SlideShare a Scribd company logo
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศของ
มหาวิทยาลัยในประเทศไทย
1. นางสาวขนิษฐา โพธิ รหัส 5681124008
2. นางสาวนันทิยา ส่งเสริม รหัส 5681124025
3. นางสาวมาริษา กุนันตา รหัส 5681124046
4. นางสาวภัทราพร เรืองบุศ รหัส 5681124051
5. นางสาวพัชลิตา พิมโพนทอง รหัส 5681124055
6. นางสาวชฎาพร สีวอ รหัส 5681124059
7. นางสาวสาวิตรี แขมคา รหัส 5681124075
8. นางสาววรรณา สมบัติวงศ์ รหัส 5681124078
มหาวิทยาลัยของรัฐบาล
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ระดับบัณฑิตศึกษา (Postgraduate)
1. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาภาษาไทย
(M.A. in Thai) แขนงวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาการสอน
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (M.A. in Teaching Thai as a Foreign
Language)
หลักสูตรที่เปิดสอน
ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (BA. in Thai) สาขาวิชาภาษาไทย
(ศศ.บ. 4 ปี)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ (Communicative
Thai for Foreigners) สาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศที่ต้องการศึกษาภาษา
และวัฒนธรรมไทยให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
- หลักสูตร ศศ.บ. วิชาเอกภาษาไทยและวิชาเอกภาษาเกาหลีแบบ 3+1
กับมหาวิทยาลัย พูซานภาษาและกิจการต่างประเทศ เมืองพูซาน
สาธารณรัฐเกาหลี
- หลักสูตร ศศ.บ. วิชาเอกภาษาไทย แบบ 3.5+0.5 กับมหาวิทยาลัย
กวางตุ้งภาษาและการค้าต่างประเทศ เมืองกวางโจว มณฑลกวางตุ้ง
สาธารณรัฐประชาชนจีน
- หลักสูตร ศศ.บ. วิชาเอกภาษาจีน แบบ 3+1 กับ Beijing Union
University กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ (ต่อ)
- โครงการความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยนนิสิตกับ
มหาวิทยาลัยโตเกียวศึกษาต่างประเทศ (Tokyo University of Foreign
Studies) มหาวิทยาลัยเอเชีย (Asia University) แห่งกรุงโตเกียว
มหาวิทยาลัยการศึกษานารูโตะ (Naruto Univerity of Education)
และมหาวิทยาลัยยามางุชิ (Yamaguchi University) ประเทศญี่ปุ่น
โครงการสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
โครงการเตรียมความพร้อมภาษาไทยแบบเข้มสาหรับนิสิต
นานาชาติ (Preparatory Intensive Thai Language Program for
International Students-PTPI) ที่ต้องการจะเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปกติ
ของ มศว หรือของมหาวิทยาลัยอื่นๆ เป็นหลักสูตร 9 เดือน รวมเวลา
เรียนทั้งสิ้น 900 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ๆ ละ 300 ชั่วโมง
เรียนวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 09.00 – 15.30 น. (วันละ 5 ช.ม. รวม 25
ช.ม./สัปดาห์)
โครงการฝึกอบรมระยะสั้น (Short-term Training Program)
การฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น 1-3 เดือน เปิดสอนตาม
ความต้องการของหน่วยงาน องค์กร และมหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่
มีความร่วมมือกับ มศว อาทิเช่น
หลักสูตร Thai Language Learning for ASEAN Diplomats
หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มสาหรับนักศึกษาเวียดนาม เกาหลี จีน
ญี่ปุ่น
ที่มา : http://hu.swu.ac.th/files/academics/tqf/tqf56/tqf2/T2_BA_Thai.pdf
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai as a Foreign
Language
ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี
วัตถุประสงค์
เน้นผลิตบัณฑิตให้มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการฟัง พูด อ่าน
เขียน ให้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และพัฒนาองค์ความรู้ด้าน
ภาษาและวัฒนธรรมไทยอย่างลุ่มลึกด้วยตนเองได้อย่างมีคุณธรรม
จริยธรรมและจรรยาบรรณตามหลักวิชาการ เสริมสร้างความสัมพันธ์
อันดีระหว่างประเทศอย่างเข้าใจถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมตาม
สถานการณ์โลก
ที่มา : https://hs.kku.ac.th/hsthai/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาไทยศึกษาบูรณาการ มหาวิยาลัยวลัยลักษณ์
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษาบูรณาการ
(Bachelor of Arts in Integrated Thai Studies)
วิชาเอก : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ (Thai Language for Foreigners)
รูปแบบของหลักสูตร : หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
เปิดรับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ ที่สมัครสอบระบบโควตาหรือการรับตรง
ตามเกณฑ์ที่กาหนด หรือการเสนอชื่อของสถาบันคู่สัญญา
ที่มา : http://sla.wu.ac.th/its/site/history
สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ฝึกอบรมเกี่ยวกับระดับการเขียนและการอ่านภาษาไทย ในเรื่อง
ของวรรณยุกต์ สระ พยัญชนะ สระผสม ตัวสะกด พยัญชนะควบกล้า
ศึกษา บทสนทนาใน ชีวิตประจาวัน เช่น การต้อนรับ การทักทาย
การบอกเวลา การใช้บริการตามสถานที่พักต่างๆ
ใบประกาศนียบัตร : สถาบันภาษาจะมอบใบประกาศนียบัตรแก่ผู้ที่
สาเร็จการฝึกอบรมทุกโครงการ
คอร์สภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
Thai for foreigners 20 hours
ที่มา : http://www.ril.ru.ac.th/viewcourse_6.php
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตร 5 ปี )
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education in Thai (5 Years
Program)
วิชาเอกเลือก กลุ่มเนื้อหาวิชาการใช้ภาษา : กลุ่มภาษา 208334
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai As A Foreign Language)
ที่มา : http://www.edu.nu.ac.th/2005/Crricula/2557/bthai.pdf
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อ
การสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554
(ปริญญาตรีภาคปกติ หลักสูตร ๔ ปี)
ตัวอย่างวิชาเอกบังคับ: ทักษะการเขียน (Writing Skills)
การสนทนาภาษาไทย (Thai Conversation ) สัทวิทยาภาษาไทย (Thai
Phonology)
ตัวอย่างวิชาเอกเลือก : การสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจาวัน
(Thai Conversation for Everyday Life) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
(Introduction to the Thai Language)
ที่มา : http://www.buu.ac.th/2016/course/frontend/courseDetail/MTM1
ศูนย์บริการวิชาการ คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการอบรมหลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับ
ชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนอกเวลาราชการ) เพื่อเพิ่มพูนความรู้
ทางด้านภาษาไทยระดับเบื้องต้น แก่ชาวต่างประเทศ เน้นการฝึกทักษะ
การฟังและการพูด บทสนทนาและคาศัพท์ในชีวิตประจาวัน และความรู้
ทางวัฒนธรรมของไทยที่สาคัญและจาเป็นต่อการใช้ชีวิตในประเทศไทย
การอบรมแบ่งเป็นรอบวันธรรมดา (จันทร์ พุธ ศุกร์) ระหว่าง
วันที่ 4 มกราคม – 24 มิถุนายน 2560 และรอบวันเสาร์ ระหว่างวันที่ 7
มกราคม – 24 มิถุนายน 2560
ที่มา : http://www.arts.chula.ac.th/~asc/home/blog/category/lang/
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
(หลักสูตรนานาชาติ) ภาคพิเศษ
การจัดการศึกษา : เป็นการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full time) ในระบบ
ทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา ประกอบด้วย 2 ภาคการศึกษา ได้แก่
ภาคต้น และภาคปลาย และหลักสูตรสามารถจัดการศึกษาฤดูร้อนเป็น
พิเศษ เวลาเรียน ในเวลาราชการ จัดการเรียนการสอนในวันจันทร์ – วัน
ศุกร์
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
หลักสูตรการศึกษา : ระดับปริญญาตรี ใช้ระยะเวลาในการศึกษาจน
สาเร็จการศึกษาอย่างน้อย 8 ภาคการศึกษา และอย่างมากไม่เกิน 8 ปี
การศึกษา จานวนหน่วยกิตที่จะศึกษาไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต
ที่มา:http://www.ku.ac.th/web2012/resources/u
pload/content/files/announce_forieng_2556.pdf
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
หลักสูตรอบรมผู้สอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ รุ่นที่ 5
• กาหนดการอบรมระหว่างวันที่ 21 - 29 มกราคม 2560
• เสาร์ เวลา 09.00 - 16.30 น. อาทิตย์ เวลา 09.00 - 16.30 น.
• จานวนชั่วโมง 24 ชั่วโมง
• สถานที่อบรม : อาคารสิริวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
• จานวนผู้เข้าอบรม 18 คน
• ค่าลงทะเบียน 5,000 บาท
ที่มา : https://sites.google.com/a/mahidol.edu/
service/xbrm-phu-sxn-phasa-thiy-hi-chaw-tang-chati
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
( Preparatory Thai language program for foreigners)
เป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน 3 - 12 เดือน
โครงสร้างของหลักสูตร (รวม 18 รายวิชา) ประกอบด้วย
1. ภาษาไทยเบื้องต้น
ตัวอย่างรายวิชา
• TH 001 ภาษาไทยสาหรับผู้เริ่มเรียน 1 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
• TH 002 ภาษาไทยสาหรับผู้เริ่มเรียน 2 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2. ภาษาไทยระดับกลาง
ตัวอย่างรายวิชา
• TH 003 สัทศาสตร์เพื่อการศึกษาภาษาไทย 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
• TH 004 การฟังและการพูด 1 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
3. ภาษาไทยระดับสูง
ตัวอย่างรายวิชา
• TH 011 การฟังและการพูด 3 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
• TH 012 การอ่านและการเขียน 3 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ที่มา : https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/phakh-wicha/4-phakh-
wicha-phasa-thiy-laea-phasa-tawan-xxk/--phasa-thiy-ni-thana-phasa-tang-prathes
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ)
ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts (Thai for Foreigners)
จานวนหน่วยกิต : 133
ตัวอย่างรายชื่อของหลักสูตร
- ภาษาไทยเพื่อกิจธุระ Thai Language for Official Purposes
- ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว Thai Language for Tourism
- ภาษาไทยเพื่อธุรกิจ Thai Language for Business
ที่มา : http://www.libarts.mju.ac.th/foreignersType.php
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คณะศิลปะศาสตร์ ภาษาและวรรณคดีตะวันออก
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ชื่อวิชาภาษาไทย : การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ : Teaching Thai as a Foreign Language
จานวนหน่วยกิต : 3 (3-0-6)
ประเภทของรายวิชา : เป็นรายวิชาในหลักสูตรศิลปศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสาร
ปีการศึกษาที่เปิดสอน : ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557
ที่มา : http://tqf.ubu.ac.th/views/SyllabusHTML.php?tqfID=6945
คณะศิลปะศาสตร์ ภาษาและวรรณคดีตะวันออก
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
แนวการสอน
ชื่อวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for foreigners)
หลักสูตรภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เป็นรายวิชาศึกษาวิเคราะห์ปัญหาของโครงสร้างภาษาไทยที่มี
ผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศ เน้นเรื่องการออกเสียง การใช้คา
การใช้ประโยค การสื่อความหมาย และแนวทางการแก้ไขปัญหา
การสื่อสารในปริบทของสังคมไทย
ที่มา : http://human.dusit.ac.th/document/manual/2553/standard/STD_thai.pdf
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
หลักสูตร : ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (หลักสูตรปกติ 4 ปี)
คณะ/ฝ่าย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี ภาคปกติ
ปีที่เริ่มใช้ : 2556
กลุ่มวิชาเอกเลือก หรือวิชาโท
TC443 TEACHING THAI TO FOREIGNERS I
การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ 1 3 (3-0-6)
TC444 TEACHING THAI TO FOREIGNERS II
การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ 2 3 (2-2-5)
ที่มา : http://reg.payap.ac.th/registrar/program_info_1.
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)
บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพได้ ดังนี้
• เป็นมัคคุเทศก์
• ทางานกับองค์กร บริษัท ร้านค้า
• เป็นล่ามแปลได้อย่างน้อย 2 ภาษา สามารถแปลเอกสารและแปล
โดยฉับพลันได้
• เป็นครู อาจารย์สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศได้อย่างดี
ที่มา : http://www.human.cmu.ac.th/thai_info.php#
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎลาปาง
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Arts Program in
Communicative Thai Language of Foreigners
สถานสภาพของหลักสูตร
หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ปรับปรุง
จากหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสารทาง
ธุรกิจ
เริ่มใช้ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐
รูปแบบของหลักสูตร
หลักสูตร : ปริญญาตรี ๔ ปี
ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ
หลักสูตรระยะสั้น
หลักสูตร 8 เดือน ฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย เรียนจบตาม
หลักสูตรจะได้รับประกาศนียบัตร) ระหว่างเดือนสิงหาคม-มีนาคมของ
ทุกปีโดยมีค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร 33,000 บาท
ที่มา : http://www.ctlf.lpru.ac.th/index_main_
html.php?name=course_th&file=course_th
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย ในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ (ศศ.บ.)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Art Program in Thai as A Foreign
Language
ชื่อย่อ : B.A. (Thai as A Foreign Language)
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : ภาคปกติ 4 ปี ( 8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : ภาคปกติ 180,000 บาท
(ภาคการศึกษาละ 22,500)
หลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
• ลักษณะเฉพาะภาษาไทย
• สัมมนาภาษาไทย
• การวิจัยทางภาษาไทย
• ภาษากับวัฒนธรรมไทย
• วรรณกรรมไทยเบื้องต้น
• ภาษาศาสตร์เบื้องต้นสาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ
• การอ่านออกเสียงภาษาไทย
• ระบบเสียงภาษาไทย
• ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว
ที่มา : http://www.pbru.ac.th/th/index.php/admission-infomation/bachelor-
admission/2015-10-12-06-53-47/1997-2015-10-12-04-04-43
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หลักสูตร ประกาศนียบัตรภาษาไทยขั้นสูง
สาหรับชาวต่างประเทศ ปรับปรุง (พ.ศ. 2551)
ชื่อหลักสูตร : ประกาศนียบัตรภาษาไทยขั้นสูงสาหรับชาวต่างประเทศ
(Diploma in Advance Thai for Foreigners)
ภาษาที่ใช้สอน : ภาษาไทย
กลุ่มสาขาวิชา (ISCED) : ภาษาศาสตร์
สาขาวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์
ที่มา : http://portal1.udru.ac.th/webcurr/CUR_CURRICULUM
_view.php?curr_udru_id=0307&curr_year=2551
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ชื่อหลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย Bachelor of Arts
Program in Thai
รูปแบบ : หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
วิชาเฉพาะด้านเลือก (กลุ่มวิชาภาษา) : 1544208 ภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ (Thai for Foreigners)
ที่มา : http://human.uru.ac.th/Major/thai/thai55.pdf
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Arts Program in Thai)
รูปแบบ : หลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
วิชาเลือก (กลุ่มภาษาและหลักภาษา) : 2014101 ภาษาไทยสาหรับ
ชาวต่างประเทศ (Thai for Foreigners)
ที่มา : http://www.thai.rbru.ac.th/Doc/plan2555.pdf
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ (Bachelor of Arts Program in Thai for Foreigners )
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556
จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ที่มา : http://regis.dru.ac.th/major_regis/major_file.php?SubjectID2=11
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ศูนย์การศึกษานักศึกษานานาชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ศูนย์การศึกษานักศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เปิดสอนภาษาไทย ให้กับชาวต่างชาติจานวน 2 หลักสูตร
• หลักสูตร ปริญญาตรี (2+2)
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
(ศศ.บ. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
• หลักสูตรอบรมภาษาไทยระยะสั้น (ประกาศนียบัตร)
1. อบรมระยะสั้น 1-3 เดือน
2. อบรมระยะสั้น 1 ปี
สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ 034-261050
ที่มา : http://dept.npru.ac.th/isec/index.php?act=6a992d5529f
459a44fee58c733255e86&lntype=editor_top&stm_id=398
ศูนย์การศึกษานักศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เปิดอบรมภาคฤดูร้อน 8
หลักสูตรดังนี้
1.ภาษาไทยเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างชาติ (30 ชั่วโมง)
2.ภาษาจีนเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป
3.ภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป
4.ภาษาพม่าเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป
5.ภาษาเวียดนามเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป
6.ภาษาขะแมร์เบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป 1
7.ภาษาขะแมร์เบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป 2
8.ภาษาเกาหลีเบื้องต้นเพื่อการสื่อสารสาหรับบุคคลทั่วไป
ที่มา : http://web.chandra.ac.th/lang/course.html
สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อ
การสื่อสาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552
วิชาเอกเลือก (กลุ่มหลักภาษา) : 31544102 ภาษาไทยสาหรับ
ชาวต่างชาติ (Thai Language for Foreigners )
หน่วยงานรับผิดชอบ
สาขาวิชาภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ที่มา : http://thai.hms.snru.ac.th/UserFiles/File/THAI%20%20.pdf
สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
คณะครุศาสตร์ สาขาภาษาไทย
และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
คณะ : คณะครุศาสตร์ สาขาวิชา : ภาษาไทย
ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี (4 ปี) ภาคปกติ
วิชาเอกเลือก (กลุ่มที่ 1) : 1544103 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
Thai for Foreigners
หลักสูตรการอบรมภาษาต่างประเทศ ศูนย์ภาษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การสนทนาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ 1 (ระดับต้น) จานวน 30
ชั่วโมง ค่าอบรม 3,500 บาท สามารถจัดอบรมได้ตลอดปี
ที่มา : www.nrru.ac.th/UserFiles/File/file/detail49_01072010.doc
คณะคณะครุศาสตร์ สาขาภาษาไทย และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ชื่อหลักสูตร : ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ (Bachelor of Arts Program in Thai for Foreigners)
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2551
จานวนหน่วยกิต : รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 122 หน่วยกิต
ตัวอย่างรายวิชา
1531101 ภาษาศาสตร์เบื้องต้น
1541101 สานวนไทย
1541203 ภาษาไทยธุรกิจ
ที่มา : http://www.kru.ac.th/th/major/hum_thai_for_foreigners.pdf
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเลือก : กลุ่มวิชาภาษาไทยและภาษาศาสตร์
THL2105 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for Foreigners)
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยเอกชน
คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า
คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
วิทยาเขต ร่มเกล้า
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับ
ชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)
จานวนหน่วยกิต : ตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร : เป็นหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
ภาษาที่ใช้ : ภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา : รับนักศึกษาที่ไม่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่ง
ที่มา : http://liberalarts.kbu.ac.th/home/Courses/
pdf/Thai_Language_for_Foreigners.pdf
คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า
สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง
มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
ชื่อปริญญาและอักษรย่อ
ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต (การสื่อสารภาษาไทยเป็น
ภาษาที่สอง)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts (Communlcative thai as a
Secend Language)
โครงสร้างหลักสูตร : นักศึกษาจะต้องศึกษาและสอบผ่านรายวิชาตาม
หลักสูตร โดยมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต
ที่มา : http://arts.hcu.ac.th/course.php?id=6
สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts
Program in Thai Language)
กลุ่มวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ตัวอย่างรายวิชา
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (Thai as a Foreign Language)
ภาษาศาสตร์เบื้องต้นสาหรับชาวต่างประเทศ (Introduction to Thai
Linguistics for Foreigners)
การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดสาหรับชาวต่างประเทศ
(Listening and Speaking Skills Development for Foreigners)
ที่มา : http://humanities.utcc.ac.th/index.php/thai-language
คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
"การสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ"
เป็นโครงการบริการวิชาการของภาควิชาภาษาไทย
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดาเนินการปีการศึกษาละ
1 ครั้ง จัดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายนของทุกปี ผู้เข้าร่วมอบรมคือ
บุคคลทั่วไปที่มีความสนใจเรื่องการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ
และได้รับประกาศนียบัตรเมื่อผ่านการฝึกอบรม
ที่มา : https://www.facebook.com/pg/
DpuThaiTraining/about/?ref=page_internal
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม ฮานอย
(Viet Nam National University , Hanoi)
ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม ฮานอย (Vietnam National
University,Hanoi : VNU) เป็นมหาวิทยาลัยทันสมัยแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นใน
ประเทศ และเป็นหนึ่งในสองมหาวิทยาลัยแห่งชาติในเวียดนาม ก่อตั้งขึ้น
ในปี ค.ศ. 1945 ใจกลางเมืองหลวงของเวียดนาม ณ กรุงฮานอย
มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนามเดิมทีชื่อว่า มหาวิทยาลัยอินโดจีน
(University of Indochina) จนกระทั่งปี ค.ศ.1993 รัฐบาลได้ทาการควบ
รวม มหาวิทยาลัยชั้นสูงเฉพาะทางของเวียดนามอันได้แก่ มหาวิทยาลัย
ฮานอย มหาวิทยาลัยครูฮานอย และวิทยาลัยภาษาต่างประเทศเข้าเป็น
หนึ่งเดียวกัน
หลักสูตรภาษาไทยที่เปิดสอนเป็นหลักสูตรวิชาโท ซึ่งเปิดรับ
นักศึกษาปีที่ 3 จากสาขาภาษาต่างประเทศทั้งหมด 10 สาขาใน
มหาวิทยาลัย เรียนหนึ่งปีการศึกษาหรือสองภาคเรียน แต่ละภาคเรียน
ของเวียดนามมีระยะเวลา15 สัปดาห์ วิชาโทภาษาไทยจะเรียน 10 คาบ
ต่อสัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 ชั่วโมง
ในการจัดหลักสูตรและดาเนินการเรียนการสอน ครูผู้สอน
ภาษาไทยมีหลักการดังนี้
การเรียนการสอนภาษาแนวประยุกต์
มีการแบ่งเนื้อหาและชั่วโมงเรียนเป็น 2 ช่วงในทุกครั้ง ได้แก่
ช่วงแรกจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้ภาษาไทย (หลักภาษา หลักการ
สะกดการันต์ การผสมคา การอ่านและเขียนเบื้องต้น)
ช่วงที่สองเป็นการสนทนา ฝึกทักษะการฟัง - พูด โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อมุ่งให้นักศึกษาเมื่อเรียนจบหลักสูตรนักศึกษาจะมีความสามารถ
ทางด้านภาษาไทยอยู่ที่ระดับกลาง สามารถประยุกต์ใช้สิ่งที่ ได้เรียน
มาในการสื่อสารและการงานอาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คานึงถึงลักษณะของผู้เรียน
นักศึกษาเวียดนามเรียนภาษาไทยโดยเริ่มตั้งแต่ ก ไก่ ข ไข่ แต่
ไม่เหมือนกับเด็กไทย เพราะไม่มีบรรยากาศวัฒนธรรมสังคมไทยเป็น
สิ่งแวดล้อมส่งเสริมให้นักเรียนสามารถซึมซับภาษาได้
การสร้างแรงจูงใจในการเรียน
การตกแต่งสภาพห้องเรียนให้มีความเป็นไทยและสวยงาม มี
อุปกรณ์ครบครันสะดวก ก็ช่วยส่งเสริมทัศนคติของผู้เรียนและ
ประสิทธิภาพของการเรียนการสอน
การได้พบได้เรียนกับเจ้าของภาษา
การพิสูจน์จากการสอนของตนว่า เรียนภาษาไทยแล้วใช้ได้
จริง ไม่ใช่เรียนเอาคะแนนสูง
การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้มีความสนุกสนาน
เทคนิคการสอนทักษะการพูดภาษาไทยให้นักศึกษา
การสอนการออกเสียง
ครูผู้สอนอธิบายวิธีการออกเสียงและการวางอวัยวะการออกเสียงที่
ถูกต้องผ่านรูปภาพหรือการสาธิตให้ดู
แบบฝึกคู่เทียบเสียง เช่น ปา กับ พา, จิก กับ ฉิก, เล็ก กับ เลข, อบ
กับ โอบ เพื่อฝึกออกเสียง
ให้นักเรียนตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องฝึกออกเสียงให้ถูกต้อง
ชัดเจน เพราะหากออกเสียงผิดนิดเดียวก็ทาให้เกิดความเข้าใจผิดใน
การสื่อสารได้
ลาดับขั้นตอนการสอนการออกเสียงและสะกดคาในภาคต้น
• บทที่ 1 อักษรไทย
• บทที่ 2 พยัญชนะ
• บทที่ 3 สระ และตำแหน่งของสระ
• บทที่ 4 ตัวสะกด
• บทที่ 5 กำรเปลี่ยนรูปสระ
• บทที่ 6 วรรณยุกต์
• บทที่ 7 อักษร 3 หมู่
• บทที่ 8 กำรผันเสียงวรรณยุกต์สำหรับคำที่ไม่มีตัวสะกด
• บทที่ 9 กำรผันเสียงวรรณยุกต์สำหรับคำที่มีตัวสะกด
• ทบทวน สอบกลำงภำค
การสอนสนทนา
สอนสนทนาตั้งแต่นักศึกษาเริ่ม
เข้าสู่การเรียน ในช่วงแรก
ครูผู้สอนต้องอ่านและพูดซ้า
บ่อยๆ ให้นักศึกษาจดเป็นภาษา
เวียดนามก่อน ที่สาคัญคือครู
ต้องคอยสังเกตช่วยแก้เสียงเวลา
ที่เรียกผู้เรียนอ่านฟังเสียงทีละคน
การสอนสนทนาภาษาไทย
ของมหาวิทยาลัย ใช้หนังสือเรียนที่
สร้างโดยคณาจารย์เวียดนามและ
ผู้เชี่ยวชาญภาษาไทย บทเรียนจะ
แบ่งเป็นหัวข้อหรือสถานการณ์การ
สื่อสาร ในระดับต้นหรือภาคต้น เน้น
สถานการณ์ง่ายๆ ในชีวิตประจาวัน
เมื่อนักศึกษาเข้าสู่ระดับกลางหรือ
ภาคปลาย จะเป็นการสนทนาใน
ระดับที่ยากขึ้น หลากหลายขึ้น แต่ก็
ยังคงมีความใกล้ตัวกับผู้เรียน
กิจกรรมการฝึกสนทนา ครูให้ตัวอย่างบทสนทนาอย่างน้อยสองบท ยิ่งมี
เทป ซีดี วีดีโอ ให้ฟังจะยิ่งดีเพราะเด็กได้รับภาษาทางเสียงด้วย หรือมี
ข้อความ บทอ่านสั้นๆ เกี่ยวข้องกับหัวข้อกาลังเรียนก็ช่วยให้ผู้เรียน
การสอนภาษาไทยจะสอนแบบทักษะสัมพันธ์
การสอดแทรกทักษะอื่นบ้างในการสอนการพูด เช่น เรียนสนทนาเรื่องถาม
ทางบอกทางก็ให้อ่านป้ายจราจรที่พบบ่อยตามท้องถนน เรียนเรื่องดนตรีก็
ให้ฟังเพลงและเติมคาศัพท์ลงในเนื้อเพลงและฝึกร้องเพลงด้วยกัน เรียน
เรื่องภาพยนตร์ให้ดูหนังตัวอย่างของหนังไทย เรียนเรื่องโทรทัศน์ให้หา
ข่าวสั้นมาอ่านก่อนและมานาเสนอเป็นผู้ประกาศข่าว
แหล่งที่มา
http://education.uasean.com/kerobow01/454
https://www.academia.edu/25886442/เทคนิคการสอน
ภาษาไทยให_นักศึกษาเวียดนาม_มหาวิทยาลัยฮานอย

More Related Content

What's hot

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
Budsayamas Srirasan
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
PamPSeehatip1
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
 
ขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนkrudennapa2519
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
พัน พัน
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
JessadarLuksoom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
Thanawut Rattanadon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
Jarinya Chaiyabin
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
Chainarong Maharak
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
Klangpanya
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผน
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 

Similar to การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
Oiw Kiddie
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
Aorsuwanee
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
Jarinya Chaiyabin
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
jutamat tawebunyasap
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
NamTarn Sasima
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ณชารีญา ศรีหะรัญ
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
Panida Nootawee
 
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
พรทิพย์ ทองไพบูลย์
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
nokporn phetwiset
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
supphawan
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docx
AlexandrosTao
 
Congrats
CongratsCongrats
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
SophinyaDara
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Lib Rru
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 

Similar to การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (20)

งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docx
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
Congrats
CongratsCongrats
Congrats
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ