SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
1.เลือกภาพประกอบปัญหาสังคมในปัจจุบัน
2.ตั้งประเด็น,สถานการณ์,เหตุการณ์,เรื่อวราว ที่นาไปสู่การตั้งคาถาม
เ ด็ ก ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ( Children’s Smartphone Addiction) ห ม า ย ถึ ง
เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน
ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ เป็นต้นว่าเด็กปฏิเสธที่จะทาการบ้าน ถ้าพวกเขาไม่ได้เล่นเกมส์
ห รื อ ดู ค ลิ ป ใ น ยู ทู ป บ น แ ท็ บ เ ล็ ต เ ป็ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ห รื อ
เล่นสมาร์ทโฟนอยู่บนเตียงจนเผลอหลับไป เป็นต้น พฤติกรรมเช่น นี้สร้างความหนักใจให้กับพ่อแม่
ทั้งนี้ มีผู้ปกครองหลายครอบครัวยอมควักเงินซื้ออุปกรณ์ไฮเทคจาพวกสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตเพื่อ
ต่อยอดการเรียนรู้ของลูก แต่ผลลัพธ์ที่ได้กลายเป็นตรงกันข้ามเด็กหลายคนติดสมาร์ทโฟนกันงอมแงม
จนกระทบกับการเรียนและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กอีกด้วย
ทั้งนี้ สถาบันที่เชี่ยวชาญทางด้านเด็กของสหรัฐอเมริกาเปิดเผยว่า เด็กทารกจนถึงวัย 2ขวบ
ไม่ควรหยิบจับอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ส่วนเด็กอายุ 3 –5 ขวบนั้นให้เล่นได้วันละไม่เกิน 1ชั่วโมง
แ ล ะ ใ น วัย ที่ โ ต ก ว่า นั้ น จ น ถึ ง อ า ยุ 18 ปี ค ว ร เ ล่ น แ ค่ วั น ล ะ 2 ชั่ ว โ ม ง
แ ต่ จ า ก ข้ อ มู ล ที่ น า เ ส น อ ผ่ า น สื่ อ ส า ธ า ร ณ ะ ไ ด้ ร ะ บุ ว่ า
ชั่วโมงการใช้งานอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีของเด็กในสหรัฐฯ และแคนาดาสูงกว่าจานวนที่แนะนาไว้
4 ถึง 5 เท่า
ดังนั้น ปัญห าเด็กติดสมาร์ทโฟนนับวันจะยิ่งปรากฏให้เห็ นมากขึ้นใน สังคมทั่วโลก
รวมถึงสั งคมไทยที่มีจาน วน ผู้ใช้งาน ส มาร์ท โฟ น และ แท็บ เล็ตเพิ่ มสู ง ขึ้ น ใ น ทุกๆ ปี
พ่ อ แ ม่ จึ ง ไ ม่ ค ว ร ว า ง ใ จ ใ ห้ ลู ก อ ยู่ กั บ ส ม า ร์ ท โ ฟ น เ พี ย ง ล า พั ง
ควรดูแลพฤติกรรมการเล่นสมาร์ทโฟนของเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เกิดปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟนในภายหลัง
ที่มา :
อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน.
URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
ประเด็นของปัญหา
- ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการใช้เทคโนโลยี
- พ่อแม่มีไม่มีเวลาเลี้ยงลูก
- พ่อแม่ตามใจลูก
3.ตั้งสมมติฐาน จากเรื่องราวประเด็นปัญหาที่นักเรียนศึกษา
- การขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการใช้เทคโนโลยีทาให้เกิดปัญหา เด็กติดเทคโนโลยี
- การที่เด็กติดเทคโนโลยีมีผลมาจากพ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก
- การที่พ่อแม่ตามใจลูกเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
4.วางแผนการสืบค้นความรู้ พร้อมบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูล/แหล่งความรู้
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
เ ด็ ก ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ( Children’s Smartphone Addiction) ห ม า ย ถึ ง
เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน
ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ เป็นต้นว่าเด็กปฏิเสธที่จะทาการบ้าน ถ้าพวกเขาไม่ได้เล่นเกมส์
ห รื อ ดู ค ลิ ป ใ น ยู ทู ป บ น แ ท็ บ เ ล็ ต เ ป็ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ห รื อ
เล่นสมาร์ทโฟนอยู่บนเตียงจนเผลอหลับไป เป็นต้น พฤติกรรมเช่น นี้สร้างความหนักใจให้กับพ่อแม่
ทั้งนี้ มีผู้ปกครองหลายครอบครัวยอมควักเงินซื้ออุปกรณ์ไฮเทคจาพวกสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตเพื่อ
ต่อยอดการเรียนรู้ของลูก แต่ผลลัพธ์ที่ได้กลายเป็นตรงกันข้ามเด็กหลายคนติดสมาร์ทโฟนกันงอมแงม
จนกระทบกับการเรียนและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กอีกด้วย
ทั้งนี้ สถาบันที่เชี่ยวชาญทางด้านเด็กของสหรัฐอเมริกาเปิดเผยว่า เด็กทารกจนถึงวัย 2ขวบ
ไม่ควรหยิบจับอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ส่วนเด็กอายุ 3 –5 ขวบนั้นให้เล่นได้วันละไม่เกิน 1ชั่วโมง
แ ล ะ ใ น วัย ที่ โ ต ก ว่า นั้ น จ น ถึ ง อ า ยุ 18 ปี ค ว ร เ ล่ น แ ค่ วั น ล ะ 2 ชั่ ว โ ม ง
แ ต่ จ า ก ข้ อ มู ล ที่ น า เ ส น อ ผ่ า น สื่ อ ส า ธ า ร ณ ะ ไ ด้ ร ะ บุ ว่ า
ชั่วโมงการใช้งานอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีของเด็กในสหรัฐฯ และแคนาดาสูงกว่าจานวนที่แนะนาไว้
4 ถึง 5 เท่า
ดังนั้น ปัญห าเด็กติดสมาร์ทโฟนนับวันจะยิ่งปรากฏให้เห็ นมากขึ้นใน สังคมทั่วโลก
รวมถึงสั งคมไทยที่มีจาน วน ผู้ใช้งาน ส มาร์ท โฟ น และ แท็บ เล็ตเพิ่ มสู ง ขึ้ น ใ น ทุกๆ ปี
พ่ อ แ ม่ จึ ง ไ ม่ ค ว ร ว า ง ใ จ ใ ห้ ลู ก อ ยู่ กั บ ส ม า ร์ ท โ ฟ น เ พี ย ง ล า พั ง
ควรดูแลพฤติกรรมการเล่นสมาร์ทโฟนของเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เกิดปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟนในภายหลัง
ที่มา :
อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน.
URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
สาเหตุของปัญหา
เมื่อถามถึงสาเหตุที่เด็กติดสมาร์ทโฟน อาจแบ่งได้เป็น 2 สาเหตุหลัก
สาเหตุแรกคือการหลั่งของสารโดปามีน (Dopamine) ภายหลังเด็กได้ทากิจกรรมแปลกใหม่นั่นคือ
การเล่น ส ม าร์ ท โฟ น ส ารที่ ว่านี้ จ ะ ท าห น้ าที่ ก ระ ตุ้น ใ ห้ เด็ ก ท าพ ฤ ติ กรร มเดิ มซ้ า
ทาให้เกิดวงจรการเล่นสมาร์ทโฟนจนติดเป็นนิสัยขึ้น เพราะเวลาเล่นสมาร์ทโฟน เด็กมีความรู้สึกพึงพอใจ
เมื่อเด็กไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ก็มักหงุดหงิดหรือเซื่องซึมได้
ส่ ว น ส า เ ห ตุ ที่ ส อ ง คื อ พ่ อ แ ม่ข อ ง เ ด็ ก เอ ง เพ ร า ะ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่
พ่อแม่คือคนที่ทาให้เด็กได้สัมผัสกับสมาร์ทโฟนเป็นครั้งแรกผ่านการเล่นสมาร์ทโฟนของพ่อแม่หรือของเด็
ก จากนั้นพ่อแม่อาจปล่อยให้เด็ก เล่นตามลาพัง หรือไม่มีกาหนดระยะเวลาการเล่นในแต่ละวัน
ทาให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนติดต่อเป็นเวลา หลายชั่วโมง จนนาไปสู่พฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนในที่สุด
ทั้งนี้ สาเหตุที่พ่อแม่ปล่อยให้ลูกเล่นสมาร์ทโฟนเกินพอดีมักเกิดจาก
 ให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนเพื่อให้เด็กหยุดอยู่กับที่
 พ่อแม่ไม่มีเวลาให้เด็ก จึงให้สมาร์ทโฟนเป็นของเล่น
 พ่อแม่ไม่ทราบถึงอันตรายจากการเล่นสมาร์ทโฟนต่อเนื่องเป็นเวลาหลายชั่วโมง
ดังนั้น สาเหตุของเด็กติดสมาร์ทโฟนนอกจากการหลั่งของสารให้ความสุขหรือสารโดปามีนแล้ว
ยั ง เ กิ ด จ า ก บุ ค ค ล ใ ก ล้ ตั ว เ ด็ ก
ขึ้นอยู่กับการเอาใจใส่ของพ่อแม่ที่จะให้ลูกเล่นสมาร์ทโฟนอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม
ที่มา :
อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน.
URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
ผลกระทบต่อเด็ก
1. อ้ ว น -ผ อ ม เ กิ น ไ ป
และเป็ นเด็กกินยาก เด็กที่จมจ่อมอยู่กับอุปกรณ์ไฮเทคอาจประสบกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งที่ว่ามา
เ ด็ ก ที่ อ้ ว น เ กิ น ไ ป มั ก เ ป็ น เ พ ร า ะ เ ด็ ก ไ ม่ ไ ด้ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว
ร ว ม ทั้ ง พ่ อ แ ม่ห รื อ พี่ เ ลี้ ย ง อ า จ ฉ ว ย จั ง ห ว ะ นี้ ป้ อ น อ า ห า ร เด็ ก ไ ป ด้ ว ย
(ทาให้ได้อาหารมากเกินตามความต้องการของเด็ก)
2. เ ด็ ก ข า ด ส ม า ธิ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส น ใ จ จ ด จ่ อ ซ น อ ยู่ ไ ม่ นิ่ ง
ไม่ใช่แค่เด็กเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากเทคโนโลยีที่ทาให้มีอาการเหมือนเป็นเด็กซนสมาธิสั้น แต่
EdwardHallowellจิตแพทย์ชาวอเมริกัน พบว่าผู้ใหญ่ที่ใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปมีอาการหงุดหงิดง่าย
ไม่อด ท น รอ คอ ย ไม่ได้ แ ล ะ ว อ กแ วก เป็ น เพ ราะ จอ ข อ ง โท รทัศ น์ ส มาร์ ท โ ฟ น
ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห น้ า จ อ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
ขณะเดียวกันเมื่อสืบค้นอะไรจากอินเตอร์เนตมักจะรวดเร็วทันใจ ไม่ต้องรอคอยเหมือนแต่ก่อน
สมองของเด็กจะจดจาความรวดเร็วเหล่านี้ ทาให้เมื่อต้องเผชิญกับชีวิตจริงจึงไม่จดจ่อ รอไม่ไหว คอยไม่เป็น
3. ร่าง กายไม่แข็ง แรง ไม่คล่อง แคล่วว่อง ไว ร่าง กายไม่ยืดหยุ่น ทักษะ กล้ามเนื้ อต่าง ๆ
เหล่านี้จะเกิดได้ต้องอาศัยการปีนป่าย ไล่จับ วิ่งเปี้ ยว งูกินหาง ตบแผะ ตั้งเต คือไปเล่น ออกกาลังกาย
แ ต่ ปั จ จุ บั น เ ด็ ก ห ล า ย ค น ไ ม่ รู้ จั ก ก า ร เ ล่ น แ บ บ นี้ แ ล้ ว
การออกกายบริหารคือวิธีลัดที่ช่วยส่งเสริมการประสานสัมพันธ์ของร่างกาย 2ด้าน
ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น ก า ร ใ ช้ ส ม อ ง 2 ซี ก ท า ง า น ร่ ว ม กั น ( Bilateral Integration)
อันเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาสมองขั้นสูง
การใช้เวลากับอุปกรณ์ไฮเทค เด็กขาดโอกาสเล่นกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและ
การเรียนรู้ ทาให้ร่างกายที่ไม่แข็งแรง ไม่คล่องแคล่ว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโรคอ้วน และอาจพัฒนาเป็น
โรคเรื้อรังต่างๆ เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้
4. ปั ญ ห า ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น ก า ร ม อ ง เ ป็ น ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด เ จ น
หมอพบว่าเด็กหลายคนไม่ชอบมองของเล่น คน หรือสิ่งต่างๆ แต่กลับสนใจมองแต่แสงที่จ้าเช่น แสงไฟ
แสงจากหน้าจอ เด็กหลายคนที่มาปรึกษาด้วยปัญหาพัฒนา เมื่อประเมินแล้วพบว่าเด็กตาลอย
เพราะขาดสมาธิในการมอง ไม่สามารถมองตาม หรือ ไม่เข้าใจภาพที่เห็นหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น
เ พ ร า ะ เ ค ย ชิ น กั บ ภ า พ จ า ก ห น้ า จ อ ที่ เ ป็ น 2 มิ ติ มี สี สั น ฉู ด ฉ า ด
ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางสติปัญญาที่เด็กต้องได้เรียนรู้จากของจริงที่เป็ น 3 มิติเสียก่อน
เพื่ อ ใ น ระ ยะ ย าว เด็ กต้อ ง น าไป ใ ช้เมื่อ โต ขึ้ น ต้อ ง อ่าน ต้อ ง เขี ยน ต้อ ง ล ง มือ ท า
นอกจากนี้ยังพบปัญหาทางสายตามากขึ้นในเด็กที่เพ่งมองอุปกรณ์นี้ เช่น สายตาสั้น สายตาเอียง เป็นต้น
5.ปัญหาต่อการเรียนรู้ผ่านการฟัง พัฒนาการทางภาษา เช่น เด็กพูดช้า หรือความเข้าใจภาษาชั้นสูง
(LanguageComprehension) ไม่ได้ถูกฝึกฝน มีทั้งฟังแล้วจาไม่ได้ฟังแล้วคิดตามไม่ได้ เป็นอีกปัญหาหนึ่ง
ที่หมอพบมากการเรียนรู้ด้านภาษาล้วนต้องผ่านการเล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์ทั้งกับผู้ใหญ่หรือเด็กด้วยกัน เช่น
เกมจาชื่อสัตว์เกม “อะไรเอ่ย”กิจกรรมที่ลงมือทาด้วยกันที่ช่วยให้เด็กเข้าใจลาดับเหตุการณ์ (Sequencing)
การเชื่อมโยงเหตุและผล (อาจผ่านการเล่านิทาน การแก้ปัญหาในชีวิตจริง) เราพบว่าหากเป็นเด็กที่อ่าน
ได้แ ล้ว บ าง ค รั้ ง ก ารอ่าน ข้อ มูล จ ากเว บ ไซ ต์ก็เป็ น ข้อ มูล ที่ เชื่ อ ถื อ ไม่ได้ม าก ม าย
ห ากขาดผู้ใ ห ญ่คอยช่วยกระ ตุ้น ให้ คิด เชื่อมโยง เด็กมีโอกาสรับข้อมูลผิดๆ เห ล่านั้ น
รวมทั้งขาดโอกาสในการฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อีกด้วย
6.มีปัญหาการเขียน องค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เด็กเขียนได้ดี คือ ลาตัวต้องแข็งแรง (ผ่านการเล่น ปีนป่าย)
หัวไห ล่ต้องมั่น คง (ผ่าน การเล่น เช่น กิจกรรมโห น บาร์ ยกของ ลากของ กายบริห าร)
ข้อมือกระดกและมั่นคง รวมทั้งกล้ามเนื้อมือต้องแข็งแรง หากเด็กขาดโอกาสในการออกกาลังกายแล้ว
และการใช้อุปกรณ์ ไฮเทคที่ใช้แค่นิ้ วชี้ (เพื่อกดทัช สกรีน ห รือบางครั้งอาจมีนิ้ วอื่น บ้าง )
แต่แทบไม่ได้ฝึ กฝน ร่างกายส่วน อื่น เลย เด็กจะ มีอง ค์ประ กอบการเขียน ที่ดีได้อย่างไร
นี่ยังไม่นับทักษะที่เด็กต้องสามารถประสาน การทางานระหว่างมือกับตา (Visual-Motor Integration)
น อ ก จ า ก นี้ ห าก ม อ ง ใ น มิ ติ ก า ร เ ขี ย น ร า ย ง า น ใ น เ ด็ ก ที่ เ ข้ า โ ร ง เ รี ย น แ ล้ ว
ปั จ จุ บั น จ ะ พ บ ว่า บ่อ ย ค รั้ ง ที่ เด็ ก ท าร าย ง า น ส่ ง เด็ ก มัก ใ ช้ ก า ร Copy and Paste
แต่ไม่ได้เขียนจากสิ่งที่เรียนรู้มาด้วยตนเอง ซึ่งเป็นทักษะการเขียนที่ต้องฝึกฝน
7.ขาดทักษะในการแก้ปัญหา เด็กจะแก้ปัญหาได้ต้องได้เผชิญอุปสรรค ได้คิด ลงมือทา (ลองผิด-ลองถูก)
จากประสบการณ์ตรงในชีวิตประจาวัน หรือในขณะที่เล่น ซึ่งบ่อยครั้งอาจเรียกว่า “ทักษะชีวิต”
แต่เกมคอมพิวเตอร์ที่เด็กเล่นมักเน้นการต่อสู้ หรือการแก้ปัญหาเพียงบางเรื่อง (เช่น ฝึกมิติสัมพันธ์)
ไ ม่ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ ไ ม่ค ร อ บ ค ลุ ม ร อ บ ด้ า น ข ณ ะ ที่ ก า ร ไ ด้ เ ล่น เป็ น ก ลุ่ ม
เด็กจะได้ฝึกทักษะในการแก้ข้อขัดแย้งเวลาทะเลาะกับเพื่อน การเล่นประดิษฐ์สิ่งของ การเล่นสมมติ
เด็กจะได้โอกาสฝึกแก้ปัญหาตัวอย่างเช่น หากของเล่นเสียจะซ่อมแซมและประยุกต์สิ่งอื่นมาใช้แทนอย่างไร
หากเกิดอุปสรรคในการเล่น จะร่วมกันคิดแก้ปัญหาอย่างไร
8.ขาดความสัมพันธ์กับผู้คน การเล่นอุปกรณ์ไฮเทคเหล่านี้ มักทาให้เด็กอยู่ลาพังเป็ นเวลานานๆ
ขาดโอกาสในการเข้าสู่สังคม ไม่ว่าจะเป็ นสังคมในบ้าน (กับผู้ใหญ่หรือเด็กอื่นในครอบครัว)
หรื อสั ง คมน อกบ้าน (เพื่ อน บ้าน ) ซึ่ ง ทักษ ะ สัง คมไม่ใ ช่สิ่ ง ที่ติด ตัวเด็กมาตั้ง แต่เกิด
แต่เด็กต้องได้ฝึกอยู่ร่วมกับคนอื่น
9.การรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไป เพราะความเร็วของเทคโนโลยี ความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสารกัน
ทาให้เด็กรุ่นใหม่เริ่มรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไป ทุกอย่างในชีวิตต้องเร่งรีบ (ซึ่งไม่รู้ว่าจะรีบไปไหน)
เด็กไม่ได้ฝึกการจัดลาดับความสาคัญของสิ่งต่างๆ ในชีวิต เช่น สิ่งที่ต้องทา สิ่งที่ควรทา สิ่งที่อาจทาเป็นต้น
ซึ่ ง สิ่ ง เห ล่า นี้ เ ป็ น ค ว า ม เ ค รี ย ด ห นึ่ ง ข อ ง เ ด็ ก เพ ร า ะ ข ณ ะ ที่ มี ค ว าม เร่ ง รี บ
ร่างกายมีการหลั่งฮอร์โมนความเครียดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาวได้
10. มี ปั ญ ห า ก า ร น อ น ห น้ า จ อ ข อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นี้ มั ก มี แ ส ง ที่ ส ว่า ง
ซึ่งอาจกระทบต่อการสร้างสารที่จาเป็นต่อการนอน (สารนี้จะสร้างได้ดีเมื่ออยู่ในที่มืด หรือเวลากลางคืน)
รวมถึงเด็กอาจถูกเร้าจนไม่สามารถสงบตนเองลงเพื่อให้นอนหลับได้
11. ผ ล ก ร ะ ท บ อื่ น ที่ ยั ง ไ ม่รู้ อุ ป ก ร ณ์ เห ล่ า นี้ อ า จ มี ค ลื่ น แ ม่เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า
ซึ่ ง ใ น ร ะ ย ะ สั้ น ยั ง ไ ม่ พ บ ว่ า ส่ ง ผ ล เ สี ย ต่ อ ร่ า ง ก า ย ห รื อ ไ ม่
แต่ควรรอดูในระยะยาวกันอีกว่าจะเกิดผลกระทบใดหรือไม่
ที่มา :
รศ.นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล และอ.นพ.บดินทร์ ทรัพย์สมบูรณ์.2013.11ผลกระทบจากเทคโนโลยีที่มีต่อเด็ก.
URL http://www.healthygamer.net/information/article/13867.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
ผลกระทบต่อสังคม
ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน
หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทางาน จนสมาร์ทโฟนกลายเป็นปัจจัยในชีวิตประจาวันของมนุษย์เป็นอย่างที่ 6-7
ที่นอกเหนือจาก อาหาร ที่อยู่เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคของชีวิตประจาวันไปแล้ว นอกเหนือจากนี้แล้ว
ยั ง มี ก ลุ่ ม เ ย า ว ช น ที่ เ ส พ ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ม า ก
จน อาจจะ เรียกว่ากลายเป็ น ยาเสพ ติดช นิ ดห นึ่ ง ที่กลืน กิน ชีวิตประ จาวัน ไปเสี ยแล้ว
สิ่งที่น่ากลัวที่ตามมาสาหรับกลุ่มเยาวชนบางกลุ่มที่เสพติดสมาร์ทโฟน นั่นก็คือคือ เรื่องวุฒิภาวะ
อย่างที่เป็ น ข่าว หรือ โศกน าฏกรรมใน ห น้าหนังสื อพิมพ์ที่เป็ น อยู่ เพ ราะ ฉะ นั้ นเด็กควร
จะได้รับคาชี้แนะจากผู้ปกครองหรือผู้ที่มีวัยวุฒิที่มากกว่าเพื่อเป็นแนวทางในการใช้สมาร์ทโฟนอย่างมีสติ
แ ล ะ ค ว บ คุ ม ก า ร ใ ช้ ส ม า ร์ ท โ ฟ น อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
ไม่เช่นนั้นอาจจะเกิดข่าวล่อล่วงเด็กโดยใช้โซเชียลอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และผลกระทบที่น่ากลัวอีกอย่าง
นั้ น คือ ปั ญ ห าสุ ข ภ าพ ส ายต า สุ ข ภ าพ ท าง จิต แล ะ โรค ที่ ต าม ม าอีก ห ลายโ รคเช่น
สุ ข ภ าพ ท าง ต าเนื่ อง จาก จ้อ ง จ อ ส มาร์ ท โ ฟ น น าน เกิน จาเป็ น อ าจ ท าใ ห้ ป ว ด ต า
สายตาสั้นและปัญหาเรื่องสายตาตามมาอีกมากมาย สุขภาพทางจิตทาเกิดการเผชิญหน้าลดน้อยลง
การหมกมุ่นกับโซเชียลมากเกินจาเป็นจนลืมใส่ใจสิ่งรอบตัว และปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล
สูญเสียการ ใช้ชีวิตประจาวัน โดยไม่สนใจสังคมรอบข้าง หรือที่เรียกว่า โลกส่วนตัวสูง
ซึ่ ง เป็ น จุดเริ่ มต้น ของพ ฤติกรรมที่ก้าวร้าวแข็ง กระ ด้าง ขาด การมีมนุ ษย์สัมพัน ธ์ ที่ ดี
สื่อสารระหว่างบุคคลไม่เป็น และจากผลสารวจเยาวชน ที่ใช้สมาร์ทโฟนตั้งแต่อายุ 6ขวบขึ้นไปมีมากถึง
44 ล้านคน คิดเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรทั้งหมดของประเทศไทย และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ
ที่มา :
Sasiwimon Pichintataree.2015.ยุคสมาร์ทโฟนกับสังคมที่ก้มหน้า.
URL http://www.cyber.itpc.or.th/ยุคสมาร์ทโฟนกับสังคมที.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
พ่อแม่ส่วน ใหญ่ที่ทราบว่าลูกมีอาการติดสมาร์ทโฟน มักแสดงความรู้สึ กโกรธเด็ก
และยังใช้วิธีการเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการห้ามเด็กใช้งานสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต
ห รื อ ยึ ด อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นั้ น เ สี ย
การจัดการแบบนี้ รัง แต่จะเพิ่มปั ญ ห ามากกว่าเป็ น การแก้ไขปั ญ ห าเด็กติดส มาร์ ทโฟ น
เพ ราะ เด็ก จะ รั บรู้ ความนั ยจากก ารก ระ ท าข อง พ่อแ ม่ที่ สื่ อ ว่า เด็ก กาลัง ท าตัวไม่ดี
และทาให้พวกเขาเห็นว่าพ่อแม่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับตน แทนการเป็นฝ่ายให้การสนับสนุน
ดังนั้น หากพ่อแม่พบว่าลูกติดสมาร์ทโฟน ควรให้ความช่วยเหลือด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
 พยายามหากิจกรรมอื่น ให้เด็กทา เพื่อลดการเล่นสมาร์ทโฟน เช่น การวาดภาพ ออกกาลังกาย
กิจกรรมกลางแจ้ง โดยเน้นกิจกรรมที่ได้ขยับร่างกาย
 ก า ห น ด เ ว ล าที่ เด็ ก ส า ม า ร ถ เล่น ส มา ร์ ท โ ฟ น ไ ด้ใ น แ ต่ล ะ วัน ไ ว้ใ ห้ ชั ด เจ น
เพื่อไม่ให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนจนเกินพอดี
 ใช้เวลาอยู่กับครอบครัวเพิ่มขึ้น และอาจตั้งกฎให้เป็นวันปราศจากสมาร์ทโฟนครึ่งวัน
 งดการเล่นสมาร์ทโฟนในระหว่างการรับประทานอาหาร
 ไ ม่ค ว ร อ นุ ญ า ต ใ ห้ เด็ ก เ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต ช่ ว ง ก่อ น เ ข้ า น อ น
แ ล ะ ไ ม่ เ ก็ บ อุ ป ก ร ณ์ ไ ว้ ใ น ห้ อ ง น อ น ข อ ง เ ด็ ก
เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กแอบเล่นสมาร์ทโฟนทั้งก่อนนอนหรือหลังตื่นนอนในทันที
 สุ ด ท้ าย พ่อ แ ม่ค ว ร เป็ น ตัว อ ย่าง ที่ ดี ใ ห้ กับ ลู ก ด้ว ยก ารใ ช้ส มาร์ ท โ ฟ น แ ต่พ อ ดี
หลีกเลี่ยงการเช็คอีเมล์หรือข้อความบนมือถือตลอดเวลาที่ใช้เวลาร่วมกับคนในครอบครัว
ที่มา :
อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน.
URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559)
5.บันทึกย่อผลการสืบค้น
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี เด็กติดส มาร์ ทโฟ น (Children’s Smartphone Addiction) ห มายถึ ง
เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน
ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ
ส าเห ตุ ข อ งปั ญ ห า ส าเห ตุ แ รก คื อ ก ารห ลั่ง ข อ ง ส าร โด ป ามีน ( Dopamine)
ภ า ย ห ลั ง เ ด็ ก ไ ด้ ท า กิ จ ก ร ร ม แ ป ล ก ใ ห ม่นั่ น คื อ ก า ร เ ล่ น ส ม า ร์ ท โ ฟ น
สารที่ว่านี้ จะทาหน้าที่กระตุ้นให้เด็กทาพฤติกรรมเดิมซ้าส่วนสาเหตุที่สองคือ พ่อแม่ของเด็กเอง
เพ ร าะ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ พ่ อ แ ม่คื อ ค น ที่ ท า ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ สั ม ผั ส กับ ส ม า ร์ ท โ ฟ น
จากนั้นพ่อแม่อาจปล่อยให้เด็กเล่นตามลาพัง จนนาไปสู่พฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน
ผล กระทบต่อเด็ก อ้วน -ผอมเกิน ไป เด็กขาดสมาธิไม่สามารถสน ใจจดจ่อ ร่างกาย
ไม่แข็ ง แร ง ปั ญ ห าต่อ ก ารเรี ยน รู้ ผ่าน ก ารมอ ง ปั ญ ห าต่อ การ เรี ยน รู้ผ่าน ก าร ฟั ง
มีปัญหาการเขียน ขาดทักษะในการแก้ปัญหา ขาดความสัมพันธ์กับผู้คน การรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไ
ป มีปัญหาการนอน ผลกระทบอื่นที่ยังไม่รู้
ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สั ง ค ม
ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน
หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทางาน จนสมาร์ทโฟนกลายเป็นปัจจัยในชีวิตประจาวันของมนุษย์
การป้องกันและแก้ไขปัญหา พยายามหากิจกรรมอื่นให้เด็กทา เพื่อลดการเล่นสมาร์ทโฟน
กาหนดเวลาที่เด็กสามารถเล่นสมาร์ทโฟนได้ในแต่ละวันไว้ให้ชัดเจน ใช้เวลาอยู่กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
งดการเล่นสมาร์ทโฟนในระหว่างการรับประทานอาหารไม่ควรอนุญาตให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต
ช่วงก่อนเข้า สุดท้าย พ่อแม่ควรเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับลูก
6.สรุปองค์ความรู้/วิเคราะห์ข้อมูล
จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า ก า ร ใ ช้ ส ม า ร์ ท โ ฟ น นั้ น มี ทั้ ง ข้ อ ดี แ ล ะ ข้ อ เ สี ย
เพียงแต่เราต้องรู้จักเรียนรู้ที่จะใช้สมาร์ทโฟนและโซเชียลมีเดียอย่างถูกต้องและถูกวิธี ไม่ควรติดจนเกินไป
ค ว ร มี ป ฏิ สั ม พั น พ์ กั บ บุ ค ค ล ร อ บ ข้ า ง ม า ก ขึ้ น
และหันมาพูดคุยกับคนอื่นให้มากกว่าการกดบนจอโทรศัพท์เพียงอย่าเดียว บางทีในขณะที่เราก้มหน้า
ก้ ม ห น้ า ก ด โ ท ร ศั พ ท์ แ ล ะ ส น ใ จ ใ น โ ล ก ที่ เ ร า ส ร้ า ง ขึ้ น เ อ ง นั้ น
เราอาจจะ พ ลาดโอกาสดีๆใ น ชี วิตที่เราไม่สามารถย้อน กลับมาคว้ามัน ไว้ได้ก็เป็ น ได้
อย่าให้ใครมามองว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของสังคมก้มหน้า สังคมที่มีแต่คนเสพติดเทคโนโลยี
จัดทาโดย
นายพุฒิพงศ์ ปิยะพันธ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1เลขที่ 8
เสนอ
อาจารย์ นายเศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ย
รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study :IS )
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...Totsaporn Inthanin
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)Pongpan Pairojana
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้ sekzazo
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรnokyoong47
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554thanaetch
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากBallista Pg
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้IctRachanok Songsang
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadกันต์ ตีห้า
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้somdetpittayakom school
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555RMUTT
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการpeepee kullabut
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อน
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554
ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์โครงการประกวดธนาคารขยะรีไซเคิล ปี 2554
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Sealant
SealantSealant
Sealant
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
 
หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 

Viewers also liked

Reiki presentation by Haren Patel
Reiki presentation by Haren PatelReiki presentation by Haren Patel
Reiki presentation by Haren PatelHarenbhai
 
Top 10 Reiki Meditations
Top 10 Reiki MeditationsTop 10 Reiki Meditations
Top 10 Reiki MeditationsReikiRays
 
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-them
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-themReiki symbols-and-innovative-ways-to-use-them
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-themPeggy Harris
 
kundalini reiki
kundalini reikikundalini reiki
kundalini reikiHome
 
Reiki Presentation
Reiki PresentationReiki Presentation
Reiki Presentationamarawebs
 
Reiki Infographics eBook
Reiki Infographics eBookReiki Infographics eBook
Reiki Infographics eBookReikiRays
 
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)Ideacto
 
Better Product Definition with Lean UX and Design Thinking
Better Product Definition with Lean UX and Design ThinkingBetter Product Definition with Lean UX and Design Thinking
Better Product Definition with Lean UX and Design ThinkingJeff Gothelf
 
Reiki 1 2-3
Reiki 1 2-3 Reiki 1 2-3
Reiki 1 2-3 PS Deb
 

Viewers also liked (13)

Reiki
ReikiReiki
Reiki
 
Reiki presentation by Haren Patel
Reiki presentation by Haren PatelReiki presentation by Haren Patel
Reiki presentation by Haren Patel
 
Top 10 Reiki Meditations
Top 10 Reiki MeditationsTop 10 Reiki Meditations
Top 10 Reiki Meditations
 
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-them
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-themReiki symbols-and-innovative-ways-to-use-them
Reiki symbols-and-innovative-ways-to-use-them
 
Introduction to Reiki
Introduction to ReikiIntroduction to Reiki
Introduction to Reiki
 
kundalini reiki
kundalini reikikundalini reiki
kundalini reiki
 
Reiki Presentation
Reiki PresentationReiki Presentation
Reiki Presentation
 
Reiki Presentation
Reiki PresentationReiki Presentation
Reiki Presentation
 
Reiki Infographics eBook
Reiki Infographics eBookReiki Infographics eBook
Reiki Infographics eBook
 
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)
Lean UX vs Design Thinking (lang: ENG)
 
Better Product Definition with Lean UX and Design Thinking
Better Product Definition with Lean UX and Design ThinkingBetter Product Definition with Lean UX and Design Thinking
Better Product Definition with Lean UX and Design Thinking
 
Reiki 1 2-3
Reiki 1 2-3 Reiki 1 2-3
Reiki 1 2-3
 
Design Thinking and Lean UX
Design Thinking and Lean UXDesign Thinking and Lean UX
Design Thinking and Lean UX
 

Similar to ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นเดชฤทธิ์ ทองประภา
 
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟน
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟนบท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟน
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟนView Nudchanad
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าNoTe Tumrong
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดพัน พัน
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์sofia-m15
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์nurul027
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์saleehah053
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อม
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อมปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อม
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อมWanit Sahnguansak
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)1707253417072534
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
บทคความ
บทคความบทคความ
บทคความkasor
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้Kanda Runapongsa Saikaew
 

Similar to ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี (20)

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
 
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟน
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟนบท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟน
บท2 พฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟน
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
3
33
3
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อม
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อมปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อม
ปัญหาในสังคม เรื่อง ท้องไม่พร้อม
 
IS2
IS2IS2
IS2
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทคความ
บทคความบทคความ
บทคความ
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
 

ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี

  • 1. ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี 1.เลือกภาพประกอบปัญหาสังคมในปัจจุบัน 2.ตั้งประเด็น,สถานการณ์,เหตุการณ์,เรื่อวราว ที่นาไปสู่การตั้งคาถาม เ ด็ ก ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ( Children’s Smartphone Addiction) ห ม า ย ถึ ง เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ เป็นต้นว่าเด็กปฏิเสธที่จะทาการบ้าน ถ้าพวกเขาไม่ได้เล่นเกมส์ ห รื อ ดู ค ลิ ป ใ น ยู ทู ป บ น แ ท็ บ เ ล็ ต เ ป็ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ห รื อ เล่นสมาร์ทโฟนอยู่บนเตียงจนเผลอหลับไป เป็นต้น พฤติกรรมเช่น นี้สร้างความหนักใจให้กับพ่อแม่ ทั้งนี้ มีผู้ปกครองหลายครอบครัวยอมควักเงินซื้ออุปกรณ์ไฮเทคจาพวกสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตเพื่อ ต่อยอดการเรียนรู้ของลูก แต่ผลลัพธ์ที่ได้กลายเป็นตรงกันข้ามเด็กหลายคนติดสมาร์ทโฟนกันงอมแงม จนกระทบกับการเรียนและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กอีกด้วย ทั้งนี้ สถาบันที่เชี่ยวชาญทางด้านเด็กของสหรัฐอเมริกาเปิดเผยว่า เด็กทารกจนถึงวัย 2ขวบ ไม่ควรหยิบจับอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ส่วนเด็กอายุ 3 –5 ขวบนั้นให้เล่นได้วันละไม่เกิน 1ชั่วโมง แ ล ะ ใ น วัย ที่ โ ต ก ว่า นั้ น จ น ถึ ง อ า ยุ 18 ปี ค ว ร เ ล่ น แ ค่ วั น ล ะ 2 ชั่ ว โ ม ง แ ต่ จ า ก ข้ อ มู ล ที่ น า เ ส น อ ผ่ า น สื่ อ ส า ธ า ร ณ ะ ไ ด้ ร ะ บุ ว่ า ชั่วโมงการใช้งานอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีของเด็กในสหรัฐฯ และแคนาดาสูงกว่าจานวนที่แนะนาไว้ 4 ถึง 5 เท่า
  • 2. ดังนั้น ปัญห าเด็กติดสมาร์ทโฟนนับวันจะยิ่งปรากฏให้เห็ นมากขึ้นใน สังคมทั่วโลก รวมถึงสั งคมไทยที่มีจาน วน ผู้ใช้งาน ส มาร์ท โฟ น และ แท็บ เล็ตเพิ่ มสู ง ขึ้ น ใ น ทุกๆ ปี พ่ อ แ ม่ จึ ง ไ ม่ ค ว ร ว า ง ใ จ ใ ห้ ลู ก อ ยู่ กั บ ส ม า ร์ ท โ ฟ น เ พี ย ง ล า พั ง ควรดูแลพฤติกรรมการเล่นสมาร์ทโฟนของเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เกิดปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟนในภายหลัง ที่มา : อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน. URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) ประเด็นของปัญหา - ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการใช้เทคโนโลยี - พ่อแม่มีไม่มีเวลาเลี้ยงลูก - พ่อแม่ตามใจลูก 3.ตั้งสมมติฐาน จากเรื่องราวประเด็นปัญหาที่นักเรียนศึกษา - การขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการใช้เทคโนโลยีทาให้เกิดปัญหา เด็กติดเทคโนโลยี - การที่เด็กติดเทคโนโลยีมีผลมาจากพ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก - การที่พ่อแม่ตามใจลูกเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี 4.วางแผนการสืบค้นความรู้ พร้อมบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูล/แหล่งความรู้ ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี เ ด็ ก ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ( Children’s Smartphone Addiction) ห ม า ย ถึ ง เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ เป็นต้นว่าเด็กปฏิเสธที่จะทาการบ้าน ถ้าพวกเขาไม่ได้เล่นเกมส์ ห รื อ ดู ค ลิ ป ใ น ยู ทู ป บ น แ ท็ บ เ ล็ ต เ ป็ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ห รื อ เล่นสมาร์ทโฟนอยู่บนเตียงจนเผลอหลับไป เป็นต้น พฤติกรรมเช่น นี้สร้างความหนักใจให้กับพ่อแม่ ทั้งนี้ มีผู้ปกครองหลายครอบครัวยอมควักเงินซื้ออุปกรณ์ไฮเทคจาพวกสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตเพื่อ ต่อยอดการเรียนรู้ของลูก แต่ผลลัพธ์ที่ได้กลายเป็นตรงกันข้ามเด็กหลายคนติดสมาร์ทโฟนกันงอมแงม จนกระทบกับการเรียนและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กอีกด้วย ทั้งนี้ สถาบันที่เชี่ยวชาญทางด้านเด็กของสหรัฐอเมริกาเปิดเผยว่า เด็กทารกจนถึงวัย 2ขวบ ไม่ควรหยิบจับอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ส่วนเด็กอายุ 3 –5 ขวบนั้นให้เล่นได้วันละไม่เกิน 1ชั่วโมง
  • 3. แ ล ะ ใ น วัย ที่ โ ต ก ว่า นั้ น จ น ถึ ง อ า ยุ 18 ปี ค ว ร เ ล่ น แ ค่ วั น ล ะ 2 ชั่ ว โ ม ง แ ต่ จ า ก ข้ อ มู ล ที่ น า เ ส น อ ผ่ า น สื่ อ ส า ธ า ร ณ ะ ไ ด้ ร ะ บุ ว่ า ชั่วโมงการใช้งานอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีของเด็กในสหรัฐฯ และแคนาดาสูงกว่าจานวนที่แนะนาไว้ 4 ถึง 5 เท่า ดังนั้น ปัญห าเด็กติดสมาร์ทโฟนนับวันจะยิ่งปรากฏให้เห็ นมากขึ้นใน สังคมทั่วโลก รวมถึงสั งคมไทยที่มีจาน วน ผู้ใช้งาน ส มาร์ท โฟ น และ แท็บ เล็ตเพิ่ มสู ง ขึ้ น ใ น ทุกๆ ปี พ่ อ แ ม่ จึ ง ไ ม่ ค ว ร ว า ง ใ จ ใ ห้ ลู ก อ ยู่ กั บ ส ม า ร์ ท โ ฟ น เ พี ย ง ล า พั ง ควรดูแลพฤติกรรมการเล่นสมาร์ทโฟนของเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เกิดปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟนในภายหลัง ที่มา : อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน. URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) สาเหตุของปัญหา เมื่อถามถึงสาเหตุที่เด็กติดสมาร์ทโฟน อาจแบ่งได้เป็น 2 สาเหตุหลัก สาเหตุแรกคือการหลั่งของสารโดปามีน (Dopamine) ภายหลังเด็กได้ทากิจกรรมแปลกใหม่นั่นคือ การเล่น ส ม าร์ ท โฟ น ส ารที่ ว่านี้ จ ะ ท าห น้ าที่ ก ระ ตุ้น ใ ห้ เด็ ก ท าพ ฤ ติ กรร มเดิ มซ้ า ทาให้เกิดวงจรการเล่นสมาร์ทโฟนจนติดเป็นนิสัยขึ้น เพราะเวลาเล่นสมาร์ทโฟน เด็กมีความรู้สึกพึงพอใจ เมื่อเด็กไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ก็มักหงุดหงิดหรือเซื่องซึมได้ ส่ ว น ส า เ ห ตุ ที่ ส อ ง คื อ พ่ อ แ ม่ข อ ง เ ด็ ก เอ ง เพ ร า ะ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ พ่อแม่คือคนที่ทาให้เด็กได้สัมผัสกับสมาร์ทโฟนเป็นครั้งแรกผ่านการเล่นสมาร์ทโฟนของพ่อแม่หรือของเด็ ก จากนั้นพ่อแม่อาจปล่อยให้เด็ก เล่นตามลาพัง หรือไม่มีกาหนดระยะเวลาการเล่นในแต่ละวัน ทาให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนติดต่อเป็นเวลา หลายชั่วโมง จนนาไปสู่พฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนในที่สุด ทั้งนี้ สาเหตุที่พ่อแม่ปล่อยให้ลูกเล่นสมาร์ทโฟนเกินพอดีมักเกิดจาก  ให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนเพื่อให้เด็กหยุดอยู่กับที่  พ่อแม่ไม่มีเวลาให้เด็ก จึงให้สมาร์ทโฟนเป็นของเล่น  พ่อแม่ไม่ทราบถึงอันตรายจากการเล่นสมาร์ทโฟนต่อเนื่องเป็นเวลาหลายชั่วโมง ดังนั้น สาเหตุของเด็กติดสมาร์ทโฟนนอกจากการหลั่งของสารให้ความสุขหรือสารโดปามีนแล้ว ยั ง เ กิ ด จ า ก บุ ค ค ล ใ ก ล้ ตั ว เ ด็ ก ขึ้นอยู่กับการเอาใจใส่ของพ่อแม่ที่จะให้ลูกเล่นสมาร์ทโฟนอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม ที่มา : อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน.
  • 4. URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) ผลกระทบต่อเด็ก 1. อ้ ว น -ผ อ ม เ กิ น ไ ป และเป็ นเด็กกินยาก เด็กที่จมจ่อมอยู่กับอุปกรณ์ไฮเทคอาจประสบกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งที่ว่ามา เ ด็ ก ที่ อ้ ว น เ กิ น ไ ป มั ก เ ป็ น เ พ ร า ะ เ ด็ ก ไ ม่ ไ ด้ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ร ว ม ทั้ ง พ่ อ แ ม่ห รื อ พี่ เ ลี้ ย ง อ า จ ฉ ว ย จั ง ห ว ะ นี้ ป้ อ น อ า ห า ร เด็ ก ไ ป ด้ ว ย (ทาให้ได้อาหารมากเกินตามความต้องการของเด็ก) 2. เ ด็ ก ข า ด ส ม า ธิ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส น ใ จ จ ด จ่ อ ซ น อ ยู่ ไ ม่ นิ่ ง ไม่ใช่แค่เด็กเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากเทคโนโลยีที่ทาให้มีอาการเหมือนเป็นเด็กซนสมาธิสั้น แต่ EdwardHallowellจิตแพทย์ชาวอเมริกัน พบว่าผู้ใหญ่ที่ใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปมีอาการหงุดหงิดง่าย ไม่อด ท น รอ คอ ย ไม่ได้ แ ล ะ ว อ กแ วก เป็ น เพ ราะ จอ ข อ ง โท รทัศ น์ ส มาร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห น้ า จ อ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ขณะเดียวกันเมื่อสืบค้นอะไรจากอินเตอร์เนตมักจะรวดเร็วทันใจ ไม่ต้องรอคอยเหมือนแต่ก่อน สมองของเด็กจะจดจาความรวดเร็วเหล่านี้ ทาให้เมื่อต้องเผชิญกับชีวิตจริงจึงไม่จดจ่อ รอไม่ไหว คอยไม่เป็น 3. ร่าง กายไม่แข็ง แรง ไม่คล่อง แคล่วว่อง ไว ร่าง กายไม่ยืดหยุ่น ทักษะ กล้ามเนื้ อต่าง ๆ เหล่านี้จะเกิดได้ต้องอาศัยการปีนป่าย ไล่จับ วิ่งเปี้ ยว งูกินหาง ตบแผะ ตั้งเต คือไปเล่น ออกกาลังกาย แ ต่ ปั จ จุ บั น เ ด็ ก ห ล า ย ค น ไ ม่ รู้ จั ก ก า ร เ ล่ น แ บ บ นี้ แ ล้ ว การออกกายบริหารคือวิธีลัดที่ช่วยส่งเสริมการประสานสัมพันธ์ของร่างกาย 2ด้าน ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น ก า ร ใ ช้ ส ม อ ง 2 ซี ก ท า ง า น ร่ ว ม กั น ( Bilateral Integration) อันเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาสมองขั้นสูง การใช้เวลากับอุปกรณ์ไฮเทค เด็กขาดโอกาสเล่นกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและ การเรียนรู้ ทาให้ร่างกายที่ไม่แข็งแรง ไม่คล่องแคล่ว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโรคอ้วน และอาจพัฒนาเป็น โรคเรื้อรังต่างๆ เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้ 4. ปั ญ ห า ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น ก า ร ม อ ง เ ป็ น ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด เ จ น หมอพบว่าเด็กหลายคนไม่ชอบมองของเล่น คน หรือสิ่งต่างๆ แต่กลับสนใจมองแต่แสงที่จ้าเช่น แสงไฟ
  • 5. แสงจากหน้าจอ เด็กหลายคนที่มาปรึกษาด้วยปัญหาพัฒนา เมื่อประเมินแล้วพบว่าเด็กตาลอย เพราะขาดสมาธิในการมอง ไม่สามารถมองตาม หรือ ไม่เข้าใจภาพที่เห็นหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น เ พ ร า ะ เ ค ย ชิ น กั บ ภ า พ จ า ก ห น้ า จ อ ที่ เ ป็ น 2 มิ ติ มี สี สั น ฉู ด ฉ า ด ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางสติปัญญาที่เด็กต้องได้เรียนรู้จากของจริงที่เป็ น 3 มิติเสียก่อน เพื่ อ ใ น ระ ยะ ย าว เด็ กต้อ ง น าไป ใ ช้เมื่อ โต ขึ้ น ต้อ ง อ่าน ต้อ ง เขี ยน ต้อ ง ล ง มือ ท า นอกจากนี้ยังพบปัญหาทางสายตามากขึ้นในเด็กที่เพ่งมองอุปกรณ์นี้ เช่น สายตาสั้น สายตาเอียง เป็นต้น 5.ปัญหาต่อการเรียนรู้ผ่านการฟัง พัฒนาการทางภาษา เช่น เด็กพูดช้า หรือความเข้าใจภาษาชั้นสูง (LanguageComprehension) ไม่ได้ถูกฝึกฝน มีทั้งฟังแล้วจาไม่ได้ฟังแล้วคิดตามไม่ได้ เป็นอีกปัญหาหนึ่ง ที่หมอพบมากการเรียนรู้ด้านภาษาล้วนต้องผ่านการเล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์ทั้งกับผู้ใหญ่หรือเด็กด้วยกัน เช่น เกมจาชื่อสัตว์เกม “อะไรเอ่ย”กิจกรรมที่ลงมือทาด้วยกันที่ช่วยให้เด็กเข้าใจลาดับเหตุการณ์ (Sequencing) การเชื่อมโยงเหตุและผล (อาจผ่านการเล่านิทาน การแก้ปัญหาในชีวิตจริง) เราพบว่าหากเป็นเด็กที่อ่าน ได้แ ล้ว บ าง ค รั้ ง ก ารอ่าน ข้อ มูล จ ากเว บ ไซ ต์ก็เป็ น ข้อ มูล ที่ เชื่ อ ถื อ ไม่ได้ม าก ม าย ห ากขาดผู้ใ ห ญ่คอยช่วยกระ ตุ้น ให้ คิด เชื่อมโยง เด็กมีโอกาสรับข้อมูลผิดๆ เห ล่านั้ น รวมทั้งขาดโอกาสในการฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อีกด้วย 6.มีปัญหาการเขียน องค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เด็กเขียนได้ดี คือ ลาตัวต้องแข็งแรง (ผ่านการเล่น ปีนป่าย) หัวไห ล่ต้องมั่น คง (ผ่าน การเล่น เช่น กิจกรรมโห น บาร์ ยกของ ลากของ กายบริห าร) ข้อมือกระดกและมั่นคง รวมทั้งกล้ามเนื้อมือต้องแข็งแรง หากเด็กขาดโอกาสในการออกกาลังกายแล้ว และการใช้อุปกรณ์ ไฮเทคที่ใช้แค่นิ้ วชี้ (เพื่อกดทัช สกรีน ห รือบางครั้งอาจมีนิ้ วอื่น บ้าง ) แต่แทบไม่ได้ฝึ กฝน ร่างกายส่วน อื่น เลย เด็กจะ มีอง ค์ประ กอบการเขียน ที่ดีได้อย่างไร นี่ยังไม่นับทักษะที่เด็กต้องสามารถประสาน การทางานระหว่างมือกับตา (Visual-Motor Integration) น อ ก จ า ก นี้ ห าก ม อ ง ใ น มิ ติ ก า ร เ ขี ย น ร า ย ง า น ใ น เ ด็ ก ที่ เ ข้ า โ ร ง เ รี ย น แ ล้ ว ปั จ จุ บั น จ ะ พ บ ว่า บ่อ ย ค รั้ ง ที่ เด็ ก ท าร าย ง า น ส่ ง เด็ ก มัก ใ ช้ ก า ร Copy and Paste แต่ไม่ได้เขียนจากสิ่งที่เรียนรู้มาด้วยตนเอง ซึ่งเป็นทักษะการเขียนที่ต้องฝึกฝน 7.ขาดทักษะในการแก้ปัญหา เด็กจะแก้ปัญหาได้ต้องได้เผชิญอุปสรรค ได้คิด ลงมือทา (ลองผิด-ลองถูก) จากประสบการณ์ตรงในชีวิตประจาวัน หรือในขณะที่เล่น ซึ่งบ่อยครั้งอาจเรียกว่า “ทักษะชีวิต” แต่เกมคอมพิวเตอร์ที่เด็กเล่นมักเน้นการต่อสู้ หรือการแก้ปัญหาเพียงบางเรื่อง (เช่น ฝึกมิติสัมพันธ์) ไ ม่ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ ไ ม่ค ร อ บ ค ลุ ม ร อ บ ด้ า น ข ณ ะ ที่ ก า ร ไ ด้ เ ล่น เป็ น ก ลุ่ ม เด็กจะได้ฝึกทักษะในการแก้ข้อขัดแย้งเวลาทะเลาะกับเพื่อน การเล่นประดิษฐ์สิ่งของ การเล่นสมมติ
  • 6. เด็กจะได้โอกาสฝึกแก้ปัญหาตัวอย่างเช่น หากของเล่นเสียจะซ่อมแซมและประยุกต์สิ่งอื่นมาใช้แทนอย่างไร หากเกิดอุปสรรคในการเล่น จะร่วมกันคิดแก้ปัญหาอย่างไร 8.ขาดความสัมพันธ์กับผู้คน การเล่นอุปกรณ์ไฮเทคเหล่านี้ มักทาให้เด็กอยู่ลาพังเป็ นเวลานานๆ ขาดโอกาสในการเข้าสู่สังคม ไม่ว่าจะเป็ นสังคมในบ้าน (กับผู้ใหญ่หรือเด็กอื่นในครอบครัว) หรื อสั ง คมน อกบ้าน (เพื่ อน บ้าน ) ซึ่ ง ทักษ ะ สัง คมไม่ใ ช่สิ่ ง ที่ติด ตัวเด็กมาตั้ง แต่เกิด แต่เด็กต้องได้ฝึกอยู่ร่วมกับคนอื่น 9.การรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไป เพราะความเร็วของเทคโนโลยี ความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสารกัน ทาให้เด็กรุ่นใหม่เริ่มรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไป ทุกอย่างในชีวิตต้องเร่งรีบ (ซึ่งไม่รู้ว่าจะรีบไปไหน) เด็กไม่ได้ฝึกการจัดลาดับความสาคัญของสิ่งต่างๆ ในชีวิต เช่น สิ่งที่ต้องทา สิ่งที่ควรทา สิ่งที่อาจทาเป็นต้น ซึ่ ง สิ่ ง เห ล่า นี้ เ ป็ น ค ว า ม เ ค รี ย ด ห นึ่ ง ข อ ง เ ด็ ก เพ ร า ะ ข ณ ะ ที่ มี ค ว าม เร่ ง รี บ ร่างกายมีการหลั่งฮอร์โมนความเครียดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาวได้ 10. มี ปั ญ ห า ก า ร น อ น ห น้ า จ อ ข อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นี้ มั ก มี แ ส ง ที่ ส ว่า ง ซึ่งอาจกระทบต่อการสร้างสารที่จาเป็นต่อการนอน (สารนี้จะสร้างได้ดีเมื่ออยู่ในที่มืด หรือเวลากลางคืน) รวมถึงเด็กอาจถูกเร้าจนไม่สามารถสงบตนเองลงเพื่อให้นอนหลับได้ 11. ผ ล ก ร ะ ท บ อื่ น ที่ ยั ง ไ ม่รู้ อุ ป ก ร ณ์ เห ล่ า นี้ อ า จ มี ค ลื่ น แ ม่เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า ซึ่ ง ใ น ร ะ ย ะ สั้ น ยั ง ไ ม่ พ บ ว่ า ส่ ง ผ ล เ สี ย ต่ อ ร่ า ง ก า ย ห รื อ ไ ม่ แต่ควรรอดูในระยะยาวกันอีกว่าจะเกิดผลกระทบใดหรือไม่ ที่มา : รศ.นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล และอ.นพ.บดินทร์ ทรัพย์สมบูรณ์.2013.11ผลกระทบจากเทคโนโลยีที่มีต่อเด็ก. URL http://www.healthygamer.net/information/article/13867.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) ผลกระทบต่อสังคม ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทางาน จนสมาร์ทโฟนกลายเป็นปัจจัยในชีวิตประจาวันของมนุษย์เป็นอย่างที่ 6-7 ที่นอกเหนือจาก อาหาร ที่อยู่เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคของชีวิตประจาวันไปแล้ว นอกเหนือจากนี้แล้ว ยั ง มี ก ลุ่ ม เ ย า ว ช น ที่ เ ส พ ติ ด ส ม า ร์ ท โ ฟ น ม า ก
  • 7. จน อาจจะ เรียกว่ากลายเป็ น ยาเสพ ติดช นิ ดห นึ่ ง ที่กลืน กิน ชีวิตประ จาวัน ไปเสี ยแล้ว สิ่งที่น่ากลัวที่ตามมาสาหรับกลุ่มเยาวชนบางกลุ่มที่เสพติดสมาร์ทโฟน นั่นก็คือคือ เรื่องวุฒิภาวะ อย่างที่เป็ น ข่าว หรือ โศกน าฏกรรมใน ห น้าหนังสื อพิมพ์ที่เป็ น อยู่ เพ ราะ ฉะ นั้ นเด็กควร จะได้รับคาชี้แนะจากผู้ปกครองหรือผู้ที่มีวัยวุฒิที่มากกว่าเพื่อเป็นแนวทางในการใช้สมาร์ทโฟนอย่างมีสติ แ ล ะ ค ว บ คุ ม ก า ร ใ ช้ ส ม า ร์ ท โ ฟ น อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ ไม่เช่นนั้นอาจจะเกิดข่าวล่อล่วงเด็กโดยใช้โซเชียลอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และผลกระทบที่น่ากลัวอีกอย่าง นั้ น คือ ปั ญ ห าสุ ข ภ าพ ส ายต า สุ ข ภ าพ ท าง จิต แล ะ โรค ที่ ต าม ม าอีก ห ลายโ รคเช่น สุ ข ภ าพ ท าง ต าเนื่ อง จาก จ้อ ง จ อ ส มาร์ ท โ ฟ น น าน เกิน จาเป็ น อ าจ ท าใ ห้ ป ว ด ต า สายตาสั้นและปัญหาเรื่องสายตาตามมาอีกมากมาย สุขภาพทางจิตทาเกิดการเผชิญหน้าลดน้อยลง การหมกมุ่นกับโซเชียลมากเกินจาเป็นจนลืมใส่ใจสิ่งรอบตัว และปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล สูญเสียการ ใช้ชีวิตประจาวัน โดยไม่สนใจสังคมรอบข้าง หรือที่เรียกว่า โลกส่วนตัวสูง ซึ่ ง เป็ น จุดเริ่ มต้น ของพ ฤติกรรมที่ก้าวร้าวแข็ง กระ ด้าง ขาด การมีมนุ ษย์สัมพัน ธ์ ที่ ดี สื่อสารระหว่างบุคคลไม่เป็น และจากผลสารวจเยาวชน ที่ใช้สมาร์ทโฟนตั้งแต่อายุ 6ขวบขึ้นไปมีมากถึง 44 ล้านคน คิดเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรทั้งหมดของประเทศไทย และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ ที่มา : Sasiwimon Pichintataree.2015.ยุคสมาร์ทโฟนกับสังคมที่ก้มหน้า. URL http://www.cyber.itpc.or.th/ยุคสมาร์ทโฟนกับสังคมที.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) การป้องกันและแก้ไขปัญหา พ่อแม่ส่วน ใหญ่ที่ทราบว่าลูกมีอาการติดสมาร์ทโฟน มักแสดงความรู้สึ กโกรธเด็ก และยังใช้วิธีการเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการห้ามเด็กใช้งานสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ห รื อ ยึ ด อุ ป ก ร ณ์ เ ห ล่ า นั้ น เ สี ย การจัดการแบบนี้ รัง แต่จะเพิ่มปั ญ ห ามากกว่าเป็ น การแก้ไขปั ญ ห าเด็กติดส มาร์ ทโฟ น เพ ราะ เด็ก จะ รั บรู้ ความนั ยจากก ารก ระ ท าข อง พ่อแ ม่ที่ สื่ อ ว่า เด็ก กาลัง ท าตัวไม่ดี และทาให้พวกเขาเห็นว่าพ่อแม่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับตน แทนการเป็นฝ่ายให้การสนับสนุน ดังนั้น หากพ่อแม่พบว่าลูกติดสมาร์ทโฟน ควรให้ความช่วยเหลือด้วยวิธีการดังต่อไปนี้  พยายามหากิจกรรมอื่น ให้เด็กทา เพื่อลดการเล่นสมาร์ทโฟน เช่น การวาดภาพ ออกกาลังกาย กิจกรรมกลางแจ้ง โดยเน้นกิจกรรมที่ได้ขยับร่างกาย
  • 8.  ก า ห น ด เ ว ล าที่ เด็ ก ส า ม า ร ถ เล่น ส มา ร์ ท โ ฟ น ไ ด้ใ น แ ต่ล ะ วัน ไ ว้ใ ห้ ชั ด เจ น เพื่อไม่ให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนจนเกินพอดี  ใช้เวลาอยู่กับครอบครัวเพิ่มขึ้น และอาจตั้งกฎให้เป็นวันปราศจากสมาร์ทโฟนครึ่งวัน  งดการเล่นสมาร์ทโฟนในระหว่างการรับประทานอาหาร  ไ ม่ค ว ร อ นุ ญ า ต ใ ห้ เด็ ก เ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต ช่ ว ง ก่อ น เ ข้ า น อ น แ ล ะ ไ ม่ เ ก็ บ อุ ป ก ร ณ์ ไ ว้ ใ น ห้ อ ง น อ น ข อ ง เ ด็ ก เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กแอบเล่นสมาร์ทโฟนทั้งก่อนนอนหรือหลังตื่นนอนในทันที  สุ ด ท้ าย พ่อ แ ม่ค ว ร เป็ น ตัว อ ย่าง ที่ ดี ใ ห้ กับ ลู ก ด้ว ยก ารใ ช้ส มาร์ ท โ ฟ น แ ต่พ อ ดี หลีกเลี่ยงการเช็คอีเมล์หรือข้อความบนมือถือตลอดเวลาที่ใช้เวลาร่วมกับคนในครอบครัว ที่มา : อรุณรุ่ง ศิริเจริญ.2014.เด็กติดสมาร์ทโฟน. URL http://taamkru.com/th/เด็กติดสมาร์ทโฟน.วันที่สืบค้น (9กันยายน 2559) 5.บันทึกย่อผลการสืบค้น ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี เด็กติดส มาร์ ทโฟ น (Children’s Smartphone Addiction) ห มายถึ ง เด็ ก ที่ ใ ช้ เว ล าเ ล่น ส ม า ร์ ท โ ฟ น ห รื อ แ ท็ บ เ ล็ ต วัน ล ะ ห ล าย ชั่ ว โ ม ง ติ ด ต่อ กัน ส่งผลให้กิจวัตรบางอย่างได้รับผลกระทบ ส าเห ตุ ข อ งปั ญ ห า ส าเห ตุ แ รก คื อ ก ารห ลั่ง ข อ ง ส าร โด ป ามีน ( Dopamine) ภ า ย ห ลั ง เ ด็ ก ไ ด้ ท า กิ จ ก ร ร ม แ ป ล ก ใ ห ม่นั่ น คื อ ก า ร เ ล่ น ส ม า ร์ ท โ ฟ น สารที่ว่านี้ จะทาหน้าที่กระตุ้นให้เด็กทาพฤติกรรมเดิมซ้าส่วนสาเหตุที่สองคือ พ่อแม่ของเด็กเอง เพ ร าะ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ พ่ อ แ ม่คื อ ค น ที่ ท า ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ สั ม ผั ส กับ ส ม า ร์ ท โ ฟ น จากนั้นพ่อแม่อาจปล่อยให้เด็กเล่นตามลาพัง จนนาไปสู่พฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน ผล กระทบต่อเด็ก อ้วน -ผอมเกิน ไป เด็กขาดสมาธิไม่สามารถสน ใจจดจ่อ ร่างกาย ไม่แข็ ง แร ง ปั ญ ห าต่อ ก ารเรี ยน รู้ ผ่าน ก ารมอ ง ปั ญ ห าต่อ การ เรี ยน รู้ผ่าน ก าร ฟั ง มีปัญหาการเขียน ขาดทักษะในการแก้ปัญหา ขาดความสัมพันธ์กับผู้คน การรับรู้มิติแห่งเวลาเปลี่ยนแปลงไ ป มีปัญหาการนอน ผลกระทบอื่นที่ยังไม่รู้
  • 9. ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สั ง ค ม ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทางาน จนสมาร์ทโฟนกลายเป็นปัจจัยในชีวิตประจาวันของมนุษย์ การป้องกันและแก้ไขปัญหา พยายามหากิจกรรมอื่นให้เด็กทา เพื่อลดการเล่นสมาร์ทโฟน กาหนดเวลาที่เด็กสามารถเล่นสมาร์ทโฟนได้ในแต่ละวันไว้ให้ชัดเจน ใช้เวลาอยู่กับครอบครัวเพิ่มขึ้น งดการเล่นสมาร์ทโฟนในระหว่างการรับประทานอาหารไม่ควรอนุญาตให้เด็กเล่นสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ช่วงก่อนเข้า สุดท้าย พ่อแม่ควรเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับลูก 6.สรุปองค์ความรู้/วิเคราะห์ข้อมูล จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า ก า ร ใ ช้ ส ม า ร์ ท โ ฟ น นั้ น มี ทั้ ง ข้ อ ดี แ ล ะ ข้ อ เ สี ย เพียงแต่เราต้องรู้จักเรียนรู้ที่จะใช้สมาร์ทโฟนและโซเชียลมีเดียอย่างถูกต้องและถูกวิธี ไม่ควรติดจนเกินไป ค ว ร มี ป ฏิ สั ม พั น พ์ กั บ บุ ค ค ล ร อ บ ข้ า ง ม า ก ขึ้ น และหันมาพูดคุยกับคนอื่นให้มากกว่าการกดบนจอโทรศัพท์เพียงอย่าเดียว บางทีในขณะที่เราก้มหน้า ก้ ม ห น้ า ก ด โ ท ร ศั พ ท์ แ ล ะ ส น ใ จ ใ น โ ล ก ที่ เ ร า ส ร้ า ง ขึ้ น เ อ ง นั้ น เราอาจจะ พ ลาดโอกาสดีๆใ น ชี วิตที่เราไม่สามารถย้อน กลับมาคว้ามัน ไว้ได้ก็เป็ น ได้ อย่าให้ใครมามองว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของสังคมก้มหน้า สังคมที่มีแต่คนเสพติดเทคโนโลยี จัดทาโดย
  • 10. นายพุฒิพงศ์ ปิยะพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1เลขที่ 8 เสนอ อาจารย์ นายเศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ย รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study :IS ) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี