุรกิจ
อายุของพี่เลี้ยง และ
ผู้ประกอบการ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.4การจับคู่พี่เลี้ยงกับSMEs
B R O N X .
49
การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษา
และช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
2.5
CLICKTODISCOVER
50
การลงพื้นที่
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
• ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการ
จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น
ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ
• นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่
ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ
หลังการลงพื้นที่
• จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน
การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่
• ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการในความ
รับผิดชอบ
• โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ
สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น
• ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนา
โมเดลธุรกิจ
• ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่
• เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
51
การลงพื้นที่
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
• ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการ
จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น
ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบ
การ
• นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ
ใหม่
ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ
หลังการลงพื้นที่
• จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน
การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่
• ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการในความ
รับผิดชอบ
• โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ
สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น
• ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล
ธุรกิจ
• ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่
• เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
52
― การเตรียมตัวก่อนลงพื้นที่ ―
1. ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการใน
ความรับผิดชอบ
• ทางโครงการจะแจ้งการอัพเดต
รายชื่อผ่านทาง Line group ของ
ที่ปรึกษา
• ที่ปรึกษาสามารถเข้าดูรายชื่อ
ผู้ประกอบการพร้อมเบอร์ติดต่อได้
ทาง Google drive
2. โทรนัดหมายผู้ประกอบการ
• กำหนดวันเวลาและสถานที่สำหรับ
การให้คำปรึกษา
• สอบถามข้อมูลเบื้องต้น
• จัดทำตารางนัดหมายผู้ประกอบการ
• อัพเดตนัดหมายผ่านทาง Google
sheets ใน Google drive หรือ
Google calendar หรือแจ้งผ่าน
Note ในไลน์กลุ่ม
3. ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการ
พัฒนาโมเดลธุรกิจ ซึ่งประกอบไปด้วย
• ภาพรวมธุรกิจ
• Business Model Canvas (เก่า)
• การวางแผนกลยุทธ์
• Business Model Canvas (ใหม่)
• การติดตามผลจากผู้ประกอบการ
4. ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบ
การที่จะลงพื้นที่
• ที่ปรึกษาทำการศึกษาภาพรวม
ธุรกิจ
• ที่ปรึกษาทำการศึกษาข้อมูลเบื้อง
ต้นเกี่ยวกับธุรกิจของผู้ประกอบการ
ที่จะลงพื้นที่
5. เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ ได้แก่
• แบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยก
ตามรายผู้ประกอบการ
• รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
โดยที่ปรึกษาสามารถดูตัวอย่างเอกสาร
ได้ทาง Folder ของที่ปรึกษาใน Google
drive
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
53
การลงพื้นที่
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
• ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการจัดทำ
รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น
ครั้งที่ 2: เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ
• นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่
ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ
หลังการลงพื้นที่
• จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน
การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่
• ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ชื่อ ผู้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ค ว า ม
รับผิดชอบ
• โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ
สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น
• ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล
ธุรกิจ
• ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่
• เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
54
หลักในการลงพื้นที่เพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ
- พี่เลี้ยงธุรกิจ 1 ราย ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการแต่ละรายอย่างน้อย 3 ครั้ง
- ลงพื้นที่อย่างน้อย 3 ครั้ง
เพื่อให้พี่เลี้ยงเข้าใจสถานการณ์ของธุรกิจสามารถติดตามผล รวมทั้งให้คำปรึกษาเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและ
ธุรกิจเชิงลึก
- ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียง
พอต่อการทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
- พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และให้
คำแนะนำ
ครั้งที่ 2: เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจ
ร่วมกับผู้ประกอบการ
- นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
- พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ
โมเดลธุรกิจใหม่
ครั้งที่ 3: ติดตามผลจากผู้ประกอบการ
การลงพื้นที่ (5 ชั่วโมงต่อผู้ประกอบการ)
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
55
การลงพื้นที่ (5 ชั่วโมงต่อผู้ประกอบการ)
ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 1 ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่
ไปทำ ดังนี้
• ทำความรู้จักกับผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
• พูดคุยถึงวิสัยทัศน์ของผู้ประกอบการ และแผนพัฒนากิจการ
• พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ พร้อมให้คำแนะนำเบื้องต้น
ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 2 ซึ่งแนะนำให้ลงตั้งแต่ปลายเดือน
พฤศจิกายน ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่ไปทำ ดังนี้
• นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่
ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 3 ซึ่งแนะนำให้ลงตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม
ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่ไปทำ ดังนี้
• ติดตามผลจากผู้ประกอบการในการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่
สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 1
• เข้าใจวิสัยทัศน์ของผู้ประกอบการ
• เข้าใจธุรกิจ
– สถานการณ์ของธุรกิจในปัจจุบัน
– รูปแบบการดำเนินกิจการ
• เข้าใจสภาพแวดล้อมของกิจการ
• ข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาโมเดลธุรกิจใหม่
สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 2
• รูปแบบโมเดลธุรกิจใหม่ที่พัฒนาร่วมกับผู้ประกอบการ
สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 3
• ผลลัพธ์จากการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่ เพื่อนำมาจัดทำ
รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
สิ่งที่ควรทำระหว่างการลงพื้นที่ สิ่งที่ควรได้รับกลับมา
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
CLICKTODISCOVER
56
การลงพื้นที่ครั้งที่ 1
ข้อมูลเบื้องต้นที่ต้องเก็บมาวางแผนพัฒนาโมเดลธุรกิจ
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
สถานการณ์ของบริษัท
ในปัจจุบัน
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
ภาพรวมอุตสาหกรรมและ
การแข่งขัน
ภาพรวมธุรกิจ
กลยุทธ์ของคู่แข่ง
1 2
Business Model Canvas
CLICKTODISCOVER
57
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
สถานการณ์ของ
บริษัท
ในปัจจุบัน
ปัจจัยสู่ความ
สำเร็จ
ภาพรวม
อุตสาหกรรมและ
การแข่งขัน
ภาพรวมธุรกิจ
กลยุทธ์ของคู่แข่ง
57
Business Model Canvas
ความรู้และ
ประสบการณ์ของ
พี่เลี้ยงธุรกิจ
ระยะสั้น :
ปรับได้ง่าย
ให้ผลลัพธ์เชิงบวก
ระยะยาว:
ต้องใช้เวลาปรับ
ให้ผลลัพธ์เชิงบวก
เป้าหมาย
ทรัพยา ช่องทาง
3C’s
3C’s
Quick-win
STPBusiness Model Canvas ใหม่
KSF
KSF
STP
: เครื่องมือที่นำมาใช้พัฒนาโมเดลธุรกิจ
การนำข้อมูลมาวางแผน
CLICKTODISCOVER
58
การลงพื้นที่
ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก
• ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้พียงพอต่อการจัด
ทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น
ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบ
การ
• นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ
• พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ
ใหม่
ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ
หลังการลงพื้นที่
• จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ
• ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน
การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่
• ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ชื่อ ผู้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ค ว า ม
รับผิดชอบ
• โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ
สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น
• ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล
ธุรกิจ
• ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่
• เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
☑กำหนดวันที่ต้องส่ง
59
4 สิ่งสำคัญที่ต้องแจ้งให้พี่เลี้ยงทราบ
02
03
01
เอกสารที่ต้องส่ง
หลังการลงพื้นที่
ช่องทางในการส่งเอกสาร
หลังการลงพื้นที่
วันกำหนดส่ง
หลังการลงพื้นที่
☑แบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ
☑รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจแยกตามรายผู้ประกอบการ
☑กำหนดพื้นที่รับเอกสาร เช่น Email, Google Drive
บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
04
ช่องทางการสื่อสาร
ระหว่างพี่เลี้ยงกับโครงการ ☑ กำหนดช่องทางสื่อสาร เช่น Line, Email, เบอร์โทร
2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ
แบบฟอร์มการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ
ประกอบด้วย
1. รหัสผู้ประกอบการ/รหัสที่ปรึกษา หรือพ่ีเลี้ยง
ธุรกิจ(ถ้ามี)
2. ชื่อธุรกิจ
3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
4. ชื่อ-นามสกุลผู้ประกอบการ
5. ชื่อ-นามสกุลที่ปรึกษา หรือพี่เลี้ยงธุรกิจ
6. ตารางบันทึกรายละเอียด โดยมีหัวข้อดังนี้
วันที่ เวลา จำนวนชั่วโมง รายละเอียด
และลายเซ็นผู้ประกอบการ
60
บริษัท ทีเอสเบ็ทเทอร์ฟู้ดส์ จำกัด
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ผู้ผลิตและจำหน่ายนมอัดเม็ด ภายใต้แบรนด์ที่หลากหลาย
เจาะกลุ่มตลาดทั้งกลุ่มพรีเมียม และกลุ่มลูกค้าวงกว้าง
ประเภทธุรกิจ โรงงานผลิต
กลุ่มอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม
ภาพประกอบ
สถานการณ์ของบริษัทในปัจจุบัน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
ภาพรวมอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
ภาพรวมธุรกิจ
- ยอดขายคงที่อัตราการเติบโตน้อยมาก
- นำเข้านมผงที่ดีที่สุดจากซัพพลายเออร์เพียง 2 รายจากต่าง
ประเทศเท่านั้น (นิวซีแลนด์และฝรั่งเศส) เนื่องจากนมผงในไทยไม่พอ
- แบรนด์ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก
- Distribution Channel น้อย ปัจจุบันขายในร้านดิวตี้ฟรีและส่งออก
เท่านั้นสำหรับสินค้าพรีเมี่ยม แต่กำลังเจรจาเพื่อนำสินค้าเข้าขายใน
ห้างสรรพสินค้า
- ผู้ประกอบการกังวลว่านักลงทุนจีนจะมาลงทุนแย่งส่วนแบ่งตลาด
- ความน่าเชื่อถือของแบรนด์
- ช่องทางการจัดจำหน่ายที่ครอบคลุม
- การพัฒนารสชาติให้ถูกปากผู้บริโภค (Know-How)
- การแข่งขันในอุตสาหกรรมสูง ทั้งกลุ่มสินค้า พรีเมี่ยม (นมผง
มากกว่า 50%) พรีเมียมแมส (นมผง 40-50%) และแมส
(นมผงต่ำกว่า 40%) ตลาดอยู่ในช่วงเติบโตเนื่องจาก
Demand มากกว่า Supply
- คู่แข่งในตลาดมีเพียงไม่กี่ราย เช่น นมจิตรลดา, Umm…
Milk ,แดรี่ฟาร์ม, Giffarine, She-COW เป็นต้น
คู่แข่งแต่ละรายมีการดำเนินกลยุทธ์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น
- นมจิตรลดา มีช่องทางการจัดจำหน่ายที่ครอบคลุม และ
การทำการตลาดในลักษณะการทำ Content Marketing
ในสื่อสังคมออนไลน์
- Giffarine ที่สร้างภาพลักษณ์แบรนด์ให้เป็นเหมือนอาหาร
เสริมมากกว่าของทานเล่น
- แดรี่ ฟาร์ม จับตลาดกลุ่มวัยรุ่น วางรูปแบบให้ทันสมัย
มีหลายรสชาติ ตั้งใจทำให้นมอัดเม็ดเป็นของที่ระลึก
กลยุทธ์ของคู่แข่ง
61
การนำเสนอคุณค่า ความสัมพันธ์กับลูกค้า กลุ่มลูกค้ากิจกรรมหลัก
โครงสร้างรายได้
พันธมิตรทางธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน
ทรัพยากรหลัก ช่องทาง
บริษัท บริษัทบริษัท ทีเอสเบ็ทเทอร์ฟู้ดส์ จำกัด เก่ง ชำนาญการค้า
• ด้านวัตถุดิบ : ซัพพลายเออร์นมผง
2 รายจากประเทศนิวซีแลนด์และ
ฝรั่งเศส ซึ่งบริษัทติดต่อซื้อสินค้า
โดยตรงไม่ผ่านตัวกลางซึ่งมีความต่อ
เนื่องของวัตถุดิบ และได้สินค้าที่มี
คุณภาพ
• ด้านช่องทางจัดจำหน่าย : บริษัทให้
ความสำคัญกับการรักษาความ
สัมพันธ์กับช่องทางจัดจำหน่ายอย่าง
มาก โดยเฉพาะช่องทาง Travel
retail ซึ่งเป็นช่องทางการขายหลัก
รวมทั้ง ดีลเลอร์ส่งออกไปจีนและ
ตะวันออกกลาง
• ด้านการขนส่งวัตถุดิบ : บริษัทนำเข้า
• การพัฒนาสูตรและรูปแบบของ
สินค้าและการผลิต
• การรักษาความสัมพันธ์กับช่อง
ทางการจำหน่าย
• โรงงานผลิต เครื่องจักรและอุปกรณ์
• ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผู้คิดค้นสูตร
และสูตรการผลิตต่างๆ
• ช่องทางการขายในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นช่อง
ทาง Travel Retail เช่น King Power ดีลเลอร์
นำสินค้าส่งออก Traditional Trade
• ช่องทางการติดต่อลูกค้า ในปัจจุบัน ติดต่อกับ
ลูกค้าต่างประเทศผ่านทางดีลเลอร์ และติดต่อ
ลูกค้าในประเทศผ่านทาง Trader
• มีพนักงานขายในการดูแลลูกค้า
ติดตาม Feedback เป็น
รายออเดอร์
• นมอัดเม็ดสำหรับทุกกลุ่ม
ลูกค้า ทั้งพรีเมียม
พรีเมียมแมส และแมส และ
มีรสชาติที่หลากหลาย เช่น
สตรรอเบอรี่ ช็อคโกแลต
ทุเรียน มะม่วง เป็นต้น
นมผงที่ใช้เป็นวัตถุดิบเกรด
ดีที่สุด นำเข้าจากต่าง
ประเทศ ได้แก่ นิวซีแลนด์
และฝรั่งเศส
• ลูกค้าวงกว้างที่ชอบทานนมอัดเม็ด
เช่น เด็ก นักท่องเที่ยวชาวจีน เป็นต้น
โดยสามารถแบ่งกลุ่มลูกค้าได้เป็น
3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มพรีเมียม ที่ให้ความสำคัญกับ
รสชาติ (อร่อย) และคุณภาพ
มากกว่าราคา
2. กลุ่มพรีเมียมแมส ปัจจัยในการเลือก
ซื้อสินค้าของลูกค้ากลุ่มนี้ ได้แก่
ราคา รสชาติ คุณภาพ
3. กลุ่มแมส ปัจจัยการเลือกซื้อ ได้แก่
ราคาของสินค้า เป็นสำคัญ ลูกค้า
กลุ่มนี้มักจะไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนผสม
เช่น ปริมาณน้ำตาล
• โครงสร้างต้นทุนของ TS Betterfoods โดยต้นทุนส่วนใหญ่ คือ ต้นทุนค่าวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายในการผลิต
• ต้นทุนวัตถุดิบถือว่าสูงกว่าคู่แข่งเนื่องจากไม่สามารถใช้นมผงในประเทศได้ เพราะไม่สามารถเข้าถึงคู่ค้าที่มี
ความต่อเนื่องของวัตถุดิบได้
• ต้นทุนการขายสินค้าตามช่องทางต่างๆสูงถึง 20-30% ของราคาสินค้า
• รายได้มาจากการขายผลิตภัณฑ์นมอัดเม็ด โดยสัดส่วนรายได้ส่วนใหญ่หรือกว่า 80% มาจากการ
ขายผ่านร้านดิวตี้ฟรี โดยสินค้าขายดี ได้แก่ นมอัดเม็ดรสทุเรียนและมะม่วง
• 60%ของยอดขายมาจากช่องทาง Travel Retail 20% มาจากการส่งออกผ่านดีลเลอร์ 15%จาก
การขายใน Traditional Trade และการขายผ่านออเดอร์ตรง 5%
• Margin ของ TS Betterfoods น้อยกว่าคู่แข่งอย่างจิตรลดา และแดรี่ฟาร์มเนื่องจากนำเข้าวัตถุดิบจึงมีต้นทุน
วัตถุดิบที่สูงกว่า62
แบบจำลองทางธุรกิจ (เดิม) ที่ปรึกษา
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ

More Related Content

What's hot

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
Suradet Sriangkoon
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
Jitiya Purksametanan
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
โครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
โครงงานกว่าจะเป็น Apple incโครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
โครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
Thanatchaporn Yawichai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
Teetut Tresirichod
 
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
ธิติพล เทียมจันทร์
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
chaiwat vichianchai
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
Theeraphisith Candasaro
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
RMUTT
 
StoryTelling
StoryTellingStoryTelling
StoryTelling
Athit Thangthongherun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)peeranat
 
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
Dooney Seed
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
Teetut Tresirichod
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
โครงงานกว่าจะเป็น Apple incโครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
โครงงานกว่าจะเป็น Apple inc
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
 
StoryTelling
StoryTellingStoryTelling
StoryTelling
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6
 

Similar to คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ

DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
Weera Chearanaipanit
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Tanya Sattaya-aphitan
 
Change management DBD 31 Aug 2016
Change management DBD 31 Aug 2016Change management DBD 31 Aug 2016
Change management DBD 31 Aug 2016
Weera Chearanaipanit
 
Changemanagementdbd310859 160830180440
Changemanagementdbd310859 160830180440Changemanagementdbd310859 160830180440
Changemanagementdbd310859 160830180440
Athomeproperty Athomegroup
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
Sukanya Benjavanich
 
SME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweeraSME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweera
Weera Chearanaipanit
 
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPSStartup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Peerasak C.
 
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิทการตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
Weera Chearanaipanit
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...Punyapon Tepprasit
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
Sompop Petkleang
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
DrDanai Thienphut
 
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
OBELS MFU
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
Wiriya Boonmalert
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
IMC Institute
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AEC
Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
Opportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEsOpportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEs
Chaiyoot Chamnanlertkit
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
IMC Institute
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 

Similar to คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ (20)

DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
Change management DBD 31 Aug 2016
Change management DBD 31 Aug 2016Change management DBD 31 Aug 2016
Change management DBD 31 Aug 2016
 
Changemanagementdbd310859 160830180440
Changemanagementdbd310859 160830180440Changemanagementdbd310859 160830180440
Changemanagementdbd310859 160830180440
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
 
SME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweeraSME marketing 4.0 oweera
SME marketing 4.0 oweera
 
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPSStartup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
 
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิทการตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
การตลาดธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง หลังยุคโควิท
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอลSmart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
Smart farming กับการสร้างโอกาสทางการเกษตรในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AEC
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Opportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEsOpportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEs
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ

  • 2. 2 คำนำ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ SMEs มีบทบาทในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากจำนวนผู้ประกอบการที่มี มากกว่า 2.7 ล้านราย และเป็นสัดส่วนมากถึง 37.4% ของ GDP ทั้งประเทศ อย่างไร ก็ตามผู้ประกอบการรายย่อยยังมีข้อจำกัดด้านองค์ความรู้ในการบริหารธุรกิจให้เข้า กับยุคสมัย การพัฒนาเทคโนโลยี ตลอดจนการประยุกต์แนวคิดเชิงนวัตกรรมกับ ธุรกิจได้ การที่จะก้าวผ่านข้อจำกัดดังกล่าวได้ พี่เลี้ยงธุรกิจที่ช่วยให้คำแนะนำจึงเป็น เครื่องมือหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการช่วยเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งนวัตกรรมให้เติบโตใน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย คู่มือพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจเล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับพี่เลี้ยง ธุรกิจเพื่อสร้างความเข้าใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลแนวโน้มของธุรกิจไทย รูปแบบ ของนวัตกรรมในการประกอบธุรกิจ เครื่องมือและกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนา ธุรกิจ แนวทางการเตรียมความพร้อมของพี่เลี้ยง ซึ่งสิ่งเหล่านี้พี่เลี้ยงจำเป็นที่จะต้อง ศึกษาและทำความเข้าใจก่อนการให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ เพื่อให้การให้คำ ปรึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาผู้ประกอบการ และยก ระดับภาคเศรษฐกิจของไทย
  • 3. 3 สารบัญ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SMEs.... 1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงการ..................................................... 1.2 แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย........................................................ • เทรนด์มาแรงของโลก และการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ.............. • แนวโน้มธุรกิจมาแรงของโลก................................................... • แนวโน้มธุรกิจมาแรงของไทย.................................................... 1.3 นวัตกรรมทางธุรกิจ......................................................................... • นวัตกรรมคืออะไร..................................................................... • 10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม…………………….…………………. 1.4 ระบบพี่เลี้ยง...................................................................................... • ความสำคัญของระบบพัฒนาพี่เลี้ยง........................................ • บทบาทของพี่เลี้ยง................................................................... • รูปแบบแนวทางความร่วมมือ.................................................... บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยง........................................................ 2.1 การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ............................................................ 2.2 การกำหนดหลักเกณฑ์และการคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ............ 2.3 การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ.................................................................. 2.4 การจับคู่พี่เลี้ยงกับ SMEs.............................................................................. 2.5 การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง.............. 2.6 การประเมินผลและการคัดเลือกพี่เลี้ยงต้นแบบ.............................................. บทที่ 3 แนวทางการให้คำปรึกษา................................................ 3.1 แบบจำลองทางธุรกิจ (Business Model Canvas)…………………………….… 3.2 กลยุทธ์ STP (STP Strategy)………………………………………………………… 3.3 การวิเคราะห์ 3C (3C’s Model)………………………………………………………… 3.4 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (Key Success Factor)……………………………………… 3.5 ทางด่วนแห่งชัยชนะ (Quick-win Analysis)……………………………………… บทที่ 4 ตัวอย่างรูปแบบการสร้างนวัตกรรม............................. 4 5 9 10 11 12 14 17 18 30 31 32 34 35 37 40 44 46 49 66 68 70 101 111 117 122 125
  • 5. B R O N X . ที่มาและความสำคัญ ของโครงการ 1.1 5
  • 6. CLICKTODISCOVER ธุรกิจ SMEs มีอัตรา GDP เติบโตสูงกว่า GDP รวมทั้งประเทศ ที่มาและความสำคัญของโครงการ Smart Thai Biz ธุรกิจบริการเข้ามา มีบทบาทแทนการผลิต ธุรกิจ SMEs ไทยมีข้อจำกัด ด้านการพัฒนาเทคโนโลยี และแนวคิดเชิงนวัตกรรม ผู้ประกอบการ SMEs ไทย ยังขาดองค์ความรู้ ในการบริหารธุรกิจ ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นฐาน 6 บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ
  • 7. ธุรกิจ SMEs เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยมีจํานวนมากกว่า 2.7 ล้าน ราย และ GDP จาก SMEs คิดเป็น 37.4% ของ GDP ทั้งประเทศ ดังนั้น... การพัฒนาธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ให้ขายสินค้า และบริการได้เต็มศักยภาพ พัฒนาโมเดลธุรกิจให้สามารถก้าวทันโลกที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจะช่วยให้เศรษฐกิจ ไทยเติบโตอย่างยั่งยืน 7 1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
  • 8. วัตถุประสงค์ ของโครงการ SmartThaiBiz ย ก ร ะ ดั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู ้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายย่อย ให้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ส ร้ า ง ส ภ า ว ะ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ท ำ ธุ ร กิ จ สร้างสภาพแวดล้อมการทำธุรกิจที่เหมาะสมและเกื้อหนุน การพัฒนาผู้ประกอบรายย่อยเป็นนักการค้ามืออาชีพ ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย สร้างเครือข่ายการพัฒนายกระดับผู้ประกอบธุรกิจให้เข้มแข็ง และขยายโอกาสทางการตลาดในประเทศและต่างประเทศ 8 บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.1ที่มาและความสำคัญของโครงการ
  • 9. B R O N X . แนวโน้มธุรกิจ โลกและประเทศไทย 9 1.2
  • 10. 10 การเพ่ิมขึ้นของชนช้ันกลาง และ ผู้สูงอายุส่งผลให้เกิดกระแส รักสุขภาพ ธุรกิจอาหารสุขภาพ และธุรกิจท่ี เก่ียวข้องกับ การออกกําลังกาย การดูแลด้าน สุขภาพเป็นที่ต้องการ นอกจากนี้ ยังทําให้ธุรกิจร้านอาหาร บริการส่งอาหารเป็นท่ีนิยม 1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
  • 11. 11 คน Gen-Y ชอบการทำงาน ประชุมออนไลน์ 80% Online Meeting & Web Conferencing Services E-Commerce +free shipping ผู้ซื้อ 58% พร้อมจะคลิก “สั่งซื้อ” ถ้าธุรกิจเสนอบริการส่งฟรี EMV payment security Online lending Business Intelligence ธุรกิจที่ช่วยอำนวย ความสะดวกในการ วิเคราะห์ข้อมูล Big Data และ Social Media Tools FREE ที่มา : entrepreneur แนวโน้มธุรกิจมาแรงของโลก บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
  • 12. แนวโน้มธุรกิจมาแรง ของไทย 12 ธุรกิจรับเหมางาน ก่อสร้างภาครัฐ ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจผลิตและจําหน่าย วัสดุก่อสร้าง มูลค่ารวม 400,000 ล้านบาท เติบโต 5% มูลค่ารวมทั่วโลก 35 ล้านล้านบาท ตลาดอาหาร เพื่อสุขภาพไทย อันดับ ของโลก19 ที่มา : MarketingOops.com บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
  • 13. แนวโน้มธุรกิจมาแรง ของไทย 13 ธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ ธุรกิจ E-Commerce และ Digital Technology ธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหารตามแหล่งท่องเที่ยว ธุรกิจ E-Commerce ขยายตัวทำให้ธุรกิจ ขนส่งระหว่าง B2C และ C2C เติบโตด้วย 20% 240,000 ล้านบาท = 15% นักท่องเที่ยว ต่างชาติ เพิ่มขึ้น 150,000 ล้านบาท = ที่มา : MarketingOops.com บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.2แนวโน้มธุรกิจโลกและประเทศไทย
  • 14. B R O N X . นวัตกรรมทางธุรกิจ 14 1.3
  • 15. หลักสูตรการพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ CLICKTODISCOVERBUSINESSMODELCANVAS 15 “Innovation distinguishes between leader and followers” - Steve Jobs บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 15
  • 16. CLICKTODISCOVER 16 KODAK เป็นฝันร้ายของธุรกิจ ที่ไม่มีการพัฒนาด้านนวัตกรรม ให้เข้ากับความต้องการของผู้บริโภค เหตุผลที่ทำให้ KODAK ล้มละลาย Core Competency ของธุรกิจ คือ ฟิล์ม ซึ่งกลายเป็น สิ่งที่ผู้บริโภคไม่ต้องการ ไม่ทำการสำรวจความต้องการของผู้บริโภค ปรับตัวเข้าสู่ตลาดดิจิทัลช้าเกินไป ผู้บริหารไม่ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์และพัฒนา ด้านนวัตกรรมสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
  • 17. 17 นวัตกรรมคืออะไร? DIFFERENT RELEVANT แตกต่าง ตอบโจทย์ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 18. CLICKTODISCOVER 18 10 Types of Innovation 10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม ที่มา : หนังสือ 10 Types of Innovation และการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลโดยศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหารแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 19. 1 Profit Model (รูปแบบโครงสร้างกำไร) นวัตกรรมการสร้างรูปแบบการทำธุรกิจ เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น หรือขายสินค้าได้ แพงขึ้น หรือคิดหาวิธีสร้างที่มาของ รายได้รูปแบบใหม่ 19 10 Types of Innovation Configuration บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 20. 10 Types of Innovation 2 Network (เครือข่าย) นวัตกรรมที่เกิดจากการใช้เครือข่ายเพื่อ สร้างคุณค่าใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ 20 พันธมิตร (Alliances) ธุรกิจที่มีรูปแบบการดำเนินงานคล้าย ๆ กันมาร่วมมือกันโดยแบ่งปันความเสี่ยง และรายได้ร่วมกัน เพื่อพัฒนาความได้เปรียบทางการแข่งขันของตนในตลาด เช่น ร้านขายเสื้อผ้าออนไลน์รวมตัวกัน เปิดหน้าร้านที่สยามสแควร์ และการที่ Sizzler ใช้ผักสดจากโครงการหลวงเพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้ผู้บริโภค Configuration บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ การซื้อกิจการเพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตหรือช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรบางอย่าง ร่วมกับบริษัทที่โดยปกติถือว่าเป็นคู่แข่งของคุณเพื่อบรรลุจัดประสงค์ บางอย่างไปด้วยกัน เช่น ผู้ผลิตมือถือต่างร่วมมือกันในการกำหนด มาตรฐานของเทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูล เช่น EDGE, 3G, 4G
  • 21. 10 Types of Innovation Configuration 3 Structure (โครงสร้าง) นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร ในระดับ Corporate Strategy เช่น ผังองค์กร การดำเนินงานขององค์กร 21 ใช้ผู้รับจ้างภายนอก (Outsourcing) การมอบหมายให้ผู้รับจ้างภายนอกทําหน้าที่ในการผลิต พัฒนา หรือดูแลรักษาระบบต่างๆ เช่น เว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์มักจ้างธุรกิจขนส่งมาดําเนินการกระจายสินค้าไปยังลูกค้า สร้างมาตรฐานอุปกรณ์ (Asset Standardization) การลดต้นทุนดําเนินงาน และเพิ่มความสามารถในการเชื่อมโยงด้วยการสร้างมาตรฐาน วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น แฟรนไชส์ไก่ย่างห้าดาวมีการสร้างมาตรฐานอุปกรณ์ท่ีเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็น ตู้ทอด ตู้เย็น และอุปกรณ์การขายต่างๆ ร่วมงานกับมหาวิทยาลัย (Corporate University) การจัดหาการฝึกอบรมความเชี่ยวชาญทางสายงาน หรือความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ ให้กับ ผู้จัดการ เช่น ธุรกิจส่งพนักงานเข้ารับการอบรมภาษาจีนกับสถาบันภาษา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เพื่อการติดต่อกับผู้ค้าชาวจีน ออกแบบโครงสร้างองค์กร (Organizational Design) การจัดหรือปรับปรุงโครงสร้างองค์กรตามฟังก์ชัน จุดประสงค์หลัก และลักษณะการ ดําเนินธุรกิจ เช่น หากเป็นธุรกิจการผลิตควรแบ่งโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายจัดส่ง ฝ่ายบัญชี เป็นต้น บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 22. 10 Types of Innovation Configuration 4 Process (กระบวนการผลิต) นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนในระดับกระบวนการ ที่ส่งผลให้กระบวนการทำงานในระดับ Functional มีประสิทธิภาพมากขึ้น 22 กระบวนการผลิตแบบลีน (Lean Production) การลดของเสียและต้นทุนที่ไม่จําเป็นในการผลิต และในการดําเนินการอ่ืนๆ ท่ีทําให้ขั้นตอนการผลิตสั้น ลง ใช้เวลาลดลงและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระบบการผลิตที่ไม่มีการจัดเก็บวัตถุดิบ หรือจัดเก็บน้อย มาก โดยจะทําการสั่งซ้ือวัตถุดิบเมื่อได้รับคําสั่งซ้ือจากลูกค้าเพื่อลดต้นทุนในการจัดเก็บวัตถุดิบ ใช้ระบบอัตโนมัติ (Process Automation) ใช้เครื่องมือ และระบบเข้ามาจัดการกับงานประจําแทน เพื่อพนักงานจะมีเวลาว่างไปทํางานอย่างอื่น เช่น ระบบหยอดเหรียญอัตโนมัติเพื่อเข้าห้องนํ้า ลดจํานวนคนในการเก็บเงินจากผู้ใช้บริการ วางมาตรฐานกระบวนการผลิต (Process Standardization) การเลือกใช้สินค้า กระบวนการทํางาน และนโยบายที่เหมือนกัน เพ่ือลดความยุ่งยาก ลดค่าใช้จ่าย และ ลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น โรงแรม ibis เป็นโรงแรมราคาประหยัดที่มีบริการครบถ้วนตาม ท่ีลูกค้าต้องการ โดยเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์เหมือนกัน และนโยบายในการทํางานที่เหมือนกัน ลดความยุ่งยากในการจัดการ ผู้ใช้งานเป็นผู้ให้ข้อมูล (User Generated) ทําให้ผู้ใช้งานมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเพ่ิมศักยภาพให้กับสินค้าของเรา เช่น KFC มีการให้ลูกค้า เข้าไปตอบแบบสอบถามความถึงพอใจในการให้บริการของพนักงาน รวมถึงรสชาติอาหาร และ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ทางออนไลน์ โดยให้นักเก็ตเป็นของตอบแทน ซึ่งผลประเมินเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่ทําให้ ธุรกิจปรับปรุงและพัฒนาต่อไปได้ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 23. 5 Product Performance (ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์) นวัตกรรมจากการปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างคุณค่าด้านประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการใช้งาน ของผู้บริโภค 23 เพิ่มฟังก์ชันการใช้งาน (Added Functionality) การเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับผลิตภัณฑ์หรือ บริการ เช่น Facebook ที่มีการเพิ่มฟังก์ชั่นการใช้ งาน "Live" ที่ช่วยให้คุณ สามารถถ่ายทอดสด พร้อมเห็นถึงผลตอบรับจากผู้ชมได้ใน ขณะนั้นเลย ใส่ใจส่ิงแวดล้อม (Environmental Sensitivity) ใช้วัตถุดิบ หรือส่วนประกอบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ธุรกิจผลิตจานชามจากพลาสติกหรือโฟม เปลี่ยนเป็นผลิตจาน เยื่อพืชธรรมชาติ ซึ่งมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ และ ย่อยสลายได้ ง่ายและรวดเร็วกว่าพลาสติก/โฟม มีสไตล์ (Styling) นําเอาสไตล์แฟช่ัน หรือภาพลักษณ์ท่ีโดดเด่นมาใช้ ในการดึงดูด ใจลูกค้า การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มี ความทันสมัย หรือ การนํา ดารา หรือผู้มีชื่อเสียงมาเป็นตัวแทนตราสินค้า ซึ่งจะช่วยดึงดูด ความสนใจของลูกค้า เช่น แบรนด์ VATANIKA มีการร่วมมือกับ ชมพู่ อารยา 10 Types of Innovation Offering บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 25. 10 Types of Innovation 7 Service (การบริการ) นวัตกรรมจากการปรับปรุงรูปแบบของ การบริการเพื่อสร้างประสบการณ์การใช้ งานที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ บริการแต่ละกลุ่ม 25 Experience บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 27. 9 Brand (ตราสินค้า) นวัตกรรมที่มาจากการใช้แบรนด์ ( ต ร า สิ น ค้ า ) เ ป็ น ตั ว ส ร้ า ง ประสบการณ์ให้กับลูกค้าในรูปแบบ ต่างๆ ตาม Brand DNA ของธุรกิจ 27 10 Types of Innovation Experience บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 28. 10 Customer Engagement (ความผูกพันกับลูกค้า) นวัตกรรมที่ใช้ในการสร้างความผูกพันกับลูกค้า ในรูปแบบต่างๆ เพื่อส่งมอบประสบการณ์ที่ ลูกค้ามองหาหรือลูกค้าคาดไม่ถึง 28 อิสระและสิทธิพิเศษ (Autonomy and Authority) ให้ผู้ใช้งานมีอํานาจในการกําหนดประสบการณ์ของตนเอง เช่น ร้านอาหาร ที่ผู้ใช้งาน สามารถเลือกได้ว่าจะประกอบอาหารเอง หรือให้พนักงานทําให้ เช่น Pepper Lunch ประสบการณ์แสนสะดวก (Experience Automation) ลดการกระทําที่ซํ้าซากของผู้ใช้งาน เพื่อทําให้ชีวิตของ พวกเขาง่ายขึ้น และให้ประสบการณ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิมแก่ เขา เช่น ร้าน MK ที่ลูกค้าสามารถสั่งอาหารได้ผ่านทาง จอ tablet ท่ีติดตั้งทุกโต๊ะ เพื่อสร้างความสะดวกสบาย ให้ลูกค้า และช่วยลดข้ันตอนการรับเมนูจากพนักงาน นอกจากนี้ยังให้ลูกค้าสามารถดูสรุปยอดค่าใช้จ่ายได้ ความแปลกใหม่และเอกลักษณ์เฉพาะตัว (Whimsy and Personality) สร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวให้กับสินค้าของคุณ ด้วย รายละเอียดเล็กๆ บนแบรนด์ บนข้อความต่างๆ และทํา ให้มันดูเหมือนมีชีวิต Bar-b-q Plaza จัดทําพวงกุญแจ เตาทองเหลือง ซึ่งผลิตจากเตาทองเหลือรุ่นเก่านําไป หลอมเป็นพวงกุญแจ ซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์ที่สื่อ ถึงร้านอย่างชัดเจน 10 Types of Innovation Experience บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ
  • 29. 29 แนวทางการประยุกต์ใช้ “10 Types of Innovation” ในโครงการ SMART THAI BIZ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.3นวัตกรรมทางธุรกิจ Configuration Profit Model ธุรกิจทำการตลาดร่วมกับคอนโดแจกเหยือกกรองน้ำให้ใช้ฟรี เพื่อจะสร้างกำไรจากการขายไส้กรองต่อไป Network ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ผ้าม่านสร้างเครือข่ายแฟรนไชส์ที่จะเป็นฐานลูกค้าที่จะสั่งซื้อสินค้าอุปกรณ์ผ้าม่านของตัวเอง Structure ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายอุปกรณ์เก็บนมแม่ โดยใช้โครงสร้างที่ใช้คนน้อยมาก เน้นใช้ช่องทางออนไลน์และจัดจ้าง องค์กรภายนอกในการบริหารการขาย Process ธุรกิจพัฒนานวัตกรรมการผลิตสินค้าพลาสติกสำหรับอุตสาหกรรมแบบ Express Service  ที่มี Lead time ใน การผลิตต่ำ เพื่อตอบโจทย์การผลิตในอุตสาหกรรมรถ Offering Product Performance ธุรกิจพัฒนานวัตกรรมรองเท้าเซฟตี้ โดยผลิตส้นและตัวรองเท้าเป็นชิ้นเดียว ไม่ต้องเย็บหรือทากาวติด เพื่อขจัด ปัญหาการหลุดแยกชิ้นจากการใช้งาน Product System ธุรกิจนอกจากขายรถรางแล้ว ยังขายระบบการบริการ จัดตารางรถ และแอปพลิเคชั่นมือถือ พร้อมกันไปด้วย Experience Service ธุรกิจขายคอมพิวเตอร์ที่เน้นการให้บริการแบบครบวงจร ทั้งติดตั้ง ลงโปรแกรม เพื่อสร้างความแตกต่างจาก ผู้ขายออนไลน์ที่ราคาต่ำกว่าแต่ไม่มีบริการให้ Channel ธุรกิจขายอุปกรณ์ก่อสร้างในกรุงเทพฯ ขยายช่องทางออนไลน์เพื่อเจาะตลาดผู้รับเหมาในต่างจังหวัดที่เริ่มมี การเปรียบเทียบราคาออนไลน์มากขึ้น Brand ธุรกิจล้างรถสร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์ดูแลรถยนต์เพื่อเป็นวิธีในการสร้างความรับรู้กับลูกค้า เตรียมพร้อมสำหรับ ขยายสาขา และสร้างแฟรนไชส์ในอนาคต Customer Engagement ธุรกิจไวน์ผลไม้ใช้การติดต่อแบบเป็นส่วนตัวผ่านโปรแกรม Line เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าและบริหารจัดการ ฐานข้อมูลลูกค้า (CRM)
  • 30. B R O N X . ระบบพี่เลี้ยง 30 1.4
  • 31. ระบบพี่เลี้ยง คือ ระบบที่ผู้ที่มีความสามารถ เป็นที่ยอมรับ หรือมีประสบการณ์ในการทำธุรกิจมาเฝ้าสังเกต ให้ความรู้และคำแนะนำ ช่วยเหลือในการทำธุรกิจแก่ผู้ที่ขาดประสบการณ์หรือผู้ที่เริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ โดยจะให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจในด้านต่างๆ 31 1.4ระบบพี่เลี้ยง การขาดประสบการณ์และความสามารถในการบริหาร เป็นสาเหตุหลักที่ธุรกิจ SMEs ล้มเหลว จะเห็นได้จากการที่ผู้ประกอบการขาดวิสัยทัศน์ และไม่สามารถที่จะ หาช่องทางการทำกำไรสำหรับธุรกิจของตนเองได้ (Baldwin et al., 1997; Festervand and Forrest 1991; Gaskill et al., 1993) เพราะเป็นเครื่องมือการจัดการความรู้ในแง่ของการถ่ายทอดความรู้ระหว่างผู้ที่มีประสบการณ์ มากกว่าและผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า และเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพสำหรับการช่วยให้ ผู้ประกอบการเกิดการเรียนรู้และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายๆ ปีที่ผ่านมา (E. St-Jean and J. Audet, 2009) ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงจึงได้ถูกนำมาใช้ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME?
  • 33. CLICKTODISCOVER OUR JOB IS “MANAGING CHANGE & INNOVATION” 33 The most important thing is to create “TRUST” Because people don’t resist change, they resist being changed Unfreezing We are the same team Changing Know what to change Refreezing Maintain Improvement บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.4ระบบพี่เลี้ยง
  • 34. รูปแบบแนวทางความร่วมมือ 34 ระบบพี่เลี้ยงจะประสบความสำเร็จได้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องร่วมมือกันเพื่อเพิ่มศักยภาพ SMEs ในรูปแบบต่างๆ โดยสามารถแบ่งความร่วมมือตาม หน่วยงานที่จัดโครงการ ได้ดังนี้  ความร่วมมือ “สานพลังประชารัฐ ส่งเสริมวิสาหกิจ SMEs Start-up & Social Enterprises” เป็นการร่วมมือกันของหน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนจำนวน 64 องค์กร เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงโครงการต่างๆ พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำและ คำปรึกษาจากพี่เลี้ยงธุรกิจ ภายใต้ความร่วมมือ 3 รูปแบบหลัก คือ 1. MOU SMEs ประกอบด้วย   • โครงการ Big Brother (พี่ช่วยน้อง): โครงการความร่วมมือระหว่าง 14 องค์กร ได้แก่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม บริษัทมาลี บริษัทไทยเบฟเวอเรจ บริษัทมิตรผล บริษัทซีพีออลล์ บริษัทเอสซีจี บริษัท โตโยต้า บริษัทสิงห์ คอร์เปอเรชั่น บริษัทสุรพล ฟู้ดส์ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกร ธนาคารทหารไทย มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย  เพื่อช่วยให้ธุรกิจ SMEs มีการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยการถ่ายทอดประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ • โครงการส่งเสริม SMEs เข้าถึงแหล่งทุน  • โครงการส่งเสริมตลาดต่างประเทศ (SMEs connect to the world)  • โครงการส่งเสริมช่องทางการตลาด E-Commerce 2.กรอบ MOU Startup and IDE มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 1 ฉบับ คือ การสนับสนุนและพัฒนาระบบนิเวศ (Eco-System) ให้ผู้ประกอบการใหม่ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (IDE Start-up) 3.กรอบ MOU Social Enterprise (SE) มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 2 ฉบับ คือ การสนับสนุนและส่งเสริมความเข้มแข็งของวิสาหกิจเพื่อสังคมและเศรษฐกิจฐานรากและการสนับสนุนด้านการเงิน (SE Funding)  • โครงการพัฒนาที่ปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) • โครงการ Business Mentoring Center: BMC สู่ตลาดสากล เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่ง เสริมการค้าระหว่างประเทศ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และศูนย์บริการข้อมูล (BSC)  • โครงการนวัตกรรมเทคโนโลยีสะอาด โอกาสใหม่ของธุรกิจ SMEs (GEF UNIDO Cleantech Programme for SMEs in Thailand) เป็นความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (มก.) และองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูนิโด) (ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2548) การร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาครัฐ เป็นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการ เช่น บทที่ 1 ทำไมถึงต้องนำระบบพี่เลี้ยงมาช่วยพัฒนา SME? 1.4ระบบพี่เลี้ยง การร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
  • 36. CLICKTODISCOVER การกำหนดหลักเกณฑ์และ การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ เพื่อให้ได้พี่เลี้ยงธุรกิจที่มีคุณสมบัติและทักษะที่ จำเป็นต่อการให้คำปรึกษา 36 การเลือกกลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงธุรกิจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ 01 ขั้นตอนการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงธุรกิจ 02 การพัฒนาหลักสูตร พี่เลี้ยงธุรกิจ เพื่อให้พี่เลี้ยงสามารถใช้เครื่องมือ ต่าง ๆ เป็นตัวช่วยการให้คำปรึกษา และมีประสบการณ์การให้คำปรึกษา 03 การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษา และช่องทางในการสื่อสารกับพี่เลี้ยง เพื่อแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น และลด ความขัดแย้งระหว่างพี่เลี้ยงและ SMEs 0504 การจับคู่พี่เลี้ยงกับ SMEs เพื่อให้ความเชี่ยวชาญของพี่เลี้ยงตรง ความต้องการ SMEs 06 การประเมินผลและ การคัดเลือกพี่เลี้ยงต้นแบบ เพื่อให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์โครงการ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ
  • 37. B R O N X . 37 การเลือกกลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงธุรกิจ 2.1
  • 38. CLICKTODISCOVER 38 การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ ใครบ้างที่สามารถเป็นพี่เลี้ยงได้ พนักงานเอกชน ระดับผู้บริหาร ระดับเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ ที่ปรึกษามืออาชีพ นักศึกษาปริญญาโท เจ้าหน้าที่จาก หน่วยงานภาครัฐ เจ้าของธุรกิจที่ ประสบความสำเร็จ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.1การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ
  • 39. CLICKTODISCOVER 39 ตัวอย่าง การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจในโครงการ SMART THAI BIZ นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในแต่ละพื้นที่ ได้รับความร่วมมือจากสภาหอการค้าและสภาอุตสาหกรรมจังหวัดใน การส่งรายชื่อ โดยเป้าหมายเป็นนักธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เนื่องจากธุรกิจขนาดใกล้เคียงกันจะมีความเข้าใจกันเรื่องข้อจำกัดแบบ ต่างๆ ได้ดีมากกว่า เช่น ข้อจำกัดเรื่องทรัพยากรเงินลงทุน เป้าหมายการเลือก: • เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของ SMEs ที่เป็นสมาชิกของโครงการได้ครอบคลุม • เพื่อสะดวกต่อการจัดกลุ่มและก่อให้เกิดการเชื่อมโยงกันระหว่างพี่เลี้ยงธุรกิจภายในพื้นที่หรือในกลุ่มอุตสาหกรรม 1 2 ดังนั้นจึงได้เลือกกลุ่มเป้าหมายธุรกิจจาก 2 กลุ่ม ที่ปรึกษามืออาชีพ จากเครือข่ายของศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหาร ทางธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CONC) บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.1การเลือกกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยงธุรกิจ
  • 40. B R O N X . 40 การกำหนดหลักเกณฑ์และ การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจ ประจำโครงการ 2.2
  • 41. CLICKTODISCOVER 41 การกำหนดหลักเกณฑ์ ต้องคำนึงถึง “จุดประสงค์โครงการ” ตัวอย่างคุณสมบัติพี่เลี้ยงที่เหมาะสม มีความพร้อมและยินดีที่จะเป็นพี่เลี้ยงธุรกิจ เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีความเข้าใจในการประกอบธุรกิจ มีทักษะในการสื่อสารที่ดี และมีความน่าเชื่อถือ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และรับฟังผู้อื่น มีความเป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์ และมองการณ์ไกล มีความอดทนและความรับผิดชอบสูง การคัดเลือกพี่เลี้ยงได้เหมาะสม จะช่วยทำให้การนำระบบพี่เลี้ยงมาใช้ ประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น ” “ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
  • 42. CLICKTODISCOVER 42 ตัวอย่าง วิธีการคัดเลือกพี่เลี้ยง ☑ ประวัติการดำเนินธุรกิจ / การทำงาน ☑ วุฒิการศึกษา ☑ ประสบการณ์การทำธุรกิจ/ให้คำปรึกษา ☑ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ☑ เจตคติ และความมุ่งมั่น ใน การช่วยเหลือผู้ประกอบการ ☑ ความน่าเชื่อถือ ☑ ทักษะการเป็นผู้ฟังที่ดี ☑ ความพร้อมด้านเวลา ☑ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ การตรวจสอบเอกสาร / CV การสัมภาษณ์ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
  • 43. CLICKTODISCOVER 43 การกำหนดหลักเกณฑ์และการคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในแต่ละพื้นที่ พี่เลี้ยงนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ กิจการที่มีความเข้มแข็ง โดยพิจารณาผลการดำเนิน กิจการจากสถานะทางการเงิน ซึ่งได้แก่ รายได้จากการ ประกอบธุรกิจ และอัตราการเติบโตของยอดขาย เนื่องจากกิจกรรมของโครงการเป็นกิจกรรมที่จะต้องอาศัยความต่อเนื่องของพี่เลี้ยงในการเข้าร่วมโครงการ ดังนั้นพี่เลี้ยงนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จจะต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอจนจบโครงการ 1 2 1. คุณสมบัติด้าน ความรู้ความสามารถ 2. ทั ศ น ค ติ แ ล ะ ค ว า ม เต็มใจที่จะเป็นพี่เลี้ยง ตลอดโครงการ พี่เลี้ยงที่ปรึกษามืออาชีพ พิจารณาจากประวัติการทำงาน (CV) ที่ทาง ที่ปรึกษามืออาชีพส่งให้โครงการ ที่ปรึกษามืออาชีพ หลักเกณฑ์การคัดเลือก บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.2การกำหนดหลักเกณฑ์และ การคัดเลือกพี่เลี้ยงธุรกิจประจำโครงการ
  • 44. B R O N X . 44 การพัฒนาหลักสูตร พี่เลี้ยงธุรกิจ 2.3
  • 45. CLICKTODISCOVER 45 การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ การอบรมภาคทฤษฎี เป็นการเพิ่มประสบการณ์ให้พี่เลี้ยงธุรกิจสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ เป็นตัวช่วยในการจัดระเบียบความคิด และช่วยในการสื่อสารกับ ผู้ประกอบการ SMEs ได้ดีมากยิ่งขึ้นมีการพัฒนาหลักสูตรจาก • แนวความคิดแบบจำลองทางธุรกิจ (Business Model Canvas) • แนวความคิด 10 รูปแบบการสร้างนวัตกรรม (10 Types of Innovation) การฝึกภาคปฏิบัติ เพื่อให้มีโอกาสได้ทำความรู้จักผู้ประกอบการ มีเวลาค้นหาข้อมูล เพิ่มเติม เพื่อให้การพัฒนาโมเดลมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังนี้ ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ ครั้งที่ 3 : ติดตามผลลัพธ์จากการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่ เพื่อนำ มาจัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.3การพัฒนาหลักสูตรพี่เลี้ยงธุรกิจ
  • 46. B R O N X . 46 การจับคู่ พี่เลี้ยง กับ SMEs 2.4
  • 47. CLICKTODISCOVER 47 ต้องคำนึง... • ความถนัดและความเชี่ยวชาญของพี่เลี้ยงธุรกิจ • ความต้องการของผู้ประกอบการในด้านที่ต้องการ เข้ารับคำปรึกษา • การเดินทาง/สถานที่ที่ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ “เพื่อลดความขัดแย้ง และ ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในกระบวนการให้คำปรึกษา” การจับคู่ให้คำปรึกษา ระหว่างพี่เลี้ยงธุรกิจและผู้ประกอบการ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.4การจับคู่พี่เลี้ยงกับSMEs
  • 49. B R O N X . 49 การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษา และช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง 2.5
  • 50. CLICKTODISCOVER 50 การลงพื้นที่ ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก • ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการ จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ • นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ • พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่ ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ หลังการลงพื้นที่ • จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่ • ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการในความ รับผิดชอบ • โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น • ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนา โมเดลธุรกิจ • ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่ • เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 51. CLICKTODISCOVER 51 การลงพื้นที่ ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก • ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการ จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบ การ • นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ • พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ ใหม่ ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ หลังการลงพื้นที่ • จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่ • ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการในความ รับผิดชอบ • โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น • ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล ธุรกิจ • ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่ • เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 52. CLICKTODISCOVER 52 ― การเตรียมตัวก่อนลงพื้นที่ ― 1. ตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการใน ความรับผิดชอบ • ทางโครงการจะแจ้งการอัพเดต รายชื่อผ่านทาง Line group ของ ที่ปรึกษา • ที่ปรึกษาสามารถเข้าดูรายชื่อ ผู้ประกอบการพร้อมเบอร์ติดต่อได้ ทาง Google drive 2. โทรนัดหมายผู้ประกอบการ • กำหนดวันเวลาและสถานที่สำหรับ การให้คำปรึกษา • สอบถามข้อมูลเบื้องต้น • จัดทำตารางนัดหมายผู้ประกอบการ • อัพเดตนัดหมายผ่านทาง Google sheets ใน Google drive หรือ Google calendar หรือแจ้งผ่าน Note ในไลน์กลุ่ม 3. ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการ พัฒนาโมเดลธุรกิจ ซึ่งประกอบไปด้วย • ภาพรวมธุรกิจ • Business Model Canvas (เก่า) • การวางแผนกลยุทธ์ • Business Model Canvas (ใหม่) • การติดตามผลจากผู้ประกอบการ 4. ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบ การที่จะลงพื้นที่ • ที่ปรึกษาทำการศึกษาภาพรวม ธุรกิจ • ที่ปรึกษาทำการศึกษาข้อมูลเบื้อง ต้นเกี่ยวกับธุรกิจของผู้ประกอบการ ที่จะลงพื้นที่ 5. เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ ได้แก่ • แบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยก ตามรายผู้ประกอบการ • รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ โดยที่ปรึกษาสามารถดูตัวอย่างเอกสาร ได้ทาง Folder ของที่ปรึกษาใน Google drive บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 53. CLICKTODISCOVER 53 การลงพื้นที่ ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก • ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียงพอต่อการจัดทำ รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น ครั้งที่ 2: เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบการ • นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ • พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่ ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ หลังการลงพื้นที่ • จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่ • ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ชื่อ ผู้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ค ว า ม รับผิดชอบ • โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น • ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล ธุรกิจ • ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่ • เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 54. CLICKTODISCOVER 54 หลักในการลงพื้นที่เพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ - พี่เลี้ยงธุรกิจ 1 ราย ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการแต่ละรายอย่างน้อย 3 ครั้ง - ลงพื้นที่อย่างน้อย 3 ครั้ง เพื่อให้พี่เลี้ยงเข้าใจสถานการณ์ของธุรกิจสามารถติดตามผล รวมทั้งให้คำปรึกษาเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและ ธุรกิจเชิงลึก - ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้เพียง พอต่อการทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ - พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และให้ คำแนะนำ ครั้งที่ 2: เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจ ร่วมกับผู้ประกอบการ - นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ - พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ โมเดลธุรกิจใหม่ ครั้งที่ 3: ติดตามผลจากผู้ประกอบการ การลงพื้นที่ (5 ชั่วโมงต่อผู้ประกอบการ) บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 55. CLICKTODISCOVER 55 การลงพื้นที่ (5 ชั่วโมงต่อผู้ประกอบการ) ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 1 ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่ ไปทำ ดังนี้ • ทำความรู้จักกับผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก • พูดคุยถึงวิสัยทัศน์ของผู้ประกอบการ และแผนพัฒนากิจการ • พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ พร้อมให้คำแนะนำเบื้องต้น ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 2 ซึ่งแนะนำให้ลงตั้งแต่ปลายเดือน พฤศจิกายน ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่ไปทำ ดังนี้ • นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ • พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจใหม่ ระหว่างการลงพื้นที่ครั้งที่ 3 ซึ่งแนะนำให้ลงตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม ที่ปรึกษามีหน้าที่หลัก ที่ต้องลงพื้นที่ไปทำ ดังนี้ • ติดตามผลจากผู้ประกอบการในการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่ สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 1 • เข้าใจวิสัยทัศน์ของผู้ประกอบการ • เข้าใจธุรกิจ – สถานการณ์ของธุรกิจในปัจจุบัน – รูปแบบการดำเนินกิจการ • เข้าใจสภาพแวดล้อมของกิจการ • ข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาโมเดลธุรกิจใหม่ สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 2 • รูปแบบโมเดลธุรกิจใหม่ที่พัฒนาร่วมกับผู้ประกอบการ สิ่งที่ที่ปรึกษาควรจะได้รับหลังจากการลงพื้นที่ครั้งที่ 3 • ผลลัพธ์จากการปรับใช้โมเดลธุรกิจใหม่ เพื่อนำมาจัดทำ รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ สิ่งที่ควรทำระหว่างการลงพื้นที่ สิ่งที่ควรได้รับกลับมา บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 56. CLICKTODISCOVER 56 การลงพื้นที่ครั้งที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นที่ต้องเก็บมาวางแผนพัฒนาโมเดลธุรกิจ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง สถานการณ์ของบริษัท ในปัจจุบัน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ภาพรวมอุตสาหกรรมและ การแข่งขัน ภาพรวมธุรกิจ กลยุทธ์ของคู่แข่ง 1 2 Business Model Canvas
  • 57. CLICKTODISCOVER 57 บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง สถานการณ์ของ บริษัท ในปัจจุบัน ปัจจัยสู่ความ สำเร็จ ภาพรวม อุตสาหกรรมและ การแข่งขัน ภาพรวมธุรกิจ กลยุทธ์ของคู่แข่ง 57 Business Model Canvas ความรู้และ ประสบการณ์ของ พี่เลี้ยงธุรกิจ ระยะสั้น : ปรับได้ง่าย ให้ผลลัพธ์เชิงบวก ระยะยาว: ต้องใช้เวลาปรับ ให้ผลลัพธ์เชิงบวก เป้าหมาย ทรัพยา ช่องทาง 3C’s 3C’s Quick-win STPBusiness Model Canvas ใหม่ KSF KSF STP : เครื่องมือที่นำมาใช้พัฒนาโมเดลธุรกิจ การนำข้อมูลมาวางแผน
  • 58. CLICKTODISCOVER 58 การลงพื้นที่ ครั้งที่ 1: ทำความรู้จักผู้ประกอบการและธุรกิจเชิงลึก • ทำความเข้าใจธุรกิจ และเก็บข้อมูลให้พียงพอต่อการจัด ทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • พูดคุยแลกแปลี่ยนประสบการณ์และให้คำแนะนำเบื้องต้น ครั้งที่ 2 : เสนอแนะและพัฒนาโมเดลธุรกิจร่วมกับผู้ประกอบ การ • นำเสนอแนวทางการปรับโมเดลธุรกิจ • พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ ใหม่ ครั้งที่ 3 : ติดตามผลจากผู้ประกอบการ หลังการลงพื้นที่ • จัดทำรายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจ • ส่งเอกสารประกอบการลงพื้นที่และรายงาน การเตรียมตัวก่อนการลงพื้นที่ • ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ชื่อ ผู้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ค ว า ม รับผิดชอบ • โทรนัดหมายผู้ประกอบการ กำหนดวันเวลาและ สถานที่ และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น • ทำความเข้าใจรูปแบบรายงานการพัฒนาโมเดล ธุรกิจ • ทำความเข้าใจธุรกิจของผู้ประกอบการที่จะลงพื้นที่ • เตรียมเอกสารที่ใช้ในการลงพื้นที่ บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 59. ☑กำหนดวันที่ต้องส่ง 59 4 สิ่งสำคัญที่ต้องแจ้งให้พี่เลี้ยงทราบ 02 03 01 เอกสารที่ต้องส่ง หลังการลงพื้นที่ ช่องทางในการส่งเอกสาร หลังการลงพื้นที่ วันกำหนดส่ง หลังการลงพื้นที่ ☑แบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ ☑รายงานการพัฒนาโมเดลธุรกิจแยกตามรายผู้ประกอบการ ☑กำหนดพื้นที่รับเอกสาร เช่น Email, Google Drive บทที่ 2 ระบบพัฒนาพี่เลี้ยงธุรกิจ 04 ช่องทางการสื่อสาร ระหว่างพี่เลี้ยงกับโครงการ ☑ กำหนดช่องทางสื่อสาร เช่น Line, Email, เบอร์โทร 2.5การติดตามการลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและช่องทางสื่อสารกับพี่เลี้ยง
  • 60. ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ แบบฟอร์มการลงพื้นที่แยกตามรายผู้ประกอบการ ประกอบด้วย 1. รหัสผู้ประกอบการ/รหัสที่ปรึกษา หรือพ่ีเลี้ยง ธุรกิจ(ถ้ามี) 2. ชื่อธุรกิจ 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. ชื่อ-นามสกุลผู้ประกอบการ 5. ชื่อ-นามสกุลที่ปรึกษา หรือพี่เลี้ยงธุรกิจ 6. ตารางบันทึกรายละเอียด โดยมีหัวข้อดังนี้ วันที่ เวลา จำนวนชั่วโมง รายละเอียด และลายเซ็นผู้ประกอบการ 60
  • 61. บริษัท ทีเอสเบ็ทเทอร์ฟู้ดส์ จำกัด ลักษณะการประกอบธุรกิจ ผู้ผลิตและจำหน่ายนมอัดเม็ด ภายใต้แบรนด์ที่หลากหลาย เจาะกลุ่มตลาดทั้งกลุ่มพรีเมียม และกลุ่มลูกค้าวงกว้าง ประเภทธุรกิจ โรงงานผลิต กลุ่มอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม ภาพประกอบ สถานการณ์ของบริษัทในปัจจุบัน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ภาพรวมอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาพรวมธุรกิจ - ยอดขายคงที่อัตราการเติบโตน้อยมาก - นำเข้านมผงที่ดีที่สุดจากซัพพลายเออร์เพียง 2 รายจากต่าง ประเทศเท่านั้น (นิวซีแลนด์และฝรั่งเศส) เนื่องจากนมผงในไทยไม่พอ - แบรนด์ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก - Distribution Channel น้อย ปัจจุบันขายในร้านดิวตี้ฟรีและส่งออก เท่านั้นสำหรับสินค้าพรีเมี่ยม แต่กำลังเจรจาเพื่อนำสินค้าเข้าขายใน ห้างสรรพสินค้า - ผู้ประกอบการกังวลว่านักลงทุนจีนจะมาลงทุนแย่งส่วนแบ่งตลาด - ความน่าเชื่อถือของแบรนด์ - ช่องทางการจัดจำหน่ายที่ครอบคลุม - การพัฒนารสชาติให้ถูกปากผู้บริโภค (Know-How) - การแข่งขันในอุตสาหกรรมสูง ทั้งกลุ่มสินค้า พรีเมี่ยม (นมผง มากกว่า 50%) พรีเมียมแมส (นมผง 40-50%) และแมส (นมผงต่ำกว่า 40%) ตลาดอยู่ในช่วงเติบโตเนื่องจาก Demand มากกว่า Supply - คู่แข่งในตลาดมีเพียงไม่กี่ราย เช่น นมจิตรลดา, Umm… Milk ,แดรี่ฟาร์ม, Giffarine, She-COW เป็นต้น คู่แข่งแต่ละรายมีการดำเนินกลยุทธ์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น - นมจิตรลดา มีช่องทางการจัดจำหน่ายที่ครอบคลุม และ การทำการตลาดในลักษณะการทำ Content Marketing ในสื่อสังคมออนไลน์ - Giffarine ที่สร้างภาพลักษณ์แบรนด์ให้เป็นเหมือนอาหาร เสริมมากกว่าของทานเล่น - แดรี่ ฟาร์ม จับตลาดกลุ่มวัยรุ่น วางรูปแบบให้ทันสมัย มีหลายรสชาติ ตั้งใจทำให้นมอัดเม็ดเป็นของที่ระลึก กลยุทธ์ของคู่แข่ง 61
  • 62. การนำเสนอคุณค่า ความสัมพันธ์กับลูกค้า กลุ่มลูกค้ากิจกรรมหลัก โครงสร้างรายได้ พันธมิตรทางธุรกิจ โครงสร้างต้นทุน ทรัพยากรหลัก ช่องทาง บริษัท บริษัทบริษัท ทีเอสเบ็ทเทอร์ฟู้ดส์ จำกัด เก่ง ชำนาญการค้า • ด้านวัตถุดิบ : ซัพพลายเออร์นมผง 2 รายจากประเทศนิวซีแลนด์และ ฝรั่งเศส ซึ่งบริษัทติดต่อซื้อสินค้า โดยตรงไม่ผ่านตัวกลางซึ่งมีความต่อ เนื่องของวัตถุดิบ และได้สินค้าที่มี คุณภาพ • ด้านช่องทางจัดจำหน่าย : บริษัทให้ ความสำคัญกับการรักษาความ สัมพันธ์กับช่องทางจัดจำหน่ายอย่าง มาก โดยเฉพาะช่องทาง Travel retail ซึ่งเป็นช่องทางการขายหลัก รวมทั้ง ดีลเลอร์ส่งออกไปจีนและ ตะวันออกกลาง • ด้านการขนส่งวัตถุดิบ : บริษัทนำเข้า • การพัฒนาสูตรและรูปแบบของ สินค้าและการผลิต • การรักษาความสัมพันธ์กับช่อง ทางการจำหน่าย • โรงงานผลิต เครื่องจักรและอุปกรณ์ • ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผู้คิดค้นสูตร และสูตรการผลิตต่างๆ • ช่องทางการขายในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นช่อง ทาง Travel Retail เช่น King Power ดีลเลอร์ นำสินค้าส่งออก Traditional Trade • ช่องทางการติดต่อลูกค้า ในปัจจุบัน ติดต่อกับ ลูกค้าต่างประเทศผ่านทางดีลเลอร์ และติดต่อ ลูกค้าในประเทศผ่านทาง Trader • มีพนักงานขายในการดูแลลูกค้า ติดตาม Feedback เป็น รายออเดอร์ • นมอัดเม็ดสำหรับทุกกลุ่ม ลูกค้า ทั้งพรีเมียม พรีเมียมแมส และแมส และ มีรสชาติที่หลากหลาย เช่น สตรรอเบอรี่ ช็อคโกแลต ทุเรียน มะม่วง เป็นต้น นมผงที่ใช้เป็นวัตถุดิบเกรด ดีที่สุด นำเข้าจากต่าง ประเทศ ได้แก่ นิวซีแลนด์ และฝรั่งเศส • ลูกค้าวงกว้างที่ชอบทานนมอัดเม็ด เช่น เด็ก นักท่องเที่ยวชาวจีน เป็นต้น โดยสามารถแบ่งกลุ่มลูกค้าได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มพรีเมียม ที่ให้ความสำคัญกับ รสชาติ (อร่อย) และคุณภาพ มากกว่าราคา 2. กลุ่มพรีเมียมแมส ปัจจัยในการเลือก ซื้อสินค้าของลูกค้ากลุ่มนี้ ได้แก่ ราคา รสชาติ คุณภาพ 3. กลุ่มแมส ปัจจัยการเลือกซื้อ ได้แก่ ราคาของสินค้า เป็นสำคัญ ลูกค้า กลุ่มนี้มักจะไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนผสม เช่น ปริมาณน้ำตาล • โครงสร้างต้นทุนของ TS Betterfoods โดยต้นทุนส่วนใหญ่ คือ ต้นทุนค่าวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายในการผลิต • ต้นทุนวัตถุดิบถือว่าสูงกว่าคู่แข่งเนื่องจากไม่สามารถใช้นมผงในประเทศได้ เพราะไม่สามารถเข้าถึงคู่ค้าที่มี ความต่อเนื่องของวัตถุดิบได้ • ต้นทุนการขายสินค้าตามช่องทางต่างๆสูงถึง 20-30% ของราคาสินค้า • รายได้มาจากการขายผลิตภัณฑ์นมอัดเม็ด โดยสัดส่วนรายได้ส่วนใหญ่หรือกว่า 80% มาจากการ ขายผ่านร้านดิวตี้ฟรี โดยสินค้าขายดี ได้แก่ นมอัดเม็ดรสทุเรียนและมะม่วง • 60%ของยอดขายมาจากช่องทาง Travel Retail 20% มาจากการส่งออกผ่านดีลเลอร์ 15%จาก การขายใน Traditional Trade และการขายผ่านออเดอร์ตรง 5% • Margin ของ TS Betterfoods น้อยกว่าคู่แข่งอย่างจิตรลดา และแดรี่ฟาร์มเนื่องจากนำเข้าวัตถุดิบจึงมีต้นทุน วัตถุดิบที่สูงกว่า62 แบบจำลองทางธุรกิจ (เดิม) ที่ปรึกษา