SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่ น
บทที่1 ภาพรวม
หน่วยของภาษา
1. ประโยค (文 : bun)
คือ ภาษาที่สื่อสารความคิดหรือเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง โดยจะจบประโยคด้วยเครื่องหมาย 。(句点 kuten)
2. กลุ่มคา หรือวลี (文節 : bunsetsu)
คือ สิ่งที่เกิดจากการตัดแบ่งประโยคออกเป็นกลุ่มคาที่เล็กที่สุด โดยไม่ให้สูญเสียความหมาย
เช่น watashi wa taijin desu ประกอบด้วยกลุ่มคา 2 กลุ่ม คือ 「watashi wa」 และ「taijin desu」
3. คาศัพท์ (単語 : tango)
คือ หน่วยที่เล็กที่สุดจากการตัดแบ่งกลุ่มคาออกเป็นคาๆ เช่น 「watashi」, 「wa」, 「taijin」 และ 「desu」
4. บทความ(文章 : bunshou)
คือ การนาประโยคหลายประโยคมาเรียงต่อกัน เพื่อสื่อสารให้ได้เนื่้อหาใจความสมบูรณ์
5. ย่อหน้า (段落 : danraku)
คือการตัดแบ่งบทความออกเป็นช่วงๆ ตามเนื้อหาใจความโดยแต่ละย่อหน้าจะเริ่มด้วยการเว้นวรรค 1 ตัวอักษร
หน้าที่ของกลุ่มคา
แบ่งตามโครงสร้างในประโยคได้เป็น 5 ประเภท คือ
1. ประธาน (主語 : shugo)
คือส่วนที่บอกว่า "ใคร" "อะไร" เป็นต้น
2. ภาคแสดง (述語 : jutsugo)
คือส่วนที่บอกว่า "เป็นอะไร" "แบบไหน" "ทาอะไร" เป็นต้น
3. คาขยาย (修飾語 : shuushokugo)
คือส่วนที่ทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาอื่นในประโยคให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น
4. คาเชื่อม (接続語 : setsuzokugo)
คือกลุ่มคาเพื่อเชื่อมประโยคหรือกลุ่มคาด้วยกันเอง
5. คาอิสระ (独立語 : dokuritsugo)
คือกลุ่มคาที่เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคาอื่นในประโยค เช่น คาอุทาน คาเรียกขาน คาตอบรับ เป็นต้น
หรือแบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคาด้วยกันเองได้เป็น 6 ประเภทคือ
1. กลุ่มคาทาหน้าที่เป็น ประธาน กับ ภาคแสดง
เพื่อบอกว่า "ใคร" "ทาอะไร" หรือ "อะไร" "เป็นแบบไหน" เช่น
私は学校に通います。
Watashi wa gakkou ni kayoimasu
ฉัน ไป โรงเรียน
2. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็น ส่วนขยาย กับ ส่วนที่ถูกขยาย
โดยกลุ่มคาที่อยู่ข้างหน้าจะทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาที่ตามหลังมา เช่น
私は学校に楽しく 通います。
Watashi wa gakkou ni tanoshiku kayoimasu
ฉัน ไป โรงเรียน อย่างสนุกสนาน
3. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เชื่อมกลุ่มคาด้วยกันเอง เช่น
私は勉強したいので学校に通います。
Watashi wa benkyou shitai node gakkou ni kayoimasu
ฉัน ไป โรงเรียน เพราะอยากเรียนหนังสือ
4. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็นกลุ่มคาอิสระ
คือจะวางสลับที่กันได้โดยไม่ทาให้ความหมายของประโยคเปลี่ยนแปลงไป เช่น
私は会話をしたり 勉強をしたいので学校に通います。
Watashi wa kaiwa o shitari benkyou o shitai node gakkou ni kayoimasu
ฉันไปโรงเรียน เพราะอยากเรียนหนังสือ และอยากพูดคุย
5. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่สนับสนุน
โดยกลุ่มคาที่อยู่ด้านหลังจะทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาที่อยู่ข้างหน้า เพื่อรวมเป็นความหมายเดียวกันเช่น
私は学校に通って います。
Watashi wa gakkou ni kayotte imasu
ฉัน กาลัง ไป โรงเรียน
6. ทาหน้าที่เป็นกลุ่มคาอิสระในประโยค เช่น
はい、私は学校に通います。
Hai, watashi wa gakkou ni kayoimasu
ใช่ ฉันไปโรงเรียน
ซึ่งกลุ่มคาทั้ง 6 ประเภทข้างต้น อาจรวมอยู่ในประโยคเดียวกันก็ได้ เช่น
はい、私は 会話をしたり 勉強をしたいので 学校に 楽しく 通って います。
Hai, watashi wa kaiwa o shitari benkyou o shitai node gakkou ni tanoshiku kayotte imasu
ใช่ ฉัน กาลัง ไป โรงเรียน อย่างสนุกสนาน เพราะอยากเรียนหนังสือ และอยากพูดคุย
ประเภทของประโยค
แบ่งตามความหมายได้เป็น4 ประเภท คือ
1. ประโยคบอกเล่า (平叙文 : heijobun)
2. ประโยคคาถาม (疑問文 : gimonbun)
3. ประโยคอุทาน (感動文 : kandoubun)
4. ประโยคคาสั่ง (命令文 : meireibun)
หรือแบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. ประโยคความเดียว(単文 : tanbun)
คือ ประโยคที่มีประธานและภาคแสดงอย่างละ 1 ชนิดเท่านั้น เช่น
私の先生は田中さんです
Watashi no sensei wa Tanakasan desu
อาจารย์ของฉันคือคุณทานากะ
2. ประโยคผสม (重文 : juubun)
คือ ประโยคที่มี 2 ประโยคแยกกันอยู่อย่างอิสระในประโยคเดียวกัน ซึ่งแม้จะตัดแบ่งออกเป็นประโยคความเดียว 2 ประโยค
ก็ไม่ทาให้ความหมายโดยรวมเปลี่ยนแปลงไปเช่น
田中さんが立ち、ソムチャイさんが座る
Tanakasan ga tachi, Somuchai san ga suwaru
คุณทานากะยืนคุณสมชายนั่ง
3. ประโยคซ้อน (複文 : fukubun)
คือ ประโยคที่มีภาคแสดงอยู่ในกลุ่มคาขยาย จึงทาให้ประโยคนั้นมีภาคแสดงซ้อนกันอยู่ในประโยคเดียวกัน เช่น
子供を背負った田中さんが走る
Kodomo o seotta tanaka san ga hashiru
คุณทานากะ (ซึ่ง)แบกลูกอยู่บนหลัง วิ่ง
ประเภทของคา
สามารถแบ่งได้ 2 วิธีคือ
วิธีที่หนึ่ง แบ่งตามโครงสร้างของกลุ่มคา
1. คาอิสระ (自立語 : jiritsugo)
คือ คาที่มีความหมายในตัวเองสามารถสร้างเป็นกลุ่มคาได้
2. คาพ่วง (付属語 : fuzokugo)
คือ คามีไม่มีความหมายในตัวเองต้องใช้พ่วงต่อท้ายคาอิสระจึงจะเกิดเป็นกลุ่มคา เช่น は、が、に เป็นต้น
วิธีที่สอง แบ่งตามโครงสร้างของประโยค
1. คาหลัก (体言 : taigen)
คือคาอิสระที่ผันรูปไม่ได้ สามารถนาไปเป็นประธานของประโยคได้ ประกอบด้วยคานาม คาสรรพนาม และตัวเลข โดยมีรากศัพท์มาจากคาว่า
本体の語 (คาที่เป็นตัวหลัก)
2. คาแสดง (用言 : yougen)
คือคาอิสระที่สามารถผันรูปได้ สามารถนาไปเป็นภาคแสดงของประโยคได้ ประกอบด้วยคากริยา และคาคุณศัพท์ทั้งกลุ่มที่ 1 (~い)
และกลุ่มที่ 2 (~な) โดยมีรากศัพท์มาจากคาว่า 作用の語 (คาที่แสดงอาการ)
การผันรูป (活用 : katsuyou)
คาศัพท์บางประเภทสามารถเปลี่ยนรูปแบบได้ แต่บางชนิดเปลี่ยนรูปแบบไม่ได้
เช่น คาว่า "ไป" สามารถผันจากฟอร์มปกติ 行-く (i-ku) เป็นฟอร์มสุภาพ 行-きます (i-kimasu) หรือฟอร์มปฏิเสธ 行-かない (i-
kanai) ได้
แต่คาว่า "私 : ฉัน" ไม่สามารถผันเป็นฟอร์มอื่นได้ เป็นต้น
ชนิดของคา (品詞 : hinshi)
ไวยากรณ์ญี่ปุ่นกาหนดชนิดของคา ตามประเภทของคาและการผันรูป ไว้ 10 ประเภทคือ
ดูตารางHinshi
1. คานาม (名詞 : meishi)
2. คากริยา (動詞 : doushi)
3. คาคุณศัพท์ (形容詞 : keiyoushi)
เป็นคาแสดงรูปร่าง ลักษณะ หรืออาการของคานามว่าเป็นอย่างไร
โดยจะลงท้ายด้วยเสียง~い (-i) เมื่อนาไปขยายหน้าคานาม
4. คากริยาคุณศัพท์ (形容動詞 : keiyoudoushi)
เป็นคาแสดงรูปร่าง ลักษณะ หรืออาการของคานามว่าเป็นอย่างไร เช่นเดียวกับคาคุณศัพท์
แต่จะลงท้ายด้วย ~な (-na) เมื่อนาไปขยายหน้าคานาม
※ ในเว็บไซต์นี้จะเรียกคาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียง い ในข้อ 3 ว่า "คาคุณศัพท์ประเภทที่ 1"
และเรียกคากริยาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียงな ในข้อ 4 ว่า "คาคุณศัพท์ประเภทที่ 2"
5. คาขยายคาหลัก (連体詞 : rentaishi)
ทาหน้าที่ขยายคาหลัก (taigen) เช่น
あらゆる方法 : arayuru houhou : ทุกวิธี หรือ
ある人 : aru hito : ใครคนหนึ่ง เป็นต้น
6. คาวิเศษณ์ (副詞 : fukushi)
ทาหน้าที่ขยายคาแสดง(yogen) เพื่อให้รู้ว่าอาการเกิดขึ้นในสภาพใด เช่น
ゆっくり走る : yukkuri hashiru : วิ่งช้า หรือ
とてもいい : totemo ii : ดีมาก หรือ
決して高くない : kesshite takakunai : ไม่แพงเลย เป็นต้น
7. คาเชื่อม (接続詞 : setsuzokushi)
ทาหน้าที่เชื่อมประโยคหรือกลุ่มคา เช่น
頭が痛いです。しかし、病院に行きません。
Atama ga itai desu. Shikashi byouin ni ikimasen.
(ฉัน)ปวดศีรษะ แต่จะไม่ไปโรงพยาบาล
8. คาอุทาน (感動詞 : kandoushi)
เช่น คาเรียกขาน คาตอบรับ หรือคาอุทานแสดงความรู้สึก เป็นต้น
9. คากริยานุเคราะห์ (助動詞 : jodoushi)
เป็นคาช่วยผันคาแสดง (yougen) มี18 แบบ คือ
れる・られる・せる・させる・ない・ぬ(ん)・う・よう・まい・たい・たがる・た
(だ)・ます・そうだ・らしい・ようだ・だ และ です
10. คาช่วย (助詞 : joshi)
แบ่งเป็น 8 ชนิด คือ
1. คาช่วยสถานะ(格助詞 : kaku joshi)
ทาหน้าที่ขยายคาหลัก (taigen) ว่ามีสถานะเกี่ยวข้องกับคาอื่นในประโยคอย่างไร ประกอบด้วย が、の、を、に、
へ、と、より、から และ で ยกตัวอย่างเช่น
田中さん が 日本人です : Tanaka san ga nihonjin desu : คุณทานากะเป็นคนญี่ปุ่น
→ が ช่วยชี้ว่า 田中さん เป็นภาคประธานของประโยค
田中さんが 水 を 飲みます : Tanaka san ga mizu o nomimasu : คุณทานากะดื่มน้า
→ を ช่วยชี้ว่า お水 เป็นสิ่งที่ถูกกระทา (เป็นกรรมของภาคแสดง)
2. คาช่วยเชื่อม(接続助詞 : setsozoku joshi)
ทาหน้าที่ขยายคาแสดง(yougen) และคากริยานุเคราะห์ (jodoushi)
เพื่อขยายความสัมพันธ์ของวลีที่อยู่ข้างหน้ามีความเกี่ยวข้องกับวลีที่ตามมาด้านหลังอย่างไร
หรือกล่าวคือเป็นคาช่วยเพื่อชี้ความสัมพันธ์ของวลีข้างหน้าและข้างหลัง เช่น ば、と、ても、でも、が、のに、
ので เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
行けば 会える : ikeba aeru : ถ้าไปก็เจอ
行っても会えない : itte mo aenai : ถึงไปก็ไม่เจอ
3. คาช่วยวิเศษณ์ (副助詞 : fukujoshi)
คือทาหน้าที่ขยายความหรือจากัดขอบเขตของคากริยาหรือคุณศัพท์ที่อยู่ด้านหลัง ได้แก่ ばかり、だけ、ほど、くら
い、など เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น
これだけ下さい : kore dake kudasai : ขอแค่นี้
彼ほどできる人はいません : kare hodo dekiru hito wa imasen : ไม่มีใครเก่งเท่าเขา
4. คาช่วยภาคแสดง(係助詞 : kakarijoshi)
ทาหน้าที่ชี้คาที่เกี่ยวข้องกับภาคแสดง เพื่อบรรยายผลกระทบกับคานั้นอย่างไร เช่น การเน้นย้า การกระทาซ้า เป็นต้น ได้แก่ は、
も、こそ、しか、でも และ さえ ยกตัวอย่างเช่น
私も行きます : Watashi mo ikimasu : ฉันก็จะไป
日本は行きません : Nihon wa ikimasen : จะไม่ไปญี่ปุ่น(เน้นญี่ปุ่น)
あなたしか行きません : Anata shika ikimasen : คุณเท่านั้นที่จะไป
5. คาช่วยจบ(終助詞 : shuujoshi)
ใช้จบท้ายประโยคเพื่อแสดงความต้องการหรือความรู้สึก เช่น な、か、の、よ、とも、わ、ぞ เป็นต้น
ยกตัวอย่างเช่น
行くな : iku na : อย่าไป(สั่งห้าม)
行きましょうよ : ikimashou yo : ไปกันเถอะ (ชักชวน)
行くぞ : iku zo : จะไปละ(ยืนยัน)
6. คาช่วยอุทาน (間投助詞 : kantou joshi)
เป็นคาช่วยระหว่างประโยคหรือท้ายวลี เพื่อแสดงอารมณ์ หรือเน้นย้า หรือเล่นเสียง เช่น な、なあ、ね、ねえ、さ
เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น
高いねえ : takai nee : แพงจัง
7. คาช่วยคู่ขนาน (並立助詞 : heiritsu joshi)
เป็นคาช่วยเพื่อเชื่อมคาตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปในลักษณะเท่าเทียมกันซึ่งส่วนใหญ่จะถูกนามาจากคาช่วยสถานะ(kakujoshi)
คาช่วยภาคแสดง(kakari joshi) คาช่วยวิเศษณ์ (fuku joshi) และคาเชื่อม (setsuzokushi) เช่น と、に、か、
や、やら、の、だの เป็นต้น
8. คาช่วยแปลงคาหลัก (準体助詞 : juntai joshi)
ทาหน้าที่แปลงคาศัพท์หรือวลีให้มีสถานะเป็นคาหลัก (taigen) โดยส่วนใหญ่จะเป็นคาช่วยชนิดเดียวกันกับคาช่วยสถานะ
(kakujoshi) ยกตัวอย่างเช่น
私のがありません : watashi no ga arimasen : ของฉันไม่มี
日本に着いてからが心配です : Nihon ni tsuite kara ga shinpai desu :
หลังจากไปถึงญี่ปุ่นแล้วจึงน่าเป็นห่วง
การแปลงชนิดคาศัพท์
คาศัพท์บางประเภทสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเป็นอีกชนิดหนึ่งได้ เช่น คากริยาแปลงรูปเป็นคานาม หรือคาคุณศัพท์แปลงรูปเป็นคานาม เช่น
【คากริยา】 動く : ugoku : เคลื่อนที่ → 【คานาม】 動き : ugoki : การเคลื่อนที่
【คาคุณศัพท์】 高い : takai : สูง→ 【คานาม】 高さ : takasa : ความสูง
【คาคุณศัพท์】 清潔な : seiketsu na : สะอาด → 【คานาม】 清潔さ : seiketsusa : ความสะอาด
คาผสม (複合語 : fukugougo)
เกิดจากการนาคาศัพท์ตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปมารวมกันเพื่อสร้างเป็นคาใหม่ เช่น
町 (machi : หมู่บ้าน) + はずれ (hazure : ห่างจากใจกลาง) → 町はずれ (machihazure : ท้ายบ้าน)
立てる (tateru : ตั้ง) +かける (kakeru : แขวน,พิง) → 立てかける (tatekakeru : ตั้งพิง)
คาที่สร้างจากคาอื่น (派生: 語 haseigo)
คือคาที่เกิดจากการเติมคาหรือเติมเสียงที่ด้านหน้าหรือต่อท้ายคาศัพท์เดิม เพื่อสร้างคาศัพท์ใหม่ เช่น
弱い (yowai : อ่อนแอ) → か弱い (kayowai : แบบบาง บอบบาง)
怒る (okoru : โกรธ โมโห) → 怒りっぽい (okorippoi : ขี้โมโห)
楽しい (tanoshii : สนุกสนาน) → 楽しみ (tanoshimi : ตื่นเต้นคาดหวังกับสิ่งที่จะมาถึง)
คาเลียนเสียง (擬声語 : giseigo หรือ 擬音語 : giongo)
เป็นคาแสดงเสียงร้องของสัตว์ หรือเสียงของสิ่งของต่างๆ เช่น
ワンワン (wanwan) → เสียงร้องของสุนัข
ガタンゴトン (gatan goton) → เสียงรถไฟวิ่ง
ザーザー (zaazaa) → เสียงน้าไหลแรง
คาเลียนอาการ (擬態語 : gitaigo)
เป็นคาที่ถ่ายทอดสภาพหรืออาการให้ออกมาเป็นคาพูด เช่น
ぺらぺら (pera pera) → อาการพูดอย่างคล่องแคล่ว พูดจ้อ
ばらばら (bara bara) → สภาพกระจัดกระจาย
บทที่2 คานาม
คานาม
คือคาอิสระที่ไม่สามารถผันได้ เป็นคาที่ใช้เรียกคน สัตว์สิ่งของต่างๆ สามารถนาไปเป็นประธานของประโยคได้ แบ่งออกเป็น
1. คาสามัญนาม( 普通名詞 : futsu doushi )
เป็นคาใช้เรียกคนสัตว์สิ่งของทั่วไป เช่น
山 (yama : ภูเขา)
川 (kawa : แม่น้า)
人 (hito : คน)
鳥 (tori : นก)
2. คาวิสามัญนาม( 固有名詞 : koyuu meishi )
เป็นคาที่เจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น
富士山 (fujisan : ภูเขาฟูจิ)
東京タワー (tokyou tawaa : หอโตกียว)
3. ตัวเลข จานวน( 数詞 : suushi ・ 数量詞 : suuryoushi )
เพื่อบอกจานวน ปริมาณ หรือลาดับ เช่น
一年 (ichinen : หนึ่งปี)
二つ (futatsu : สองชิ้น)
三位 (san-i : ที่สาม)
いくつ (ikutsu : เท่าไร)
คานามตัวเลขและจานวนแตกต่างจากคานามประเภทอื่น คือสามารถจัดเป็นคาขยายคาแสดง(連用修飾語 : renyou
shuushokugo) คือสามารถใช้กับคาแสดงได้โดยไม่ต้องมีคาช่วย เช่น
漢字を 3つ 書きます
kanji o mitsu kakimasu
เขียน คันจิ 3 ตัว
4. เวลา นามเวลา (時詞 : tokishi ・時名詞 : tokimeishi)
เป็นคานามแสดงเวลา ซึ่งถือเป็นคาขยายคาแสดง (renyou shuushokugo) คือสามารถใช้กับคาแสดงได้โดยไม่ต้องมีคาช่วย เช่น
今 (ima : ขณะนี้)
春 (haru : ฤดูใบไม้ร่วง)
さっき (sakki : เมื่อสักครู่)
5. คานามที่มีแต่รูปฟอร์ม (形式名詞 : keishiki meishi)
เป็นคาที่แทบจะไม่มีความหมายในตัวเองเป็นเพียงการเหลือไว้ตามไวยากรณ์เพื่อใช้คู่กับคาช่วยขยายคานามเท่านั้นเช่น
こと (koto) ため (tame) もの (mono)
ほど (hodo) ころ (koro)
คาเหล่านี้เดิมจะเขียนด้วยคันจิแต่ปัจจุบันโดยทั่วไปจะเขียนด้วยฮิรางานะ ยกตัวอย่างเช่น
手紙を書く こと が苦手です
tegami o kaku koto ga nigate desu
เขียนจดหมายไม่เก่ง
6. คานามที่แปลงรูปมา ( 転成名詞 : tensei meishi )
เป็นคานามที่แปลงมาจากคากริยาหรือคาคุณศัพท์ เช่น
考え (kangae : ความคิด)
近く (chakaku : ที่ใกล้ๆ)
白 (shiro : สีขาว)
คาสรรพนาม (代名詞 : daimeishi)
เป็นคานามชนิดหนึ่ง ทาหน้าที่ใช้แทนคานามในการชี้คน สัตว์ สิ่งของ ประกอบด้วย
1. คาสรรพนามบุคคล ( 人代名詞 : jindaimeishi )
เป็นคาใช้แทนบุคคล เช่น
私 (watashi : ฉัน ผมข้าพเจ้า)
あなた (anata : เธอคุณ)
かれら (karera : เขาเหล่านั้น)
だれ (dare : ใคร)
2. คาสรรพนามบ่งชี้ ( 指示代名詞 : shiji daimeishi )
เพื่อใช้แทนเรื่องราว สิ่งของ สถานที่ และทิศทาง เช่น
これ (kore : อันนี้)
それ (sore : อันนั้น)
あれ (are : อันโน้น)
どれ (dore : อันไหน)
あちら (achira : ทางนั้น)
ประเภท บุรุษที่ 1 บุรุษที่ 2 บุรุษที่ 3 ไม่เจาะจง
ระยะใกล ้ ระยะกลาง ระยะไกล
คาสรรพนามบุคคล watashi
boku
ore
anata
kimi
omae
konokata
koitsu
sonokata
soitsu
anokata
aitsu
kare
donata
doitsu
dare
คาสรรพนามบ่งชี้ สิ่งของ kore sore are dore
สถานที่ koko soko asoko doko
ทิศทาง kochira sochira achira dochira
หน้าที่ของคานาม
1. เป็นประธานของประโยค
ソムチャイさん はタイ人です
Somuchai san wa taijin desu
คุณสมชาย เป็นคนไทย
2. เป็นภาคแสดงในประโยค
その人は ソムチャイさん です
Sono hito wa Somuchai san desu
คนนั้นคือ คุณสมชาย
3. เป็นคาขยายในประโยค
ここは ソムチャイさん の家です
Koko wa Somuchai san no ie desu
ที่นี่คือบ้านของ คุณสมชาย
4. เป็นคาอิสระในประโยค
ソムチャイさん、彼は私の友達です
Somuchai san, kare wa watashi no tomodachi desu
คุณสมชาย เขาเป็นเพื่อนของฉัน
บทที่3 คากริยา
คากริยา
เป็นคาอิสระที่สามารถผันได้ สามารถใช้เป็นคาแสดง (述語 : jutsugo)ในประโยค เพื่อบอกเล่าการกระทา อาการ หรือการมีอยู่
คากริยาในสถานะปกติ จะลงท้ายด้วยเสียง 「ウ : u」 เสมอเช่น
笑う : warau : หัวเราะ
書く : kaku : เขียน
寝る : neru : นอน
ชนิดและหน้าที่ของคากริยา
1. อกรรมกริยา ( 自動詞 : jidoushi )
เป็นคาแสดงกริยาหรือการเคลื่อนไหวที่เกิดผลอยู่ประธานเท่านั้น ไม่ได้ส่งผลบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่น
ดังนั้น ในประโยคจึงจะไม่มีคาช่วย 「を」 ที่เป็นคาช่วยที่ชี้กรรมของประโยค ตัวอย่างเช่น
雨が降る : ame ga furu : ฝนตก
花が咲く : hana ga saku : ดอกไม้บาน
2. สกรรมกริยา ( 他動詞 : tadoushi )
เป็นคาแสดงกริยาที่ไม่ได้ส่งผลไปยังประธาน แต่ผลของกริยาหรือการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้น จะเกิดกับบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่นโดยตรง
หรือเป็นการทาหรือสร้างให้เกิดขึ้น
ตามปกติจะใช้คาช่วย 「を」เพื่อชี้ว่าผลของกริยานั้นเกิดขึ้นกับบุคคลหรือสิ่งของใด เช่น
本を読む : hon o yomu : อ่านหนังสือ
窓を開ける : mado o akeru : เปิดหน้าต่าง
3. กริยาแสดงความเป็นไปได้ ( 可能動詞 : kanoudoushi)
เป็นคากริยาที่ผันรูปเพื่อแสดงความหมายว่าสามารถทา ...ได้
โดยคากริยาที่จะผันเช่นนี้ได้ จะต้องเป็นคากริยาในกลุ่มที่ 1 เท่านั้นซึ่งเมื่อผันเสร็จแล้ว คากริยาที่เกิดขึ้นใหม่จะจัดอยู่ในกลุ่มที่ 2 เช่น
動く : ugoku : เคลื่อนที่ → 動ける : ugokeru : เคลื่อนที่ได้
聞く : kiku : ฟัง → 聞ける : kikeru : ฟังได้
หมายเหตุ : คากริยากลุ่มที่ 1 และ 2 เป็นการจัดกลุ่มตามวิธีการผันคา ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ตอนท้ายของบทนี้
4. กริยาสนับสนุน ( 補助動詞 : hojo doushi หรือ 形式動詞 : keishiki doushi )
มีความหมายของคาเดิมเหลืออยู่น้อยมากใช้เป็นเพียงคาเสริมในประโยคเท่านั้น ใช้ร่วมกับคาว่า ~て หรือ ~で เช่น
私は日本人である : watashi wa nihonjin de aru : ฉันเป็นคนญี่ปุ่น
※ ある เป็นคากริยาแปลว่า มีซึ่งไม่เหลือความหมายเดิมอยู่ในประโยค
風が吹いている : kaze ga fuite iru : ลมกาลังพัด
※ いる เป็นคากริยาแปลว่า อยู่ ซึ่งไม่เหลือความหมายเดิมอยู่ในประโยค
นอกจากนี้ คากริยาบางคาจะใช้แสดงความหมายเพื่อยืนยันหรือแสดงท่าที หรือแสดงความมุ่งมั่นในทากริยานั้น เช่น
ある、いく、いる、おく、くる、みる、もらう
ยกตัวอย่างเช่น
勉強をしておく : benkyou o shite oku : จะเรียนไว้
勉強してみる : benkyou shite miru : จะลองเรียนดู
การผันคากริยา
คากริยาสามารถผันรูป และใช้กับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) เพื่อให้เกิดความหมายใหม่ได้
【คากริยา】 ⇒ 【ผันรูป】 + 【คากริยานุเคราะห์】 ⇒ 【เกิดความหมายใหม่】
คากริยาสามารถผันได้ 6 รูปแบบ ดังนี้
1. ฟอร์มที่ยังไม่เสร็จ ( 未然形 : mizenkei )
เป็นการผันเพื่อให้เกิดความในเชิงปฏิเสธ ให้กระทา หรือชักชวน เป็นต้น โดยใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ
ない、せる、させる、れる、られる、う、よう
2. ฟอร์มที่ตามด้วยคาแสดง (連用形 : renyoukei)
เป็นการผันคากริยาเพื่อใช้นาหน้าคาแสดง (yougen) เพื่อใช้ในการจบท้ายประโยค โดยจะใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ
ます、た、だ
3. ฟอร์มจบ (終止形 : shuushikei)
เป็นต้นศัพท์ก่อนการผัน จึงไม่ต้องใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ จะใช้ในการจบท้ายประโยค และใช้เป็นรูปแบบในพจนานุกรม
4. ฟอร์มที่ตามด้วยคาหลัก (連体形 : rentaikei)
เป็นการผันคากริยาเพื่อใช้นาหน้าคาหลัก (taigen) เช่น
とき
หรือในภาษาเก่าจะผันเพื่อใช้จบประโยค โดยใช้ร่วมกับคาช่วยเกี่ยวเนื่อง (kakarijoshi) คือ
ぞ、なむ、や、か
หรือใช้ร่วมกับคาช่วย คือ
か、ぞ
5. ฟอร์มสมมุติ (仮定形 : kateikei)
เป็นการผันคากริยาให้มีความหมายสมมุติที่เป็นเหตุเป็นผลกับประโยคต่อท้าย โดยจะใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ
ば
6. ฟอร์มคาสั่ง (命令形 : meireikei)
เป็นการผันคากริยาให้มีความหมายเป็นการสั่ง
การผันแบบ 5 ขั้น 1 ขั้น (五段・一段 : godan ichidan)
ในการผันคากริยาให้อยู่ในฟอร์ม 6 แบบข้างต้น สามารถจาแนกคากริยาออกเป็น 5 กลุ่ม ตามวิธีการผัน ดังนี้
1. ผัน 5 ขั้น ( 五段活用 : godan katsuyou )
คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้ 5 เสียง
เช่น คาว่า 行く (iku : ไป) สามารถผันได้ครบทั้ง 5 เสียงคือ เสียงa, i, u, e, o
2. ผัน 1 ขั้น ตัวบน ( 上一段活用 : kami ichidan katsuyou )
คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้เพียง 1 เสียงซึ่งเป็นเสียงi เช่น 見る (mi-ru)
3. ผัน 1 ขั้น ตัวล่าง( 下一段活用 : shimo ichidan katsuyou )
คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้เพียง 1 เสียงซึ่งเป็นเสียงe เช่น 食べる (ta-be-ru)
4. ผันคาพิเศษแถว ka ( カ変活用 : ka hen katsuyou )
ซึ่งมีเพียง1 คาที่ผันในวิธีพิเศษ คือ 来る (kuru : มา)
5. ผันคาพิเศษแถว sa ( サ変活用 : sa hen katsuyou )
ซึ่งมีเพียง1 คาที่ผันในวิธีพิเศษ คือ する (suru : ทา)
ประเภทและตัวอย่างวิธีการผันคากริยา
ประเภท คากริยา ต ้นศัพท์
ฟอร์มในการผัน
Mizen Renyo Shuushi Rentai Katei Meirei
5 ขั้น 読む 読
ま
も
み
ん
む む め め
1 ขั้น ตัวบน 見る ー み み みる みる みれ
みろ
みよ
1 ขั้น ตัวล่าง 食べる 食 べ べ べる べる べれ
べろ
べよ
แถว ka พิเศษ 来る ー こ き くる くる くれ こい
แถว sa พิเศษ する ー
し
せ
さ
し する する すれ
しろ
せよ
การผันแบบ -u verb , -iru / -eru verb
เนื่องจากวิธีการผันคากริยา 6 รูปแบบ (Mizenkei, Renyoukei ....) และการจัดกลุ่มคาแบบ 5 ขั้น 1 ขั้น (Godan ichidan)
ตามหลักไวยากรณ์ญี่ปุ่นที่อธิบายข้างต้น มีความสลับซับซ้อน และยากลาบากในการจดจา
ดังนั้น ในการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นให้กับชาวต่างชาติ ซึ่งใช้อักษรโรมาจิเป็นหลัก (คือเขียนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ) จึงมักใช้วิธีดังนี้
 การจัดกลุ่ม
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. คากริยากลุ่มที่ 1
คือคาที่ลงท้ายด้วยเสียงu แต่ไม่รวมถึงคาที่ลงท้ายด้วยเสียงiru และ eru จัดอยู่ในกลุ่มที่ 2
2. คากริยากลุ่มที่ 2
คือคากริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงiru หรือ eru (เว้นแต่คาบางคาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1)
3. คากริยากลุ่มที่ 3
คือคาที่มีวิธีการผันเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งมีเพียง2 คา คือ 来る (kuru) และ する (suru)
 วิธีการผัน
แบ่งกลุ่มการผัน ตามเสียงและหรือความหมาย เป็น 7 รูปแบบ คือ
1. dic form หรือฟอร์มในรูปพจนานุกรม เช่น
書く (kaku : เขียน)
2. nai form เช่น
書かない (kakanai : ไม่เขียน)
3. masu form เช่น
書きます (kakimasu : เขียน (สุภาพ)) 書きません (kakimasen : ไม่เขียน(สุภาพ))
書きましょう (kakimashou : เขียนกันเถอะ (สุภาพ)) 書きたい (kakitai : อยากเขียน)
4. ta form หรือ te form เช่น
書いた (kaita : เขียนแล้ว(อดีต)) 書いたら (kaitara : ถ้าเขียน)
5. ba form เช่น
書けば (kakeba : ถ้าเขียน) 書けたら (kaketara : ถ้าได้เขียน)
6. form คาสั่ง เช่น
書け (kake : เขียน (คาสั่ง))
7. you form เช่น
書こう (kakou : เขียนกันเถอะ)
dic
form
nai form masu form ta form / te form ba form form
คาสั่ง
you
form
กลุ่
ม
ที่
1
~
う
会う
au
会わない
awanai
会います
aimasu
会った
atta
会って
atte
会えば
aeba
会え
ae
会おう
aou
~
く
書く
kaku
書かない
kakanai
書きます
kakimasu
書いた
kaita
書いて
kaite
書けば
kakeba
書け
kake
書こう
kakou
~
ぐ
泳ぐ
oyogu
泳がない
oyoganai
泳ぎます
oyogimasu
泳いだ
oyoida
泳いで
oyoide
泳げば
oyogeba
泳げ
oyoge
泳ごう
oyogou
~
す
許す
yurus
u
許さない
yurusana
i
許します
yurushimas
u
許した
yurushit
a
許して
yurushit
e
許せば
yuruseb
a
許せ
yurus
e
許そう
yuruso
u
~
つ
立つ
tatsu
立たない
tatanai
立ちます
tachimasu
立った
tatta
立って
tatte
立てば
tateba
立て
tate
立とう
tatou
~
ぬ
死ぬ
shinu
死なない
shinanai
死にます
shinimasu
死んだ
shinda
死んで
shinde
死ねば
shineba
死ね
shine
死のう
shinou
~
ぶ
飛ぶ
tobu
飛ばない
tobanai
飛びます
tobimasu
飛んだ
tonda
飛んで
tonde
飛べば
tobeba
飛べ
tobe
飛ぼう
tobou
~ 読む 読まない 読みます 読んだ 読んで 読めば 読め 読もう
む yomu yomanai yomimasu yonda yonde yomeba yome yomou
~
る
入る
hairu
入らない
hairanai
入ります
hairimasu
入った
haitta
入って
haitte
入れば
haireba
入れ
haire
入ろう
hairou
กลุ่
ม
ที่
2
(い
)
る
見る
miru
見ない
minai
見ます
mimasu
見た
mita
見て
mite
見れば
mireba
見ろ
miro
見よう
miyou
(え
)
る
食べ
る
taberu
食べない
tabenai
食べます
tabemasu
食べた
tabeta
食べて
tabete
食べれ
ば
tabereba
食べ
ろ
tabero
食べよ
う
tabeyo
u
กลุ่
ม
ที่
3
す
る
する
suru
しない
shinai
します
shimasu
した
shita
して
shite
すれば
sureba
しろ
shiro
しよう
shiyou
く
る
くる
kuru
こない
konai
きます
kimasu
きた
kita
きて
kite
これば
koreba
こい
koi
こよう
koyou
※ ข้อยกเว้น คากริยา 行く (いく) ผันในรูป ta form / te form เป็น 行った (いった) และ行って
(いって)ซึ่งต้องแยกจาเป็นพิเศษ
※ การผันคากริยา มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการพูดภาษาญี่ปุ่นที่เป็นสานวนยาวๆหรือในกรณีที่ต้องบ่งบอกความรู้สึก ซึ่งตารางข้างต้นนี้
มีหลักเกณฑ์ในการผันคาที่ค่อนข้างชัดเจน ผู้เรียนจึงควรจดจาหลักเกณฑ์ และฝึกฝนให้สามารถผันคากริยาได้อย่างถูกต้องทุกรูปแบบ
คากริยาที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่อยู่คนละกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
切る (kiru : ตัด) 着る (kiru : สวม)
帰る (kaeru : กลับ) 変える (kaeru : เปลี่ยน)
要る (iru : ต ้องการ) 居る (iru : อยู่)
練る (neru : นวด) 寝る (neru : นอน)
ดังนั้น การผันคากริยาข้างต้น จึงต้องผันให้ถูกต้องตามกลุ่มด้วย เช่น
 要る (iru : ต้องการ) ต้องผันเป็น 要りません (irimasen : ไม่ต้องการ)
 居る (iru : อยู่) ต้องผันเป็น 居ません (imasen : ไม่อยู่)
บทที่4 คาคุณศัพท์
คาคุณศัพท์ และคากริยาคุณศัพท์
คาคุณศัพท์ (形容詞 : keiyoushi) และคากริยาคุณศัพท์ (形容動詞 : keiyoudoushi) เป็นคาอิสระที่สามารถผันได้
ใช้เป็นภาคแสดงเพื่ออธิบายลักษณะหรือสภาพต่างๆ ของประธานหรือคานาม
คาคุณศัพท์จะลงท้ายด้วย い เช่น
美しい : utsukushii : สวย
高い : takai : สูง
寒い : samui : หนาว
ส่วนคากริยาคุณศัพท์จะลงท้ายด้วย な เช่น
きれいな : kirei na : สวย
静かな : shizuka na : เงียบ
清潔な : seiketsu na : สะอาด
※ ในเว็บไซต์นี้จะเรียกคาคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย い ว่า "คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1" และเรียกคากริยาคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย な ว่า "คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2"
การผันคาคุณศัพท์
คาคุณศัพท์สามารถผันในรูปฟอร์มต่างๆได้ดังนี้
กลุ่ม ความหมาย คาคุณศัพท์ ต ้นศัพท์ ฟอร์มในการผัน
mizen renyou shuushi rentai katei meirei
คาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 1
สวย 美しい 美し かろ かっ
く
い い けれ x
สูง 高い 高
คาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 2
สวย きれいな きれい だろう だっ
で
に
だ な なら x
เงียบ 静かな 静か
※ คาคุณศัพท์สามารถผันได้เพียงตามตารางเท่านั้น ไม่สามารถผันในรูปคาสั่งได้
การแปลงเสียงของคาคุณศัพท์
ในการใช้คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 ในประโยคยกย่องหรือถ่อมตน ซึ่งต่อท้ายด้วย 存じます (zonjimasu) หรือ ございます (gozaimasu)
คาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียงい จะถูกแปลงเป็นเสียง う เช่น
ありがたい (arigatai) + ございます (gozaimasu)
⇒ ありがとうございます (arigatou gozaimasu) = ขอบคุณ
寒い (samui) + ございます (gozaimasu)
⇒ 寒うございます (samuu gozaimasu) = หนาว
การใช้คาคุณศัพท์ในกรณีพิเศษ
 คาคุณศัพท์สนับสนุน (補助形容詞 : hojo keiyoushi หรือ 形式形容詞 : keishiki keiyoushi)
เป็นคาคุณศัพท์ที่สูญเสียความหมายเดิมโดยจะทาหน้าที่เสริมในประโยคเท่านั้น เช่น
これは解答でない : kore wa kaitou de nai : นี่ไม่ใช่คาตอบ
=> ない เป็นคาคุณศัพท์สนับสนุน
ここに解答はない : koko ni kaitou wa nai : ที่นี่ไม่มีคาตอบ
=> ない เป็นคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1
※ ない (無い : nai) เป็นคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 แปลว่า "ไม่มี"
 ต้นศัพท์ (語幹 : gokan) ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 สามารถนาไปใช้ในรูปแบบต่างๆได้ เช่น
o ใช้เป็นภาคแสดง
うう、寒 : uu, samu : อูย หนาว
o ต่อท้ายด้วย そうだ เพื่อสื่อว่า ดูท่าที....
非常に寒そうだ : hijou ni samu souda : ดูท่าทีหนาวมาก
o ใช้ซ้อนกัน 2 ครั้งเพื่อแปลงเป็นคาวิเศษณ์
高々と掲げる : takadaka to ageru : ยกสูง
 ต้นศัพท์ (gokan) ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 ถือเป็นคาหลัก (taigen) ที่นาไปเป็นประธานของประโยคได้ เช่น
清潔が一番大事です
Seiketsu ga ichiban daiji desu
ความสะอาดเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด
 คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 สามารถใช้เป็นภาคแสดงด้วยการต่อท้ายด้วย そうだ หรือ です เช่น
それはきれいです
Sore wa kirei desu
นั่นสวย
 คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 สามารถใช้เป็นภาคแสดงด้วยคาเดียวโดดๆได้ เช่น
まあ、きれい
Maa, kirei
โอ้ สวยจัง
บทที่5 คาขยายคาหลัก
คาตามคาหลัก (連体詞 : rentaishi)
เป็นคาอิสระ ที่ไม่มีการผันรูป ทาหน้าที่ใช้กับคาหลัก (体言 : taigen) เพื่อให้กลายเป็นกลุ่มคาขยายคาตามคาหลัก (連体修飾語 : rentai
shuushokugo)
私は あらゆる 本を読みたい
Watashi wa arayuru hon o yomitai
ฉันอยากอ่านหนังสือทั้งหมดทุกอย่าง
⇒ เกิดกลุ่มคาขยายคาตามคาหลัก คือ あらゆる本 : หนังสือทั้งหมดทุกอย่าง
ประเภทและชนิดของคาขยายคาหลัก
ประกอบด้วย
1. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~が (-ga)
เช่น わが (wa ga : ของฉัน, ของพวกเรา) เช่น
わが子 (wa ga ko : ลูกของฉัน)
わが国 (wa ga kuni : ประเทศของเรา)
2. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~た (-ta) หรือ ~だ (-da)
เช่น たいした (taishita : มากยิ่งใหญ่ เกินความคาดคิด)
⇒ 君はたいした人です
Kimi wa taishita hito desu
เธอเป็นคนที่เหนือความคาดคิด
หรือ とんだ (tonda : ไม่ได้คาดคิด โดยไม่ได้ตั้งใจผิดทานองคลองธรรม)
とんだ失敗をしました
Tonda shippai o shimashita
ทาผิดอย่างไม่ได้คาดคิด (หรือไม่ได้ตั้งใจ) (หรืออย่างอุกฉกรรจ์)
3. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~な (-na)
เช่น 大きな (ookina : บริเวณกว้างปริมาณมากสาคัญใหญ่เกินปกติ)
小さな (chiisana : ขนาดเล็ก ปริมาณน้อย คุณค่าน้อย)
おかしな (okashina : อาการผิดปกติ อาการประหลาด)
いろんな (ironna : เรื่องต่างๆ สิ่งต่างๆ)
都会と地方は大きな格差がある
Tokai to chihou wa ookina kakusa ga aru
หัวเมืองกับต่างจังหวัดมีความแตกต่างในปริมาณมาก
4. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~の (-no)
この (kono : นี้) その (sono : นั้น) あの (ano : โน้น) どの (dono : ไหน)
あの子はこの子の友達です
Ano ko wa kono ko no tomodachi desu
เด็กคนนั้นเป็นเพื่อนของเด็กคนนี้
5. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~る (-ru)
ある (aru : เป็นคาขยายคานามโดยไม่เจาะจงให้ชัด)
あらゆる (arayuru : ทั้งหมด)
いわゆる (iwayuru : เรื่องที่กล่าวกันโดยทั่วไป เรื่องที่เรียกกันว่า)
来る (kuru : เรื่องที่กาลังจะมาถึง)
昔々ある村におじいさんとおばあさんがいました
Mukashimukashi aru mura ni ojiisan to obaasan ga imashita
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีตาและยายอยู่ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่ง
私は来る一月に結婚します
Watashi wa kuru ichigatsu ni kekkon shimasu
ฉันจะแต่งงานในเดือนมกราคมที่จะมาถึง
ข้อควรระวัง
「これ」「それ」「あれ」「どれ」 : อันนี้ อันนั้น อันโน้น อันไหน
→ เป็นคานาม
「この」「その」「あの」「どの」 : นี้ นั่น โน้น
→ เป็นคาขยายคานาม
私の本はこれです
Watashi no hon wa kore desu
หนังสือของฉันคืออันนี้
私のはこの本です
Watashi no wa kono hon desu
ของฉันคือหนังสือ(เล่ม)นี้
ความแตกต่างของคาขยายคาหลัก กับคาแสดง
คาขยายคาหลัก (rentaigo) แตกต่างกับคาแสดง (yougen) ตามตัวอย่างดังนี้
その街にある本屋で買いました
Sono machi ni aru honya de kaimashita
ฉันซื้อที่ร้านหนังสือที่อยู่ในเมืองนั้น ⇒ 【คากริยา】
その街のある本屋で買いました
Sono machi no aru honya de kaimashita
ฉันซื้อที่ร้านหนังสือแห่งหนึ่งในเมืองนั้น ⇒ 【คาขยายคาหลัก】
私は大きい箱に大切なものを入れました
Watashi wa ookii hako ni taisetsu na mono o iremasita
ฉันใส่ของสาคัญในกล่องใหญ่ ⇒ 【คาคุณศัพท์】
私は大きな箱に大切なものを入れました
Watashi wa ooki na hako ni taisetsu na mono o iremashita
ฉันใส่ของสาคัญในกล่องขนาดใหญ่ ⇒ 【คาขยายคาหลัก】
บทที่6 คาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ (副詞 : fukushi)
เป็นคาอิสระ ไม่สามารถผันได้ส่วนใหญ่มีหน้าที่ใช้กับคาแสดง (yougen) คือคากริยาและคาคุณศัพท์ ซึ่งจะเกิดเป็นคาขยายคาตามคาแสดง(連用修
飾語 : renyou shuushokugo) เช่น
車がゆっくり走ります
kuruma ga yukkuri hashirimasu
รถวิ่งช้า
⇒ ขยายคากริยา
車がもっとゆっくり走ります
kuruma ga motto yukkuri hashirimasu
รถวิ่งช้าลง
⇒ ขยายคาวิเศษณ์
車がもっと前に走ります
kuruma ga motto mae ni hashirimasu
รถวิ่งไปข้างหน้าอีก
⇒ ขยายคาหลัก(taigen)
車がブーンと走ります
kuruma ga buun to hashirimasu
รถวิ่งบรื้น
⇒ คาเลียนเสียง
車がすっと走ります
kuruma ga sutto hashirimasu
รถวิ่งปรู้ด
⇒ คาเลียนอาการ
ชนิดของคาวิเศษณ์
1. แสดงการเคลื่อนไหวหรืออาการ
のんびり歩きます
nonbiri arukimasu
เดินเอื่อยๆ
※ คาเลียนเสียงและคาเลียนแบบก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ด้วย
2. แสดงปริมาณ คุณลัษณะหรือสภาพ
とてもいい成績です
totemo ii seiseki desu
ผลการเรียนดีมาก
3. บอกกล่าวเล่าเรื่อง เพื่อชี้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะมีท่วงทานองอย่างไร (ปกติจะใช้คู่กับคาอื่นเป็นชุด)
おそらく彼はここに来るでしょう
osoraku kare wa koko ni kuru deshou
เขาคงมาที่นี่แน่ๆ
ความหมาย คาวิเศษณ์ คาที่ใช ้คู่กัน
คาดคะเน おそらく
きっと
でしょう
หักล ้าง けっして
少しも
ありません
มุ่งหวัง ぜひ
どうか
~たいです
ほしい
สงสัย なぜ
どうして
か
หักล ้างการคาดคะเน まさか
よもや
まい
ないでしょう
เปรียบเทียบ まるで
ちょうど
ようです
ตั้งสมมุติฐาน もし
万一
ても
ば
なら
たら
บทที่7 คาเชื่อม
คาเชื่อม (接続詞 : setsuzokushi)
เป็นคาอิสระ ผันไม่ได้ ทาหน้าที่เชื่อมประโยคหรือกลุ่มคาเข้าด้วยกัน
ประเภทและหน้าที่ของคาเชื่อม
1. ความหมายสอดคล้องกัน (順接 : junsetsu)
ทาหน้าที่ชี้เรื่องที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยเรื่องแรกจะเป็นเหตุ ส่วนเรื่องหลังจะเป็นผลที่เกิดขึ้นตามมา
เช่น それで、 だから、 そこで、 したがって、 すると
彼は一生懸命勉強しました。だから、いい点数でした。
kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. dakara, ii tensuu deshita
เขาตั้งใจเรียน จึงคะแนนดี
2. ขัดแย้งกัน (逆説 : gyakusetsu)
ทาหน้าที่ชี้เรื่องที่ขัดแย้งกัน
ได้แก่ คาว่า けれども、 しかし、 だが、 でも、 ところが
彼は一生懸命勉強しました。しかし、悪い点数でした。
kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. shikashi, warui tensuu deshita
เขาตั้งใจเรียน แต่คะแนนไม่ดี
3. เพิ่มน้าหนัก (累加 : ruika หรือ 添加 : tenka)
ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักให้หนักแน่นยิ่งขึ้น โดยเรื่องหลังจะทาหน้าที่เพิ่มเติมน้าหนักให้กับเรื่องแรก
ได้แก่ คาว่า さらに、 しかも、 そのうえ、 それに、 なお
彼は一生懸命勉強しました。さらに、家の手伝いもしました。
kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. sara ni, ie no tetsudai mo shimashita
เขาตั้งใจเรียน และ(ยัง)ช่วยงานบ้านด้วย
4. แยกอิสระ (並立 : heiritsu หรือ 並列 : heiretsu)
ทาหน้าที่ชี้ว่าเรื่องแรกและเรื่องหลังเป็นเอกเทศต่อกัน
ได้แก่ คาว่า また、 ならびに、 および
彼は勉強家であり、また、スポーツマンでもある。
kare wa benkyouka de ari, mata, supootsuman de mo aru
เขาเป็นคนขยันเรียนและก็ยังเป็นนักกีฬา
5. เปรียบเทียบหรือให้เลือก (対比 : taihi หรือ 選択 : sentaku)
ทาหน้าที่เปรียบเทียบหรือให้เลือกระหว่างเรื่องแรกกับเรื่องหลัง
ได้แก่ คาว่า あるいは、 それとも、 または、 もしくは
バス、または電車で行きます。
basu, mata wa densha de ikimasu
จะไปโดยรถเมล์หรือรถไฟ
6. อธิบายเสริม(説明 : setsumei หรือ 補足 : hosoku)
ทาหน้าที่อธิบายเสริม โดยเรื่องหลังจะเป็นสิ่งที่อธิบายหรือเสริมเรื่องแรก
ได้แก่ คาว่า つまり、 なぜなら、 すなわち
彼はいい点数をとりました。なぜなら、一生懸命勉強したからです。
kare wa ii tensuu o torimashita. nazenara, isshoukenmei benkyou shita kara desu.
เขาได้คะแนนดีเนื่องจากตั้งใจเรียน
7. เปลี่ยนเรื่อง (転換 : tenkan)
เป็นการเปลี่ยนเรื่องที่กาลังพูด
ได้แก่ คาว่า ところで、 さて、 では、 ときに
さて、今度は何を勉強しましょうか
Sate, kondo wa nani o benkyou shimashou ka
เอาละ ครั้งนี้จะเรียนอะไรกันดี
บทที่8 คาอุทาน
คาอุทาน (感動詞 : kandoushi)
เป็นคาอิสระ ผันไม่ได้ เป็นคาเกี่ยวกับคาอุทาน คาเรียกขาน และคาขานรับ เป็นต้น
ประเภทของคาอุทาน
คาอุทาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. คาแสดงอารมณ์ (感動 : kandou)
เป็นคาสาหรับแสดงอารมณ์ของผู้พูด เช่น
 あ (a) แสดงอาการนึกขึ้นได้
 ああ (aa) แสดงความรู้สึกสะเทือนใจหรือแปลกใจอย่างลึกซึ้ง
 あら (ara) แสดงความแปลกใจ หรือประทับใจ ส่วนใหญ่เป็นคาพูดของผู้หญิง
 あれ (are) แสดงอาการประหลาดใจ ประทับใจ หรือประหลาดใจ
 えっ (et) แสดงอาการประหลาดใจ หรือสงสัย
 おっ (ot) แสดงอาการประหลาดใจ หรือนึกขึ้นได้ในฉับพลัน
 おお (oo) แสดงอาการประทับใจ ประหลาดใจสงสัย หรือนึกขึ้นได้ในฉับพลัน
 ほら (hora)แสดงอาการกระตุ้นเตือน หรือเรียกความสนใจ
 まあ (maa) แสดงความตกใจหรือแปลกใจ
 やあ (yaa) แสดงอาการตกใจ หรือไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน
 やれやれ (yareyare) แสดงอาการอ่อนใจภายหลังปฏิบัติเรื่องที่ลาบากได้สาเร็จ หรืออ่อนใจจากการประสบเรื่องที่ลาบาก
หรือแสดงความเห็นใจความทุกข์ร้อนของผู้อื่น
2. คาเรียกหา (呼び掛け : yobigoe)
เป็นคาสาหรับเรียกหาฝ่ายตรงข้าม เช่น
 おい (oi) เป็นคาเรียกขานเพื่อเรียกความสนใจระหว่างเพื่อน หรือบุคคลที่อาวุโสน้อยกว่า ปกติเป็นคาสาหรับผู้ชาย
 こら (kora) เป็นคาเรียกขานในอาการรุนแรง ด้วยความโกรธหรือสั่งเตือน
 これ (kore) เป็นคาเรียกขานผู้ที่อาวุโสน้อยกว่า
 さあ (saa) เป็นคาเรียกขานเพื่อชักชวน
 そら (sora) เป็นคาเรียกขานเพื่อกระตุ้นเตือน
 それ (sore) เป็นคาเรียกขานเพื่อกระตุ้นเตือน
 ちょっと (chotto) เป็นคาเรียกขานโดยไม่ได้ให้เกียรติ
 ね (ne) หรือ ねえ(nee) เป็นคาเรียกขานแสดงความสนิทสนม หรือเพื่อเป็นการย้า
 もし (moshi) เป็นคาเรียกขานฝ่ายตรงข้าม
 もしもし (moshimoshi) เป็นคาเรียกขานฝ่ายตรงข้าม หรือเป็นคาพูดในการตอบรับโทรศัพท์
 やあ (yaa) เป็นคาเรียกขานบุคคลที่เจอโดยไม่ได้ตั้งใจ
 やい (yai) เป็นคาเรียกขานเพื่อเรียกร้องความสนใจจากฝ่ายตรงข้าม
3. คาขานรับ (応答 : outou)
เป็นคาสาหรับการตอบขานรับให้แก่ฝ่ายตรงข้าม
 ああ (aa) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย
 いいえ (iie) เป็นคาแสดงการปฏิเสธอย่างสุภาพ
 いや (iya) เป็นคาแสดงการปฏิเสธ
 うん (un) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย
 ええ (ee) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย
 さあ (saa) เป็นคากล่าวตอบในเชิงปฏิเสธที่จะให้คาตอบ หรือแสดงความไม่แน่ใจ
 はい (hai) เป็นคาตอบรับอย่างสุภาพเพื่อแสดงความเห็นด้วย
4. คาทักทาย (挨拶 : aisatsu)
เป็นคาสาหรับทักทายฝ่ายตรงข้าม
 おはよう (ohayou) เป็นคาทักทายตอนเช้า
 こんにちは (konnichiwa) เป็นคาทักทายตอนกลางวัน
 こんばんは (konbanwa) เป็นคาทักทายตอนเย็นหรือค่า
 さようなら (sayounara) เป็นคาอาลา
5. คาให้เสียง(掛け声 : kakegoe)
เป็นคาสาหรับเรียกแก่คู่สนทนาหรือฝ่ายตรงข้าม เพื่อสร้างจังหวะ แรงกระตุ้น หรืออื่นๆ
 えい (ei) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลังหรือความกล้า ในการตัดสินใจที่จะกระทาการใด
 そら (sora) เป็นคาเรียกสมาธิหรือความระมัดระวัง
 どっこい (dokkoi) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลังก่อนจะกระทาการใด
 どっこいしょ (dokkoisho) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลัง เพื่อเคลื่อนไหวร่างกายที่อ่อนล้า
 よいしょ (yoisho) เป็นคาแสดงการรวบรวมพลังในการยกของหนัก หรือก่อนที่จะกระทาการใด
บทที่9 คากริยานุเคราะห์
คากริยานุเคราะห์ (助動詞 : jodoushi)
เป็นคาพ่วง (fuzokugo) สามารถผันได้ ใช้ต่อท้ายได้ทั้งคาหลัก (taigen) และคาแสดง (yougen) มีทั้งสิ้น 18 รูปแบบ คือ
れる られる せる させる ない ぬ หรือ ん
う よう まい たい たがる た หรือ だ
ます そうだ らしい ようだ だ です
ประเภทของคากริยานุเคราะห์
1. แบ่งตามความหมาย
เป็นการแบ่งตามหน้าที่หรือความหมายของคากริยานุเคราะห์นั้นๆ ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 23 ความหมาย คือ
o ใช้ให้ทา (使役 : shieki)
o ถูกกระทา (受身 : ukemi)
o เป็นไปได้ (可能 : kanou)
o ยกย่อง(尊敬 : sonkei)
o เกิดขึ้นเอง (自発 : jihatsu)
o สุภาพ(丁寧 : teinei)
o ต้องการ (希望 : kibou)
o หักล้าง (打ち消し : uchikeshi)
o มั่นใจ(断定 : dantei)
o อดีต (過去 : kako)
o เสร็จสมบูรณ์ (完了 : kanryou)
o สันนิษฐาน (推定 : suitei)
o ต่อเนื่อง (存続 : sonzoku)
o ตรวจทาน (確認 : kakunin)
o คาดคะเน (推量 : suiryou)
o ตั้งใจ (意志 : ishi)
o คาดคะเนเชิงหักล้าง (打ち消し推量 : uchikeshi suiryou)
o ตั้งใจเชิงหักล้าง (打ち消し意志 : ichikeshi ishi)
o เปรียบเทียบ(比況 : hikyou)
o ยกตัวอย่าง(例示 : reiji)
o เล่าต่อ (伝聞 : denbun)
o แสดงอาการ (様態 : youtai)
o มั่นใจอย่างสุภาพ(丁寧な断定 : teinei na dantei)
2. แบ่งตามรูปแบบการผัน
o ผันแบบคากริยา 5 ขั้น (五段 : godan) หรือ 1 ขั้นตัวล่าง (下一段 : shimo ichidan)
o ผันแบบคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1
o ผันแบบคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2
o ผันแบบพิเศษ
o ผันแบบไม่เปลี่ยนรูป
3. แบ่งตามการเชื่อม
แบ่งตามลักษณะของคาศัพท์ที่ไปพ่วง ว่าคาศัพท์นั้นผันอยู่ในรูปแบบใด คือ mizenkei, renyoukei, shuushikei หรือ rentaikei
การผันคากริยานุเคราะห์
การต่อท ้
าย
ความหมาย
ฟอร์มป
กติ
mizen
kei
renyou
kei
shuushi
kei
rentai
kei
katei
kei
meirei
kei
ฟอร์มในการผัน
mizenk
ei
ถูกกระทา
ยกย่อง
เป็นไปได ้
เกิดขึ้นเอง
れる れ れ れる れる れれ
れろ
れよ
1 ขั้นตัวล่าง
られる られ られ られる
られ
る
られ
れ
られろ
られよ
ใช ้ให้ทา
せる せ せ せる せる せれ
せろ
せよ
1 ขั้นตัวล่าง
させる させ させ させる
させ
る
させ
れ
させろ
させよ
หักล ้าง
ない
なか
ろ
なかっ
なく
ない ない
なけ
れ
x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 1
ぬ
(ん)
x ず
ぬ
(ん)
ぬ
(ん
)
ね x แบบพิเศษ
คาดคะเน
ตั้งใจ
ชักชวน
う x x う
(う
)
x x
ไม่เปลี่ยนรูป
よう x x よう
(よ
う)
x x
mizenk
ei
shuushi
kei
คาดคะเนหัก
ล ้าง
ตั้งใจหักล ้าง
まい x x まい
(ま
い)
x x ไม่เปลี่ยนรูป
renyouk ต ้องการ たい たか たかっ たい たい たけ x แบบคาคุณศัพท์
ei ろ たく れ กลุ่มที่ 1
たがる
たが
ら
たが
ろ
たがり
たがっ
たがる
たが
る
たが
れ
x 5 ขั้
ิ
น
อดีต・
เสร็จสมบูรณ์
ต่อเนื่อง
ตรวจทาน
た
(だ)
たろ
(だ
ろ)
x
た
(だ)
た
(だ
)
たら
(だ
ら)
x แบบพิเศษ
สุภาพ ます
ませ
まし
ょ
まし ます ます
ます
れ
ませ
まし
แบบพิเศษ
แสดงอาการ そうだ
そう
だろ
そうだ
っ
そうで
そうに
そうだ
そう
な
そう
なら
x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 2
shuushi
kei
เล่าต่อ そうだ x そうで そうだ x x x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 2
สันนิษฐาน らしい x
らしか
っ
らしく
らしい
らし
い
らし
けれ
x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 1
rentaike
i
เปรียบเทียบ
ยกตัวอย่าง
สันนิษฐาน
ようだ
よう
だろ
ようだ
っ
ようで
ように
ようだ
よう
な
よう
なら
x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 2
คาหลัก
คาช่วย
มั่นใจ だ だろ
だっ
で
だ
(な
)
なら x
แบบคาคุณศัพท์
กลุ่มที่ 2
มั่นใจอย่างสุ
ภาพ
です
でし
ょ
でし です
(で
す)
x x แบบพิเศษ
หน้าที่และความหมายของคากริยานุเคราะห์
1. れる・られる
ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการถูกกระทา การยกย่องการเป็นไปได้ หรือการเกิดขึ้นเอง
 ถูกกระทา (受身 : ukemi)
みんなから笑われる
Minna kara warawareru
ถูกทุกคนหัวเราะ
先生に怒られる
Sensei ni okorareru
ถูกอาจารย์โกรธ
2.
 ยกย่อง(尊敬 : sonkei)
先生が読まれる
Sensei ga yomareru
อาจารย์อ่าน
お客様が来られる
Okyakusama ga korareru
แขกมา
3.
 เป็นไปได้ (可能 : kanou)
早く行かれる
Hayaku ikareru
ไปได ้เร็ว
いつでも見られる
Itsu demo mirareru
ดูได ้ตลอดเวลา
4.
 เกิดขึ้นเอง (自発 : jihatsu)
มักใช้กับคากริยาที่เกี่ยวกับความคิดหรืออารมณ์
昔のことが思い出される
Mukashi no koto ga omoidasareru
คิดถึงเหตุการณ์ในอดีต
病気の彼女が案じられる
Byouki no kanojo ga anjirareru
นึกเป็นห่วงแฟนที่ป่วย
5. せる・させる
ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการสั่งให้ทา
 ใช้ให้ทา (使役 : shieki)
彼に持たせる
Kare ni motaseru
ใช ้ให้เขาถือ
弟に届けさせる
Otouto ni todokesaseru
ใช ้ให้น้องชายเอาไปส่ง
6. ない・ぬ(ん)
ใช้ต่อท้ายคากริยาหรือคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเชิงหักล้าง
 หักล้าง (打ち消し : uchikeshi)
そこには行かない
Soko ni wa ikanai
ไม่ไปที่นั่น
彼に持たせない
Kare ni motasenai
ไม่ให้เขาถือ

※ 持たせない เกิดจากการผันดังนี้
1. คากริยา คือ 持つ (motsu) ⇒ ถือ
2. ผันในรูป nai form เป็น 持た
3. เติมกริยานุเคราะห์ せる (สั่งให้ทา) เป็น 持たせる ⇒ ให้ถือ
4. ผันในรูป nai form เป็น 持たせ
5. เติมกริยานุเคราะห์ ない (หักล้าง) เป็น 持たせない ⇒ ไม่ให้ถือ
※ การจาแนกคาคุณศัพท์ ない และคากริยานุเคราะห์ ない ทาโดยการเปลี่ยน ない เป็น ぬ ถ้าสื่อความหมายไม่ได้
จะเป็นคาคุณศัพท์ แต่หากสื่อความหมายได้จะเป็นคากริยานุเคราะห์
【คาคุณศัพท์】
彼の部屋は汚くない
kare no heya wa kitanakunai
ห้องของเขาไม่สกปรก
【คากริยานุเคราะห์】
彼は部屋を汚さない
kare wa heya o yogosanai
เขาไม่ทาให้ห้องสกปรก
7. う・よう
ใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) และคากริยานุเคราะห์บางคา ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการคาดคะเน การมุ่งมั่น
และการชักชวน
 คาดคะเน (推量 : suiryou)
友達が多いと楽しかろう
tomodachi ga ooi to tanoshikarou
มีเพื่อนเยอะก็น่าจะสนุก
彼は中学生だろう
kare wa chuugakusei darou
เขาน่าจะเป็นนักเรียนมัธยมต ้น
8.
 ตั้งใจ (意志 : ishi)
毎日、日本語を勉強しよう
mainichi, nihongo o benkyou shiyou
ตั้งใจจะเรียนภาษาญี่ปุ่นทุกวัน
人から感謝されよう
hito kara kansha sareyou
ตั้งใจจะได ้รับการขอบคุณจากผู้คน
(คือตั้งใจจะทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น)
9.
 ชักชวน (勧誘 : kanyuu)
みんなで協力しよう
minna de kyouryoku shiyou
ร่วมมือกันทุกคนเถอะ
みんなに見せよう
minna ni miseyou
ให้ทุกคนดูเถอะ
10. まい
ใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) และคากริยานุเคราะห์บางคา ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการคาดคะเนเชิงหักล้าง
หรือตั้งใจเชิงหักล้าง
 คาดคะเนเชิงหักล้าง (打ち消しの推量 : uchikeshi no suiryou)
彼ならこんなことをしまい
Kare nara konna koto o shimai
ถ ้าเป็นเขาคงไม่ทาแบบนี้
彼に読ませまい
Kare ni yomasemai
คงไม่ให้เขาอ่าน
11.
 ตั้งใจเชิงหักล้าง (打ち消しの意志 : uchikeshi no ishi)
彼と話すまい
Kare to hanasumai
ตั้งใจจะไม่พูดกับเขา
もう失敗は許されまい
Mou shippai wa yurusaremai
การผิดพลาดจะไม่ได ้รับการยกโทษให้อีกแล ้ว
12. たい・たがる
ใช้ต่อท้ายคากริยาหรือคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการต้องการ
 การต้องการ (希望 : kibou)
たがる ใช้ในกรณีของบุคคลอื่น
彼と話したい
Kare to hanashitai
อยากพูดกับเขา
彼に聞かせたい
Kare ni kikasetai
อยากให้เขาได ้ยิน
彼は外に行きたがる
Kare wa soto ni ikitagaru
เขาท่าจะอยากออกไปข ้างนอก
彼は私に言わせたがる
Kare wa watashi ni iwasetagaru
เขาท่าจะอยากให้ฉันพูด
13. ます
ใช้ต่อท้ายคากริยาและคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei เพื่อให้เกิดความสุภาพ
 คาสุภาพ(丁寧 : teinei)
本を読みます
Hon o yomimasu
อ่านหนังสือ (ประโยคสุภาพ)
漢字を書かせます
Kanji o kakasemasu
ให้เขียนคันจิ (ประโยคสุภาพ)
14. た(だ)
ใช้ต่อท้ายคาแสดง และคากริยานุเคราะห์ส่วนใหญ่ ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei หรือ nai form เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับอดีต
การเสร็จสมบูรณ์ การต่อเนื่อง หรือการตรวจทาน
 อดีต (過去 : kako)
今朝7時に起きた
Kesa shichiji ni okita
เมื่อเช ้าตื่น 7 โมง
そこに行きたかった
Soko ni ikitakatta
(เคย) อยากไปที่นั่น
15.
 เสร็จสมบูรณ์ (完了 : kanryou)
แสดงความหมายที่เพิ่งเกิดเหตุการณ์เสร็จสิ้น
すでに見た
Sude ni mita
やっと宿題が終わった
Yatto shukudai ga owatta
ดูเสร็จแล ้ว ในที่สุดก็ทาการบ ้านเสร็จ
16.
 เกิดต่อเนื่อง (存続 : sonzoku)
ずっと歩きつづけた
Zutto arukitsutzuketa
เดินมาตลอด
ずっと歩きつづけさせられた
Zutto arukitsutzukesaserareta
ถูกทาให้เดินมาตลอด
17.
 ตรวจสอบ (確認 : kakunin)
帰る時間を尋ねた
Kaeru jikan o tazuneta
ถามเวลาที่จะกลับ
明日の準備をさせた
Ashita no junbi o saseta
ให้เตรียมสาหรับวันพรุ่งนี้
18. そうだ
ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป renyoukei หรือต่อท้ายต้นศัพท์ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 และ 2
เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการบอกเล่าสภาพ และใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) ที่ผันอยู่ในรูป shuushikei
เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการเล่าต่อ
 แสดงสภาพ (様態 : youtai)
雨が降りそうだ
Ame ga furisouda
ฝนท่าจะตก
彼は優秀そうだ
Kare wa yuushu souda
เขาท่าจะเก่ง
ケーキがおいしそうだ
Keeki ga oishisouda
เค ้กท่าจะอร่อย
19.
 เล่าต่อ (伝聞 : denbun)
雨が降るそうだ
Ame ga furu souda
ได ้ยินว่าฝนจะตก
彼は優秀だそうだ
Kare wa yuushu souda
ว่ากันว่าเขาเก่ง
ここのケーキがおいしいそうだ
Koko no keeki ga oishii souda
พูดกันว่าเค ้กที่นี่อร่อย
20. らしい
ใช้ต่อท้ายคาหลัก คากริยา คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 และคากริยานุเคราะห์ ที่ผันในรูป shuushikei หรือใช้ต่อท้ายต้นศัพท์ (gokan)
ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 หรือใช้ต่อท้ายคาช่วย เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการสันนิษฐาน
 สันนิษฐาน (推定 : suitei)
彼らは大学生らしい
Karera wa daigakusei rashii
พวกเขาน่าจะเป็นนักศึกษา
彼の家は遠いらしい
Kare no ie wa tooi rashii
บ ้านของเขาน่าจะอยู่ไกล
試験は来月に行われるらしい
Shiken wa raigetsu ni okonawareru rashii
การสอบน่าจะมีขึ้นในเดือนหน้า
彼らが行くらしい
Karera ga iku rashii
พวกเขาน่าจะไป
彼がまじめらしい
Kare ga majime rashii
เขาน่าจะขยัน
最初はここかららしい
Saisho wa koko kara rashii
ตอนแรกน่าจะเริ่มจากที่นี่
21. ようだ
ใช้ต่อท้ายคาช่วยคาหลัก (kakujoshi) คือ の หรือใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) หรือคากริยานุเคราะห์บางส่วน ที่ผันอยู่ในรูป
rentaikei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการยกตัวอย่าง หรือการสันนิษฐาน
 เปรียบเทียบ(比況 : hikyou)
彼女はまるで花のようだ
Kanojo wa marude hana no you da
เธอเปรียบประดุจดอกไม้
22.
 ยกตัวอย่าง(例示 : reiji)
田中さんのような先生になりたい
Tanakasan no you na sensei ni naritai
อยากจะเป็นอาจารย์เหมือนกับคุณทานากะ
23.
 สันนิษฐาน (推定 : suitei)
ここに誰か来たようだ
Koko ni dare ka kita you da
ดูเหมือนว่ามีใครบางคนมาที่นี่
24. だ
ใช้ต่อท้ายคาหลัก (taigen) หรือคาช่วยบางคา เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการแสดงความมั่นใจ
 มั่นใจ(断定 : dantei)
君は大学生だ この選択が一番正しいのだ
Kimi wa daigakusei da
เธอเป็นนักศึกษา
Kono sentaku ga ichiban tadashii no da
การเลือกนี้เป็นสิ่งที่ถูกต ้องที่สุด
※ だ มีลักษณะการใช้งานในหลายรูปแบบ ดังนี้
これは私の本だ
Kore wa watashi no hon da
นี่คือหนังสือของฉัน
⇒ เป็นคากริยานุเคราะห์แสดงความมั่นใจ
この本はきれいだ
Kono hon wa kirei da
หนังสือเล่มนี้สวย
⇒ เป็นการผันคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 ในรูปจบประโยค (shuushikei)
この本は読んだ
Kono hon wa yonda
หนังสือเล่มนี้อ่านแล้ว
⇒ เป็นคากริยานุเคราะห์แสดงอดีต・การจบสมบูรณ์・การต่อเนื่อง・การตรวจทาน
25. です
ใช้ต่อท้ายคาหลัก (taigen) หรือคาช่วยบางคา เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการแสดงความมั่นใจอย่างสุภาพ
 มั่นใจอย่างสุภาพ(丁寧な断定 : teinei na dantei)
君は大学生です
Kimi wa daigakusei desu
เธอเป็นนักศึกษาครับ/ค่ะ
この選択が一番正しいのです
Kono sentaku ga ichiban tadashii no desu
การเลือกนี้เป็นสิ่งที่ถูกต ้องที่สุดครับ/ค่ะ

บทที่10 คาช่วย
คาช่วย (助詞 : joshi)
เป็นคาพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคาอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบายความสัมพันธ์กับคานั้นกับคาอื่นในประโยค
หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคาอิสระ แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ
1. คาช่วยสถานะ (格助詞 : kakujoshi)
เป็นคาที่ต่อท้ายคาหลัก (taigen) เพื่อแสดงว่าคาหลักนั้นมีสถานะเกี่ยวข้องกับคาอื่นในประโยคอย่างไร ประกอบด้วย 10 คา คือ
が の を に へ
と より から で や
2.
หน้าที่ของคาช่วยสถานะ
3.
 が เป็นคาช่วยขั้นพื้นฐานที่สุด สามารถใช้ในประโยคที่ภาคแสดงเป็นคากริยา คาคุณศัพท์ หรือคานาม ก็ได้
 ชี้ประธาน
私が本を読みます
Watashi ga hon o yomimasu
ฉันอ่านหนังสือ
桜がきれいです
Sakura ga kirei desu
ดอกซากุระสวย

 ชี้กรรม ในกรณีที่ใช้กับคากริยาหรือคาคุณศัพท์บางชนิด
日本語がわかりません
Nihongo ga wakarimasen
ไม่เข ้าใจภาษาญี่ปุ่น
りんごが好きです
Ringo ga suki desu
ชอบแอปเปิ้ล
4.
 の เป็นคาช่วยชี้ความสัมพันธ์ หรือเปลี่ยนสถานะกริยาวลีเป็นนามวลี หรือชี้ประธานในนามวลี
 ชี้ความสัมพันธ์
これは私の本です
Kore wa watashi no hon desu
นี่คือหนังสือของฉัน
私の日本語の 先生は田中さんです
Watashi no nihongo no sensei wa Tanaka san desu
อาจารย์ภาษาญี่ปุ่นของฉันคือคุณทานากะ
バンコクの夏の気温は三十五度です
Bankoku no natsu no kion wa sanjuugo do desu
อุณหภูมิในหน้าร้อนของกรุงเทพคือ 35 องศา

 เปลี่ยนสถานะกริยาวลีเป็นนามวลี
友達が来るのを待っています
Tomodachi ga kuru no o matte imasu
กาลังรอเพื่อนมา
私は本を読むのが好きです
Watashi wa hon o yomu no ga suki desu
ฉันชอบอ่านหนังสือ

 ชี้ประธานในนามวลี
きみの探している物は財布ですか
Kimi no sagashiteiru mono wa saifu desu ka
สิ่งที่เธอกาลังหาคือกระเป๋าสตางค์หรือเปล่า
桜の咲く頃に、もう一度会いましょう
Sakura no saku koro ni, mou ichido aimashou
แล ้วพบกันอีกครั้งหนึ่งช่วงที่ซากุระบาน
5.
 を เป็นคาช่วยที่ใช้กับประโยคที่มีภาคแสดงเป็นคากริยาเท่านั้น
 ชี้สิ่งที่กล่าวถึง ซึ่งจะเป็นการกระทาโดยตรงหรือเป็นนามธรรมก็ได้
本を読む
Hon o yomu
อ่านหนังสือ
人を愛する
Hito o ai suru
รักเพื่อนมนุษย์
うそを言う
Uso o iu
พูดโกหก
かぜを引く
Kaze o hiku
เป็นหวัด

 ชี้สถานที่ซึ่งเกิดการเดินทาง (คากริยาเป็นอกรรมกริยา)
道路を渡る
Douro o wataru
ข ้ามถนน
歩道を歩く
Hodou o aruku
เดินบนทางเท ้า

 ชี้สถานที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น (คากริยาเป็นอกรรมกริยา)
部屋を出る
Heya o deru
ออกจากห้อง
空港を出発する
Kuukou o shuppatsu suru
ออกเดินทางจากสนามบิน

 ชี้บุคคลหรือสิ่งที่ถูกกระทา
客を満足させる
Kyaku o manzoku saseru
ทาให้แขกพอใจ
子供を笑わせる
Kodomo o warawaseru
ทาให้เด็กหัวเราะ
6.
 に เป็นคาช่วยที่มีลักษณะการใช้งานหลายรูปแบบ
 ชี้สถานที่ปลายทาง มีความหมายคล้ายกันกับへ
家に帰る
Ie ni kaeru
กลับบ ้าน
部屋に戻る
Heya ni modoru
กลับห้อง

 ชี้สถานที่ซึ่งผลของการกระทาคงเหลืออยู่
ホテルに泊まる
Hoteru ni tomaru
นอนที่โรงแรม
学校にいる
Gakkou ni iru
อยู่ที่โรงเรียน

 ชี้บุคคลหรือสิ่งที่เป็นเป้าหมาย
他人に頼る
Tanin ni tayoru
พึ่งคนอื่น
車に詳しい
Kuruma ni kuwashii
เชี่ยวชาญเรื่องรถยนต์

 ชี้ฝ่ายตรงข้ามที่เป็นคู่กรณี
และหากมีคาช่วย を จะหมายถึงทิศทางด้วย
友達に会う
Tomodachi ni au
พบเพื่อน
恋人に手紙を書く
Koibito ni tegami o kaku
เขียนจดหมายถึงแฟน

 ชี้ผู้ที่มีอุปการะ (ผู้ที่ทาให้)
先生に日本語を教わる
Sensei ni nihongo o
osowaru
เรียนภาษาญี่ปุ่นจากอาจารย์
友達にプレゼントをもらった
Tomodachi ni purezento o
moratta
ได ้รับของขวัญจากเพื่อน

 ชี้เวลาที่เกิดการกระทา
十一時に寝る
Juuichi ji ni neru
นอนตอน 11 น.
去年に生まれた
Kyonen ni umareta
เกิดเมื่อปีที่แล ้ว

ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น

More Related Content

What's hot

มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6Kansinee Kosirojhiran
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศจีระภา ตราโชว์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะJapanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะUtai Sukviwatsirikul
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา ssuserd18196
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องThanaporn choochart
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์Kanthika Sriman
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนTunggy
 
การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นNiwat Yod
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6
Minna no nihongo สรุปคำช่วย บทที่ 1-6
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
 
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะJapanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
Japanese language มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้อง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้น
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 

Viewers also liked

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6Acha Nai
 
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - Honsatsu
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - HonsatsuMinna no Nihongo Shokyuu 2 - Honsatsu
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - HonsatsuArtur Filipe Segumdo
 
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)Kathe Camargo
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่น
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่นประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่น
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่นfisho_16
 
JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120Acha Nai
 
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบายตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบายKraisorn Tepung
 
Japanese & English Word
Japanese & English WordJapanese & English Word
Japanese & English WordAnything2 You
 
แบบฝึกหัดปี2
แบบฝึกหัดปี2แบบฝึกหัดปี2
แบบฝึกหัดปี2ラッキー ね
 
Top 30 cabin crew interview questions
Top 30 cabin crew interview questionsTop 30 cabin crew interview questions
Top 30 cabin crew interview questionsHai Wu
 
ขอพรวันทานาบาตะ
ขอพรวันทานาบาตะขอพรวันทานาบาตะ
ขอพรวันทานาบาตะkrutip
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554Utai Sukviwatsirikul
 
เครื่องเขียน
เครื่องเขียนเครื่องเขียน
เครื่องเขียนラッキー ね
 
ความรู้สึก
ความรู้สึกความรู้สึก
ความรู้สึกラッキー ね
 

Viewers also liked (20)

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
 
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
 
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - Honsatsu
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - HonsatsuMinna no Nihongo Shokyuu 2 - Honsatsu
Minna no Nihongo Shokyuu 2 - Honsatsu
 
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
12902362 minna-no-nihongo i-honsatsu (1)
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่น
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่นประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่น
ประโยคสนทนาง่ายภาษาญี่ปุ่น
 
JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120
 
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบายตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
ตัวอักษรญี่ปุ่นและคำอธิบาย
 
Japanese & English Word
Japanese & English WordJapanese & English Word
Japanese & English Word
 
แบบฝึกหัดปี2
แบบฝึกหัดปี2แบบฝึกหัดปี2
แบบฝึกหัดปี2
 
Top 30 cabin crew interview questions
Top 30 cabin crew interview questionsTop 30 cabin crew interview questions
Top 30 cabin crew interview questions
 
ป1คันจิ80
ป1คันจิ80ป1คันจิ80
ป1คันจิ80
 
ขอพรวันทานาบาตะ
ขอพรวันทานาบาตะขอพรวันทานาบาตะ
ขอพรวันทานาบาตะ
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
 
Kanji de manga vol.1
Kanji de manga vol.1Kanji de manga vol.1
Kanji de manga vol.1
 
เครื่องเขียน
เครื่องเขียนเครื่องเขียน
เครื่องเขียน
 
ความรู้สึก
ความรู้สึกความรู้สึก
ความรู้สึก
 
Kotoba karada
Kotoba karadaKotoba karada
Kotoba karada
 
ปี3คันจิ200
ปี3คันจิ200ปี3คันจิ200
ปี3คันจิ200
 
พาหนะ
พาหนะพาหนะ
พาหนะ
 

Similar to ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น

การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.จีระภา ตราโชว์
 

Similar to ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น (20)

การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Articles.
Articles.Articles.
Articles.
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
Straightpiece
StraightpieceStraightpiece
Straightpiece
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
Unit 1 nouns & articles
Unit 1   nouns & articlesUnit 1   nouns & articles
Unit 1 nouns & articles
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น

  • 1. ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่ น บทที่1 ภาพรวม หน่วยของภาษา 1. ประโยค (文 : bun) คือ ภาษาที่สื่อสารความคิดหรือเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง โดยจะจบประโยคด้วยเครื่องหมาย 。(句点 kuten) 2. กลุ่มคา หรือวลี (文節 : bunsetsu) คือ สิ่งที่เกิดจากการตัดแบ่งประโยคออกเป็นกลุ่มคาที่เล็กที่สุด โดยไม่ให้สูญเสียความหมาย เช่น watashi wa taijin desu ประกอบด้วยกลุ่มคา 2 กลุ่ม คือ 「watashi wa」 และ「taijin desu」 3. คาศัพท์ (単語 : tango) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดจากการตัดแบ่งกลุ่มคาออกเป็นคาๆ เช่น 「watashi」, 「wa」, 「taijin」 และ 「desu」 4. บทความ(文章 : bunshou) คือ การนาประโยคหลายประโยคมาเรียงต่อกัน เพื่อสื่อสารให้ได้เนื่้อหาใจความสมบูรณ์ 5. ย่อหน้า (段落 : danraku) คือการตัดแบ่งบทความออกเป็นช่วงๆ ตามเนื้อหาใจความโดยแต่ละย่อหน้าจะเริ่มด้วยการเว้นวรรค 1 ตัวอักษร หน้าที่ของกลุ่มคา แบ่งตามโครงสร้างในประโยคได้เป็น 5 ประเภท คือ 1. ประธาน (主語 : shugo) คือส่วนที่บอกว่า "ใคร" "อะไร" เป็นต้น 2. ภาคแสดง (述語 : jutsugo) คือส่วนที่บอกว่า "เป็นอะไร" "แบบไหน" "ทาอะไร" เป็นต้น 3. คาขยาย (修飾語 : shuushokugo) คือส่วนที่ทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาอื่นในประโยคให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น 4. คาเชื่อม (接続語 : setsuzokugo) คือกลุ่มคาเพื่อเชื่อมประโยคหรือกลุ่มคาด้วยกันเอง 5. คาอิสระ (独立語 : dokuritsugo) คือกลุ่มคาที่เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคาอื่นในประโยค เช่น คาอุทาน คาเรียกขาน คาตอบรับ เป็นต้น หรือแบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคาด้วยกันเองได้เป็น 6 ประเภทคือ
  • 2. 1. กลุ่มคาทาหน้าที่เป็น ประธาน กับ ภาคแสดง เพื่อบอกว่า "ใคร" "ทาอะไร" หรือ "อะไร" "เป็นแบบไหน" เช่น 私は学校に通います。 Watashi wa gakkou ni kayoimasu ฉัน ไป โรงเรียน 2. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็น ส่วนขยาย กับ ส่วนที่ถูกขยาย โดยกลุ่มคาที่อยู่ข้างหน้าจะทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาที่ตามหลังมา เช่น 私は学校に楽しく 通います。 Watashi wa gakkou ni tanoshiku kayoimasu ฉัน ไป โรงเรียน อย่างสนุกสนาน 3. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เชื่อมกลุ่มคาด้วยกันเอง เช่น 私は勉強したいので学校に通います。 Watashi wa benkyou shitai node gakkou ni kayoimasu ฉัน ไป โรงเรียน เพราะอยากเรียนหนังสือ 4. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็นกลุ่มคาอิสระ คือจะวางสลับที่กันได้โดยไม่ทาให้ความหมายของประโยคเปลี่ยนแปลงไป เช่น 私は会話をしたり 勉強をしたいので学校に通います。 Watashi wa kaiwa o shitari benkyou o shitai node gakkou ni kayoimasu ฉันไปโรงเรียน เพราะอยากเรียนหนังสือ และอยากพูดคุย 5. กลุ่มคาที่ทาหน้าที่สนับสนุน โดยกลุ่มคาที่อยู่ด้านหลังจะทาหน้าที่ขยายกลุ่มคาที่อยู่ข้างหน้า เพื่อรวมเป็นความหมายเดียวกันเช่น 私は学校に通って います。 Watashi wa gakkou ni kayotte imasu ฉัน กาลัง ไป โรงเรียน 6. ทาหน้าที่เป็นกลุ่มคาอิสระในประโยค เช่น はい、私は学校に通います。 Hai, watashi wa gakkou ni kayoimasu
  • 3. ใช่ ฉันไปโรงเรียน ซึ่งกลุ่มคาทั้ง 6 ประเภทข้างต้น อาจรวมอยู่ในประโยคเดียวกันก็ได้ เช่น はい、私は 会話をしたり 勉強をしたいので 学校に 楽しく 通って います。 Hai, watashi wa kaiwa o shitari benkyou o shitai node gakkou ni tanoshiku kayotte imasu ใช่ ฉัน กาลัง ไป โรงเรียน อย่างสนุกสนาน เพราะอยากเรียนหนังสือ และอยากพูดคุย ประเภทของประโยค แบ่งตามความหมายได้เป็น4 ประเภท คือ 1. ประโยคบอกเล่า (平叙文 : heijobun) 2. ประโยคคาถาม (疑問文 : gimonbun) 3. ประโยคอุทาน (感動文 : kandoubun) 4. ประโยคคาสั่ง (命令文 : meireibun) หรือแบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 3 ประเภทคือ 1. ประโยคความเดียว(単文 : tanbun) คือ ประโยคที่มีประธานและภาคแสดงอย่างละ 1 ชนิดเท่านั้น เช่น 私の先生は田中さんです Watashi no sensei wa Tanakasan desu อาจารย์ของฉันคือคุณทานากะ 2. ประโยคผสม (重文 : juubun) คือ ประโยคที่มี 2 ประโยคแยกกันอยู่อย่างอิสระในประโยคเดียวกัน ซึ่งแม้จะตัดแบ่งออกเป็นประโยคความเดียว 2 ประโยค ก็ไม่ทาให้ความหมายโดยรวมเปลี่ยนแปลงไปเช่น 田中さんが立ち、ソムチャイさんが座る Tanakasan ga tachi, Somuchai san ga suwaru คุณทานากะยืนคุณสมชายนั่ง 3. ประโยคซ้อน (複文 : fukubun) คือ ประโยคที่มีภาคแสดงอยู่ในกลุ่มคาขยาย จึงทาให้ประโยคนั้นมีภาคแสดงซ้อนกันอยู่ในประโยคเดียวกัน เช่น 子供を背負った田中さんが走る Kodomo o seotta tanaka san ga hashiru คุณทานากะ (ซึ่ง)แบกลูกอยู่บนหลัง วิ่ง
  • 4. ประเภทของคา สามารถแบ่งได้ 2 วิธีคือ วิธีที่หนึ่ง แบ่งตามโครงสร้างของกลุ่มคา 1. คาอิสระ (自立語 : jiritsugo) คือ คาที่มีความหมายในตัวเองสามารถสร้างเป็นกลุ่มคาได้ 2. คาพ่วง (付属語 : fuzokugo) คือ คามีไม่มีความหมายในตัวเองต้องใช้พ่วงต่อท้ายคาอิสระจึงจะเกิดเป็นกลุ่มคา เช่น は、が、に เป็นต้น วิธีที่สอง แบ่งตามโครงสร้างของประโยค 1. คาหลัก (体言 : taigen) คือคาอิสระที่ผันรูปไม่ได้ สามารถนาไปเป็นประธานของประโยคได้ ประกอบด้วยคานาม คาสรรพนาม และตัวเลข โดยมีรากศัพท์มาจากคาว่า 本体の語 (คาที่เป็นตัวหลัก) 2. คาแสดง (用言 : yougen) คือคาอิสระที่สามารถผันรูปได้ สามารถนาไปเป็นภาคแสดงของประโยคได้ ประกอบด้วยคากริยา และคาคุณศัพท์ทั้งกลุ่มที่ 1 (~い) และกลุ่มที่ 2 (~な) โดยมีรากศัพท์มาจากคาว่า 作用の語 (คาที่แสดงอาการ) การผันรูป (活用 : katsuyou) คาศัพท์บางประเภทสามารถเปลี่ยนรูปแบบได้ แต่บางชนิดเปลี่ยนรูปแบบไม่ได้ เช่น คาว่า "ไป" สามารถผันจากฟอร์มปกติ 行-く (i-ku) เป็นฟอร์มสุภาพ 行-きます (i-kimasu) หรือฟอร์มปฏิเสธ 行-かない (i- kanai) ได้ แต่คาว่า "私 : ฉัน" ไม่สามารถผันเป็นฟอร์มอื่นได้ เป็นต้น ชนิดของคา (品詞 : hinshi) ไวยากรณ์ญี่ปุ่นกาหนดชนิดของคา ตามประเภทของคาและการผันรูป ไว้ 10 ประเภทคือ ดูตารางHinshi 1. คานาม (名詞 : meishi) 2. คากริยา (動詞 : doushi) 3. คาคุณศัพท์ (形容詞 : keiyoushi) เป็นคาแสดงรูปร่าง ลักษณะ หรืออาการของคานามว่าเป็นอย่างไร โดยจะลงท้ายด้วยเสียง~い (-i) เมื่อนาไปขยายหน้าคานาม
  • 5. 4. คากริยาคุณศัพท์ (形容動詞 : keiyoudoushi) เป็นคาแสดงรูปร่าง ลักษณะ หรืออาการของคานามว่าเป็นอย่างไร เช่นเดียวกับคาคุณศัพท์ แต่จะลงท้ายด้วย ~な (-na) เมื่อนาไปขยายหน้าคานาม ※ ในเว็บไซต์นี้จะเรียกคาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียง い ในข้อ 3 ว่า "คาคุณศัพท์ประเภทที่ 1" และเรียกคากริยาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียงな ในข้อ 4 ว่า "คาคุณศัพท์ประเภทที่ 2" 5. คาขยายคาหลัก (連体詞 : rentaishi) ทาหน้าที่ขยายคาหลัก (taigen) เช่น あらゆる方法 : arayuru houhou : ทุกวิธี หรือ ある人 : aru hito : ใครคนหนึ่ง เป็นต้น 6. คาวิเศษณ์ (副詞 : fukushi) ทาหน้าที่ขยายคาแสดง(yogen) เพื่อให้รู้ว่าอาการเกิดขึ้นในสภาพใด เช่น ゆっくり走る : yukkuri hashiru : วิ่งช้า หรือ とてもいい : totemo ii : ดีมาก หรือ 決して高くない : kesshite takakunai : ไม่แพงเลย เป็นต้น 7. คาเชื่อม (接続詞 : setsuzokushi) ทาหน้าที่เชื่อมประโยคหรือกลุ่มคา เช่น 頭が痛いです。しかし、病院に行きません。 Atama ga itai desu. Shikashi byouin ni ikimasen. (ฉัน)ปวดศีรษะ แต่จะไม่ไปโรงพยาบาล 8. คาอุทาน (感動詞 : kandoushi) เช่น คาเรียกขาน คาตอบรับ หรือคาอุทานแสดงความรู้สึก เป็นต้น 9. คากริยานุเคราะห์ (助動詞 : jodoushi) เป็นคาช่วยผันคาแสดง (yougen) มี18 แบบ คือ れる・られる・せる・させる・ない・ぬ(ん)・う・よう・まい・たい・たがる・た (だ)・ます・そうだ・らしい・ようだ・だ และ です 10. คาช่วย (助詞 : joshi) แบ่งเป็น 8 ชนิด คือ
  • 6. 1. คาช่วยสถานะ(格助詞 : kaku joshi) ทาหน้าที่ขยายคาหลัก (taigen) ว่ามีสถานะเกี่ยวข้องกับคาอื่นในประโยคอย่างไร ประกอบด้วย が、の、を、に、 へ、と、より、から และ で ยกตัวอย่างเช่น 田中さん が 日本人です : Tanaka san ga nihonjin desu : คุณทานากะเป็นคนญี่ปุ่น → が ช่วยชี้ว่า 田中さん เป็นภาคประธานของประโยค 田中さんが 水 を 飲みます : Tanaka san ga mizu o nomimasu : คุณทานากะดื่มน้า → を ช่วยชี้ว่า お水 เป็นสิ่งที่ถูกกระทา (เป็นกรรมของภาคแสดง) 2. คาช่วยเชื่อม(接続助詞 : setsozoku joshi) ทาหน้าที่ขยายคาแสดง(yougen) และคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) เพื่อขยายความสัมพันธ์ของวลีที่อยู่ข้างหน้ามีความเกี่ยวข้องกับวลีที่ตามมาด้านหลังอย่างไร หรือกล่าวคือเป็นคาช่วยเพื่อชี้ความสัมพันธ์ของวลีข้างหน้าและข้างหลัง เช่น ば、と、ても、でも、が、のに、 ので เป็นต้น ตัวอย่างเช่น 行けば 会える : ikeba aeru : ถ้าไปก็เจอ 行っても会えない : itte mo aenai : ถึงไปก็ไม่เจอ 3. คาช่วยวิเศษณ์ (副助詞 : fukujoshi) คือทาหน้าที่ขยายความหรือจากัดขอบเขตของคากริยาหรือคุณศัพท์ที่อยู่ด้านหลัง ได้แก่ ばかり、だけ、ほど、くら い、など เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น これだけ下さい : kore dake kudasai : ขอแค่นี้ 彼ほどできる人はいません : kare hodo dekiru hito wa imasen : ไม่มีใครเก่งเท่าเขา 4. คาช่วยภาคแสดง(係助詞 : kakarijoshi) ทาหน้าที่ชี้คาที่เกี่ยวข้องกับภาคแสดง เพื่อบรรยายผลกระทบกับคานั้นอย่างไร เช่น การเน้นย้า การกระทาซ้า เป็นต้น ได้แก่ は、 も、こそ、しか、でも และ さえ ยกตัวอย่างเช่น 私も行きます : Watashi mo ikimasu : ฉันก็จะไป 日本は行きません : Nihon wa ikimasen : จะไม่ไปญี่ปุ่น(เน้นญี่ปุ่น) あなたしか行きません : Anata shika ikimasen : คุณเท่านั้นที่จะไป 5. คาช่วยจบ(終助詞 : shuujoshi) ใช้จบท้ายประโยคเพื่อแสดงความต้องการหรือความรู้สึก เช่น な、か、の、よ、とも、わ、ぞ เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น
  • 7. 行くな : iku na : อย่าไป(สั่งห้าม) 行きましょうよ : ikimashou yo : ไปกันเถอะ (ชักชวน) 行くぞ : iku zo : จะไปละ(ยืนยัน) 6. คาช่วยอุทาน (間投助詞 : kantou joshi) เป็นคาช่วยระหว่างประโยคหรือท้ายวลี เพื่อแสดงอารมณ์ หรือเน้นย้า หรือเล่นเสียง เช่น な、なあ、ね、ねえ、さ เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น 高いねえ : takai nee : แพงจัง 7. คาช่วยคู่ขนาน (並立助詞 : heiritsu joshi) เป็นคาช่วยเพื่อเชื่อมคาตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปในลักษณะเท่าเทียมกันซึ่งส่วนใหญ่จะถูกนามาจากคาช่วยสถานะ(kakujoshi) คาช่วยภาคแสดง(kakari joshi) คาช่วยวิเศษณ์ (fuku joshi) และคาเชื่อม (setsuzokushi) เช่น と、に、か、 や、やら、の、だの เป็นต้น 8. คาช่วยแปลงคาหลัก (準体助詞 : juntai joshi) ทาหน้าที่แปลงคาศัพท์หรือวลีให้มีสถานะเป็นคาหลัก (taigen) โดยส่วนใหญ่จะเป็นคาช่วยชนิดเดียวกันกับคาช่วยสถานะ (kakujoshi) ยกตัวอย่างเช่น 私のがありません : watashi no ga arimasen : ของฉันไม่มี 日本に着いてからが心配です : Nihon ni tsuite kara ga shinpai desu : หลังจากไปถึงญี่ปุ่นแล้วจึงน่าเป็นห่วง การแปลงชนิดคาศัพท์ คาศัพท์บางประเภทสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเป็นอีกชนิดหนึ่งได้ เช่น คากริยาแปลงรูปเป็นคานาม หรือคาคุณศัพท์แปลงรูปเป็นคานาม เช่น 【คากริยา】 動く : ugoku : เคลื่อนที่ → 【คานาม】 動き : ugoki : การเคลื่อนที่ 【คาคุณศัพท์】 高い : takai : สูง→ 【คานาม】 高さ : takasa : ความสูง 【คาคุณศัพท์】 清潔な : seiketsu na : สะอาด → 【คานาม】 清潔さ : seiketsusa : ความสะอาด คาผสม (複合語 : fukugougo) เกิดจากการนาคาศัพท์ตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปมารวมกันเพื่อสร้างเป็นคาใหม่ เช่น 町 (machi : หมู่บ้าน) + はずれ (hazure : ห่างจากใจกลาง) → 町はずれ (machihazure : ท้ายบ้าน) 立てる (tateru : ตั้ง) +かける (kakeru : แขวน,พิง) → 立てかける (tatekakeru : ตั้งพิง) คาที่สร้างจากคาอื่น (派生: 語 haseigo) คือคาที่เกิดจากการเติมคาหรือเติมเสียงที่ด้านหน้าหรือต่อท้ายคาศัพท์เดิม เพื่อสร้างคาศัพท์ใหม่ เช่น 弱い (yowai : อ่อนแอ) → か弱い (kayowai : แบบบาง บอบบาง)
  • 8. 怒る (okoru : โกรธ โมโห) → 怒りっぽい (okorippoi : ขี้โมโห) 楽しい (tanoshii : สนุกสนาน) → 楽しみ (tanoshimi : ตื่นเต้นคาดหวังกับสิ่งที่จะมาถึง) คาเลียนเสียง (擬声語 : giseigo หรือ 擬音語 : giongo) เป็นคาแสดงเสียงร้องของสัตว์ หรือเสียงของสิ่งของต่างๆ เช่น ワンワン (wanwan) → เสียงร้องของสุนัข ガタンゴトン (gatan goton) → เสียงรถไฟวิ่ง ザーザー (zaazaa) → เสียงน้าไหลแรง คาเลียนอาการ (擬態語 : gitaigo) เป็นคาที่ถ่ายทอดสภาพหรืออาการให้ออกมาเป็นคาพูด เช่น ぺらぺら (pera pera) → อาการพูดอย่างคล่องแคล่ว พูดจ้อ ばらばら (bara bara) → สภาพกระจัดกระจาย บทที่2 คานาม คานาม คือคาอิสระที่ไม่สามารถผันได้ เป็นคาที่ใช้เรียกคน สัตว์สิ่งของต่างๆ สามารถนาไปเป็นประธานของประโยคได้ แบ่งออกเป็น 1. คาสามัญนาม( 普通名詞 : futsu doushi ) เป็นคาใช้เรียกคนสัตว์สิ่งของทั่วไป เช่น 山 (yama : ภูเขา) 川 (kawa : แม่น้า) 人 (hito : คน) 鳥 (tori : นก) 2. คาวิสามัญนาม( 固有名詞 : koyuu meishi ) เป็นคาที่เจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น 富士山 (fujisan : ภูเขาฟูจิ) 東京タワー (tokyou tawaa : หอโตกียว) 3. ตัวเลข จานวน( 数詞 : suushi ・ 数量詞 : suuryoushi ) เพื่อบอกจานวน ปริมาณ หรือลาดับ เช่น 一年 (ichinen : หนึ่งปี)
  • 9. 二つ (futatsu : สองชิ้น) 三位 (san-i : ที่สาม) いくつ (ikutsu : เท่าไร) คานามตัวเลขและจานวนแตกต่างจากคานามประเภทอื่น คือสามารถจัดเป็นคาขยายคาแสดง(連用修飾語 : renyou shuushokugo) คือสามารถใช้กับคาแสดงได้โดยไม่ต้องมีคาช่วย เช่น 漢字を 3つ 書きます kanji o mitsu kakimasu เขียน คันจิ 3 ตัว 4. เวลา นามเวลา (時詞 : tokishi ・時名詞 : tokimeishi) เป็นคานามแสดงเวลา ซึ่งถือเป็นคาขยายคาแสดง (renyou shuushokugo) คือสามารถใช้กับคาแสดงได้โดยไม่ต้องมีคาช่วย เช่น 今 (ima : ขณะนี้) 春 (haru : ฤดูใบไม้ร่วง) さっき (sakki : เมื่อสักครู่) 5. คานามที่มีแต่รูปฟอร์ม (形式名詞 : keishiki meishi) เป็นคาที่แทบจะไม่มีความหมายในตัวเองเป็นเพียงการเหลือไว้ตามไวยากรณ์เพื่อใช้คู่กับคาช่วยขยายคานามเท่านั้นเช่น こと (koto) ため (tame) もの (mono) ほど (hodo) ころ (koro) คาเหล่านี้เดิมจะเขียนด้วยคันจิแต่ปัจจุบันโดยทั่วไปจะเขียนด้วยฮิรางานะ ยกตัวอย่างเช่น 手紙を書く こと が苦手です tegami o kaku koto ga nigate desu เขียนจดหมายไม่เก่ง 6. คานามที่แปลงรูปมา ( 転成名詞 : tensei meishi ) เป็นคานามที่แปลงมาจากคากริยาหรือคาคุณศัพท์ เช่น 考え (kangae : ความคิด) 近く (chakaku : ที่ใกล้ๆ) 白 (shiro : สีขาว)
  • 10. คาสรรพนาม (代名詞 : daimeishi) เป็นคานามชนิดหนึ่ง ทาหน้าที่ใช้แทนคานามในการชี้คน สัตว์ สิ่งของ ประกอบด้วย 1. คาสรรพนามบุคคล ( 人代名詞 : jindaimeishi ) เป็นคาใช้แทนบุคคล เช่น 私 (watashi : ฉัน ผมข้าพเจ้า) あなた (anata : เธอคุณ) かれら (karera : เขาเหล่านั้น) だれ (dare : ใคร) 2. คาสรรพนามบ่งชี้ ( 指示代名詞 : shiji daimeishi ) เพื่อใช้แทนเรื่องราว สิ่งของ สถานที่ และทิศทาง เช่น これ (kore : อันนี้) それ (sore : อันนั้น) あれ (are : อันโน้น) どれ (dore : อันไหน) あちら (achira : ทางนั้น) ประเภท บุรุษที่ 1 บุรุษที่ 2 บุรุษที่ 3 ไม่เจาะจง ระยะใกล ้ ระยะกลาง ระยะไกล คาสรรพนามบุคคล watashi boku ore anata kimi omae konokata koitsu sonokata soitsu anokata aitsu kare donata doitsu dare คาสรรพนามบ่งชี้ สิ่งของ kore sore are dore สถานที่ koko soko asoko doko ทิศทาง kochira sochira achira dochira หน้าที่ของคานาม 1. เป็นประธานของประโยค ソムチャイさん はタイ人です Somuchai san wa taijin desu คุณสมชาย เป็นคนไทย
  • 11. 2. เป็นภาคแสดงในประโยค その人は ソムチャイさん です Sono hito wa Somuchai san desu คนนั้นคือ คุณสมชาย 3. เป็นคาขยายในประโยค ここは ソムチャイさん の家です Koko wa Somuchai san no ie desu ที่นี่คือบ้านของ คุณสมชาย 4. เป็นคาอิสระในประโยค ソムチャイさん、彼は私の友達です Somuchai san, kare wa watashi no tomodachi desu คุณสมชาย เขาเป็นเพื่อนของฉัน บทที่3 คากริยา คากริยา เป็นคาอิสระที่สามารถผันได้ สามารถใช้เป็นคาแสดง (述語 : jutsugo)ในประโยค เพื่อบอกเล่าการกระทา อาการ หรือการมีอยู่ คากริยาในสถานะปกติ จะลงท้ายด้วยเสียง 「ウ : u」 เสมอเช่น 笑う : warau : หัวเราะ 書く : kaku : เขียน 寝る : neru : นอน ชนิดและหน้าที่ของคากริยา 1. อกรรมกริยา ( 自動詞 : jidoushi ) เป็นคาแสดงกริยาหรือการเคลื่อนไหวที่เกิดผลอยู่ประธานเท่านั้น ไม่ได้ส่งผลบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่น ดังนั้น ในประโยคจึงจะไม่มีคาช่วย 「を」 ที่เป็นคาช่วยที่ชี้กรรมของประโยค ตัวอย่างเช่น 雨が降る : ame ga furu : ฝนตก 花が咲く : hana ga saku : ดอกไม้บาน 2. สกรรมกริยา ( 他動詞 : tadoushi ) เป็นคาแสดงกริยาที่ไม่ได้ส่งผลไปยังประธาน แต่ผลของกริยาหรือการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้น จะเกิดกับบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่นโดยตรง หรือเป็นการทาหรือสร้างให้เกิดขึ้น
  • 12. ตามปกติจะใช้คาช่วย 「を」เพื่อชี้ว่าผลของกริยานั้นเกิดขึ้นกับบุคคลหรือสิ่งของใด เช่น 本を読む : hon o yomu : อ่านหนังสือ 窓を開ける : mado o akeru : เปิดหน้าต่าง 3. กริยาแสดงความเป็นไปได้ ( 可能動詞 : kanoudoushi) เป็นคากริยาที่ผันรูปเพื่อแสดงความหมายว่าสามารถทา ...ได้ โดยคากริยาที่จะผันเช่นนี้ได้ จะต้องเป็นคากริยาในกลุ่มที่ 1 เท่านั้นซึ่งเมื่อผันเสร็จแล้ว คากริยาที่เกิดขึ้นใหม่จะจัดอยู่ในกลุ่มที่ 2 เช่น 動く : ugoku : เคลื่อนที่ → 動ける : ugokeru : เคลื่อนที่ได้ 聞く : kiku : ฟัง → 聞ける : kikeru : ฟังได้ หมายเหตุ : คากริยากลุ่มที่ 1 และ 2 เป็นการจัดกลุ่มตามวิธีการผันคา ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ตอนท้ายของบทนี้ 4. กริยาสนับสนุน ( 補助動詞 : hojo doushi หรือ 形式動詞 : keishiki doushi ) มีความหมายของคาเดิมเหลืออยู่น้อยมากใช้เป็นเพียงคาเสริมในประโยคเท่านั้น ใช้ร่วมกับคาว่า ~て หรือ ~で เช่น 私は日本人である : watashi wa nihonjin de aru : ฉันเป็นคนญี่ปุ่น ※ ある เป็นคากริยาแปลว่า มีซึ่งไม่เหลือความหมายเดิมอยู่ในประโยค 風が吹いている : kaze ga fuite iru : ลมกาลังพัด ※ いる เป็นคากริยาแปลว่า อยู่ ซึ่งไม่เหลือความหมายเดิมอยู่ในประโยค นอกจากนี้ คากริยาบางคาจะใช้แสดงความหมายเพื่อยืนยันหรือแสดงท่าที หรือแสดงความมุ่งมั่นในทากริยานั้น เช่น ある、いく、いる、おく、くる、みる、もらう ยกตัวอย่างเช่น 勉強をしておく : benkyou o shite oku : จะเรียนไว้ 勉強してみる : benkyou shite miru : จะลองเรียนดู การผันคากริยา คากริยาสามารถผันรูป และใช้กับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) เพื่อให้เกิดความหมายใหม่ได้ 【คากริยา】 ⇒ 【ผันรูป】 + 【คากริยานุเคราะห์】 ⇒ 【เกิดความหมายใหม่】 คากริยาสามารถผันได้ 6 รูปแบบ ดังนี้ 1. ฟอร์มที่ยังไม่เสร็จ ( 未然形 : mizenkei ) เป็นการผันเพื่อให้เกิดความในเชิงปฏิเสธ ให้กระทา หรือชักชวน เป็นต้น โดยใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ
  • 13. ない、せる、させる、れる、られる、う、よう 2. ฟอร์มที่ตามด้วยคาแสดง (連用形 : renyoukei) เป็นการผันคากริยาเพื่อใช้นาหน้าคาแสดง (yougen) เพื่อใช้ในการจบท้ายประโยค โดยจะใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ ます、た、だ 3. ฟอร์มจบ (終止形 : shuushikei) เป็นต้นศัพท์ก่อนการผัน จึงไม่ต้องใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ จะใช้ในการจบท้ายประโยค และใช้เป็นรูปแบบในพจนานุกรม 4. ฟอร์มที่ตามด้วยคาหลัก (連体形 : rentaikei) เป็นการผันคากริยาเพื่อใช้นาหน้าคาหลัก (taigen) เช่น とき หรือในภาษาเก่าจะผันเพื่อใช้จบประโยค โดยใช้ร่วมกับคาช่วยเกี่ยวเนื่อง (kakarijoshi) คือ ぞ、なむ、や、か หรือใช้ร่วมกับคาช่วย คือ か、ぞ 5. ฟอร์มสมมุติ (仮定形 : kateikei) เป็นการผันคากริยาให้มีความหมายสมมุติที่เป็นเหตุเป็นผลกับประโยคต่อท้าย โดยจะใช้ร่วมกับคากริยานุเคราะห์ (jodoushi) คือ ば 6. ฟอร์มคาสั่ง (命令形 : meireikei) เป็นการผันคากริยาให้มีความหมายเป็นการสั่ง การผันแบบ 5 ขั้น 1 ขั้น (五段・一段 : godan ichidan) ในการผันคากริยาให้อยู่ในฟอร์ม 6 แบบข้างต้น สามารถจาแนกคากริยาออกเป็น 5 กลุ่ม ตามวิธีการผัน ดังนี้ 1. ผัน 5 ขั้น ( 五段活用 : godan katsuyou ) คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้ 5 เสียง เช่น คาว่า 行く (iku : ไป) สามารถผันได้ครบทั้ง 5 เสียงคือ เสียงa, i, u, e, o 2. ผัน 1 ขั้น ตัวบน ( 上一段活用 : kami ichidan katsuyou ) คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้เพียง 1 เสียงซึ่งเป็นเสียงi เช่น 見る (mi-ru) 3. ผัน 1 ขั้น ตัวล่าง( 下一段活用 : shimo ichidan katsuyou ) คือกลุ่มคากริยาที่สามารถผันได้เพียง 1 เสียงซึ่งเป็นเสียงe เช่น 食べる (ta-be-ru) 4. ผันคาพิเศษแถว ka ( カ変活用 : ka hen katsuyou ) ซึ่งมีเพียง1 คาที่ผันในวิธีพิเศษ คือ 来る (kuru : มา)
  • 14. 5. ผันคาพิเศษแถว sa ( サ変活用 : sa hen katsuyou ) ซึ่งมีเพียง1 คาที่ผันในวิธีพิเศษ คือ する (suru : ทา) ประเภทและตัวอย่างวิธีการผันคากริยา ประเภท คากริยา ต ้นศัพท์ ฟอร์มในการผัน Mizen Renyo Shuushi Rentai Katei Meirei 5 ขั้น 読む 読 ま も み ん む む め め 1 ขั้น ตัวบน 見る ー み み みる みる みれ みろ みよ 1 ขั้น ตัวล่าง 食べる 食 べ べ べる べる べれ べろ べよ แถว ka พิเศษ 来る ー こ き くる くる くれ こい แถว sa พิเศษ する ー し せ さ し する する すれ しろ せよ การผันแบบ -u verb , -iru / -eru verb เนื่องจากวิธีการผันคากริยา 6 รูปแบบ (Mizenkei, Renyoukei ....) และการจัดกลุ่มคาแบบ 5 ขั้น 1 ขั้น (Godan ichidan) ตามหลักไวยากรณ์ญี่ปุ่นที่อธิบายข้างต้น มีความสลับซับซ้อน และยากลาบากในการจดจา ดังนั้น ในการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นให้กับชาวต่างชาติ ซึ่งใช้อักษรโรมาจิเป็นหลัก (คือเขียนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ) จึงมักใช้วิธีดังนี้  การจัดกลุ่ม แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. คากริยากลุ่มที่ 1 คือคาที่ลงท้ายด้วยเสียงu แต่ไม่รวมถึงคาที่ลงท้ายด้วยเสียงiru และ eru จัดอยู่ในกลุ่มที่ 2 2. คากริยากลุ่มที่ 2 คือคากริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงiru หรือ eru (เว้นแต่คาบางคาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1) 3. คากริยากลุ่มที่ 3 คือคาที่มีวิธีการผันเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งมีเพียง2 คา คือ 来る (kuru) และ する (suru)  วิธีการผัน แบ่งกลุ่มการผัน ตามเสียงและหรือความหมาย เป็น 7 รูปแบบ คือ 1. dic form หรือฟอร์มในรูปพจนานุกรม เช่น 書く (kaku : เขียน)
  • 15. 2. nai form เช่น 書かない (kakanai : ไม่เขียน) 3. masu form เช่น 書きます (kakimasu : เขียน (สุภาพ)) 書きません (kakimasen : ไม่เขียน(สุภาพ)) 書きましょう (kakimashou : เขียนกันเถอะ (สุภาพ)) 書きたい (kakitai : อยากเขียน) 4. ta form หรือ te form เช่น 書いた (kaita : เขียนแล้ว(อดีต)) 書いたら (kaitara : ถ้าเขียน) 5. ba form เช่น 書けば (kakeba : ถ้าเขียน) 書けたら (kaketara : ถ้าได้เขียน) 6. form คาสั่ง เช่น 書け (kake : เขียน (คาสั่ง)) 7. you form เช่น 書こう (kakou : เขียนกันเถอะ) dic form nai form masu form ta form / te form ba form form คาสั่ง you form กลุ่ ม ที่ 1 ~ う 会う au 会わない awanai 会います aimasu 会った atta 会って atte 会えば aeba 会え ae 会おう aou ~ く 書く kaku 書かない kakanai 書きます kakimasu 書いた kaita 書いて kaite 書けば kakeba 書け kake 書こう kakou ~ ぐ 泳ぐ oyogu 泳がない oyoganai 泳ぎます oyogimasu 泳いだ oyoida 泳いで oyoide 泳げば oyogeba 泳げ oyoge 泳ごう oyogou ~ す 許す yurus u 許さない yurusana i 許します yurushimas u 許した yurushit a 許して yurushit e 許せば yuruseb a 許せ yurus e 許そう yuruso u ~ つ 立つ tatsu 立たない tatanai 立ちます tachimasu 立った tatta 立って tatte 立てば tateba 立て tate 立とう tatou ~ ぬ 死ぬ shinu 死なない shinanai 死にます shinimasu 死んだ shinda 死んで shinde 死ねば shineba 死ね shine 死のう shinou ~ ぶ 飛ぶ tobu 飛ばない tobanai 飛びます tobimasu 飛んだ tonda 飛んで tonde 飛べば tobeba 飛べ tobe 飛ぼう tobou ~ 読む 読まない 読みます 読んだ 読んで 読めば 読め 読もう
  • 16. む yomu yomanai yomimasu yonda yonde yomeba yome yomou ~ る 入る hairu 入らない hairanai 入ります hairimasu 入った haitta 入って haitte 入れば haireba 入れ haire 入ろう hairou กลุ่ ม ที่ 2 (い ) る 見る miru 見ない minai 見ます mimasu 見た mita 見て mite 見れば mireba 見ろ miro 見よう miyou (え ) る 食べ る taberu 食べない tabenai 食べます tabemasu 食べた tabeta 食べて tabete 食べれ ば tabereba 食べ ろ tabero 食べよ う tabeyo u กลุ่ ม ที่ 3 す る する suru しない shinai します shimasu した shita して shite すれば sureba しろ shiro しよう shiyou く る くる kuru こない konai きます kimasu きた kita きて kite これば koreba こい koi こよう koyou ※ ข้อยกเว้น คากริยา 行く (いく) ผันในรูป ta form / te form เป็น 行った (いった) และ行って (いって)ซึ่งต้องแยกจาเป็นพิเศษ ※ การผันคากริยา มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการพูดภาษาญี่ปุ่นที่เป็นสานวนยาวๆหรือในกรณีที่ต้องบ่งบอกความรู้สึก ซึ่งตารางข้างต้นนี้ มีหลักเกณฑ์ในการผันคาที่ค่อนข้างชัดเจน ผู้เรียนจึงควรจดจาหลักเกณฑ์ และฝึกฝนให้สามารถผันคากริยาได้อย่างถูกต้องทุกรูปแบบ คากริยาที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่อยู่คนละกลุ่ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 切る (kiru : ตัด) 着る (kiru : สวม) 帰る (kaeru : กลับ) 変える (kaeru : เปลี่ยน) 要る (iru : ต ้องการ) 居る (iru : อยู่) 練る (neru : นวด) 寝る (neru : นอน) ดังนั้น การผันคากริยาข้างต้น จึงต้องผันให้ถูกต้องตามกลุ่มด้วย เช่น  要る (iru : ต้องการ) ต้องผันเป็น 要りません (irimasen : ไม่ต้องการ)  居る (iru : อยู่) ต้องผันเป็น 居ません (imasen : ไม่อยู่) บทที่4 คาคุณศัพท์ คาคุณศัพท์ และคากริยาคุณศัพท์ คาคุณศัพท์ (形容詞 : keiyoushi) และคากริยาคุณศัพท์ (形容動詞 : keiyoudoushi) เป็นคาอิสระที่สามารถผันได้ ใช้เป็นภาคแสดงเพื่ออธิบายลักษณะหรือสภาพต่างๆ ของประธานหรือคานาม คาคุณศัพท์จะลงท้ายด้วย い เช่น
  • 17. 美しい : utsukushii : สวย 高い : takai : สูง 寒い : samui : หนาว ส่วนคากริยาคุณศัพท์จะลงท้ายด้วย な เช่น きれいな : kirei na : สวย 静かな : shizuka na : เงียบ 清潔な : seiketsu na : สะอาด ※ ในเว็บไซต์นี้จะเรียกคาคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย い ว่า "คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1" และเรียกคากริยาคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย な ว่า "คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2" การผันคาคุณศัพท์ คาคุณศัพท์สามารถผันในรูปฟอร์มต่างๆได้ดังนี้ กลุ่ม ความหมาย คาคุณศัพท์ ต ้นศัพท์ ฟอร์มในการผัน mizen renyou shuushi rentai katei meirei คาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 1 สวย 美しい 美し かろ かっ く い い けれ x สูง 高い 高 คาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 2 สวย きれいな きれい だろう だっ で に だ な なら x เงียบ 静かな 静か ※ คาคุณศัพท์สามารถผันได้เพียงตามตารางเท่านั้น ไม่สามารถผันในรูปคาสั่งได้ การแปลงเสียงของคาคุณศัพท์ ในการใช้คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 ในประโยคยกย่องหรือถ่อมตน ซึ่งต่อท้ายด้วย 存じます (zonjimasu) หรือ ございます (gozaimasu) คาคุณศัพท์ซึ่งลงท้ายด้วยเสียงい จะถูกแปลงเป็นเสียง う เช่น ありがたい (arigatai) + ございます (gozaimasu) ⇒ ありがとうございます (arigatou gozaimasu) = ขอบคุณ 寒い (samui) + ございます (gozaimasu) ⇒ 寒うございます (samuu gozaimasu) = หนาว การใช้คาคุณศัพท์ในกรณีพิเศษ  คาคุณศัพท์สนับสนุน (補助形容詞 : hojo keiyoushi หรือ 形式形容詞 : keishiki keiyoushi) เป็นคาคุณศัพท์ที่สูญเสียความหมายเดิมโดยจะทาหน้าที่เสริมในประโยคเท่านั้น เช่น これは解答でない : kore wa kaitou de nai : นี่ไม่ใช่คาตอบ => ない เป็นคาคุณศัพท์สนับสนุน ここに解答はない : koko ni kaitou wa nai : ที่นี่ไม่มีคาตอบ => ない เป็นคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1
  • 18. ※ ない (無い : nai) เป็นคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 แปลว่า "ไม่มี"  ต้นศัพท์ (語幹 : gokan) ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 สามารถนาไปใช้ในรูปแบบต่างๆได้ เช่น o ใช้เป็นภาคแสดง うう、寒 : uu, samu : อูย หนาว o ต่อท้ายด้วย そうだ เพื่อสื่อว่า ดูท่าที.... 非常に寒そうだ : hijou ni samu souda : ดูท่าทีหนาวมาก o ใช้ซ้อนกัน 2 ครั้งเพื่อแปลงเป็นคาวิเศษณ์ 高々と掲げる : takadaka to ageru : ยกสูง  ต้นศัพท์ (gokan) ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 ถือเป็นคาหลัก (taigen) ที่นาไปเป็นประธานของประโยคได้ เช่น 清潔が一番大事です Seiketsu ga ichiban daiji desu ความสะอาดเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด  คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 สามารถใช้เป็นภาคแสดงด้วยการต่อท้ายด้วย そうだ หรือ です เช่น それはきれいです Sore wa kirei desu นั่นสวย  คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 สามารถใช้เป็นภาคแสดงด้วยคาเดียวโดดๆได้ เช่น まあ、きれい Maa, kirei โอ้ สวยจัง บทที่5 คาขยายคาหลัก คาตามคาหลัก (連体詞 : rentaishi) เป็นคาอิสระ ที่ไม่มีการผันรูป ทาหน้าที่ใช้กับคาหลัก (体言 : taigen) เพื่อให้กลายเป็นกลุ่มคาขยายคาตามคาหลัก (連体修飾語 : rentai shuushokugo) 私は あらゆる 本を読みたい Watashi wa arayuru hon o yomitai ฉันอยากอ่านหนังสือทั้งหมดทุกอย่าง ⇒ เกิดกลุ่มคาขยายคาตามคาหลัก คือ あらゆる本 : หนังสือทั้งหมดทุกอย่าง
  • 19. ประเภทและชนิดของคาขยายคาหลัก ประกอบด้วย 1. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~が (-ga) เช่น わが (wa ga : ของฉัน, ของพวกเรา) เช่น わが子 (wa ga ko : ลูกของฉัน) わが国 (wa ga kuni : ประเทศของเรา) 2. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~た (-ta) หรือ ~だ (-da) เช่น たいした (taishita : มากยิ่งใหญ่ เกินความคาดคิด) ⇒ 君はたいした人です Kimi wa taishita hito desu เธอเป็นคนที่เหนือความคาดคิด หรือ とんだ (tonda : ไม่ได้คาดคิด โดยไม่ได้ตั้งใจผิดทานองคลองธรรม) とんだ失敗をしました Tonda shippai o shimashita ทาผิดอย่างไม่ได้คาดคิด (หรือไม่ได้ตั้งใจ) (หรืออย่างอุกฉกรรจ์) 3. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~な (-na) เช่น 大きな (ookina : บริเวณกว้างปริมาณมากสาคัญใหญ่เกินปกติ) 小さな (chiisana : ขนาดเล็ก ปริมาณน้อย คุณค่าน้อย) おかしな (okashina : อาการผิดปกติ อาการประหลาด) いろんな (ironna : เรื่องต่างๆ สิ่งต่างๆ) 都会と地方は大きな格差がある Tokai to chihou wa ookina kakusa ga aru หัวเมืองกับต่างจังหวัดมีความแตกต่างในปริมาณมาก 4. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~の (-no) この (kono : นี้) その (sono : นั้น) あの (ano : โน้น) どの (dono : ไหน) あの子はこの子の友達です Ano ko wa kono ko no tomodachi desu
  • 20. เด็กคนนั้นเป็นเพื่อนของเด็กคนนี้ 5. กลุ่มที่ลงท้ายด้วย ~る (-ru) ある (aru : เป็นคาขยายคานามโดยไม่เจาะจงให้ชัด) あらゆる (arayuru : ทั้งหมด) いわゆる (iwayuru : เรื่องที่กล่าวกันโดยทั่วไป เรื่องที่เรียกกันว่า) 来る (kuru : เรื่องที่กาลังจะมาถึง) 昔々ある村におじいさんとおばあさんがいました Mukashimukashi aru mura ni ojiisan to obaasan ga imashita กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีตาและยายอยู่ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่ง 私は来る一月に結婚します Watashi wa kuru ichigatsu ni kekkon shimasu ฉันจะแต่งงานในเดือนมกราคมที่จะมาถึง ข้อควรระวัง 「これ」「それ」「あれ」「どれ」 : อันนี้ อันนั้น อันโน้น อันไหน → เป็นคานาม 「この」「その」「あの」「どの」 : นี้ นั่น โน้น → เป็นคาขยายคานาม 私の本はこれです Watashi no hon wa kore desu หนังสือของฉันคืออันนี้ 私のはこの本です Watashi no wa kono hon desu ของฉันคือหนังสือ(เล่ม)นี้ ความแตกต่างของคาขยายคาหลัก กับคาแสดง คาขยายคาหลัก (rentaigo) แตกต่างกับคาแสดง (yougen) ตามตัวอย่างดังนี้ その街にある本屋で買いました Sono machi ni aru honya de kaimashita ฉันซื้อที่ร้านหนังสือที่อยู่ในเมืองนั้น ⇒ 【คากริยา】 その街のある本屋で買いました Sono machi no aru honya de kaimashita ฉันซื้อที่ร้านหนังสือแห่งหนึ่งในเมืองนั้น ⇒ 【คาขยายคาหลัก】 私は大きい箱に大切なものを入れました Watashi wa ookii hako ni taisetsu na mono o iremasita
  • 21. ฉันใส่ของสาคัญในกล่องใหญ่ ⇒ 【คาคุณศัพท์】 私は大きな箱に大切なものを入れました Watashi wa ooki na hako ni taisetsu na mono o iremashita ฉันใส่ของสาคัญในกล่องขนาดใหญ่ ⇒ 【คาขยายคาหลัก】 บทที่6 คาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ (副詞 : fukushi) เป็นคาอิสระ ไม่สามารถผันได้ส่วนใหญ่มีหน้าที่ใช้กับคาแสดง (yougen) คือคากริยาและคาคุณศัพท์ ซึ่งจะเกิดเป็นคาขยายคาตามคาแสดง(連用修 飾語 : renyou shuushokugo) เช่น 車がゆっくり走ります kuruma ga yukkuri hashirimasu รถวิ่งช้า ⇒ ขยายคากริยา 車がもっとゆっくり走ります kuruma ga motto yukkuri hashirimasu รถวิ่งช้าลง ⇒ ขยายคาวิเศษณ์ 車がもっと前に走ります kuruma ga motto mae ni hashirimasu รถวิ่งไปข้างหน้าอีก ⇒ ขยายคาหลัก(taigen) 車がブーンと走ります kuruma ga buun to hashirimasu รถวิ่งบรื้น ⇒ คาเลียนเสียง 車がすっと走ります kuruma ga sutto hashirimasu รถวิ่งปรู้ด ⇒ คาเลียนอาการ ชนิดของคาวิเศษณ์ 1. แสดงการเคลื่อนไหวหรืออาการ のんびり歩きます nonbiri arukimasu เดินเอื่อยๆ
  • 22. ※ คาเลียนเสียงและคาเลียนแบบก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ด้วย 2. แสดงปริมาณ คุณลัษณะหรือสภาพ とてもいい成績です totemo ii seiseki desu ผลการเรียนดีมาก 3. บอกกล่าวเล่าเรื่อง เพื่อชี้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะมีท่วงทานองอย่างไร (ปกติจะใช้คู่กับคาอื่นเป็นชุด) おそらく彼はここに来るでしょう osoraku kare wa koko ni kuru deshou เขาคงมาที่นี่แน่ๆ ความหมาย คาวิเศษณ์ คาที่ใช ้คู่กัน คาดคะเน おそらく きっと でしょう หักล ้าง けっして 少しも ありません มุ่งหวัง ぜひ どうか ~たいです ほしい สงสัย なぜ どうして か หักล ้างการคาดคะเน まさか よもや まい ないでしょう เปรียบเทียบ まるで ちょうど ようです ตั้งสมมุติฐาน もし 万一 ても ば なら たら บทที่7 คาเชื่อม คาเชื่อม (接続詞 : setsuzokushi) เป็นคาอิสระ ผันไม่ได้ ทาหน้าที่เชื่อมประโยคหรือกลุ่มคาเข้าด้วยกัน ประเภทและหน้าที่ของคาเชื่อม 1. ความหมายสอดคล้องกัน (順接 : junsetsu) ทาหน้าที่ชี้เรื่องที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยเรื่องแรกจะเป็นเหตุ ส่วนเรื่องหลังจะเป็นผลที่เกิดขึ้นตามมา
  • 23. เช่น それで、 だから、 そこで、 したがって、 すると 彼は一生懸命勉強しました。だから、いい点数でした。 kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. dakara, ii tensuu deshita เขาตั้งใจเรียน จึงคะแนนดี 2. ขัดแย้งกัน (逆説 : gyakusetsu) ทาหน้าที่ชี้เรื่องที่ขัดแย้งกัน ได้แก่ คาว่า けれども、 しかし、 だが、 でも、 ところが 彼は一生懸命勉強しました。しかし、悪い点数でした。 kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. shikashi, warui tensuu deshita เขาตั้งใจเรียน แต่คะแนนไม่ดี 3. เพิ่มน้าหนัก (累加 : ruika หรือ 添加 : tenka) ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักให้หนักแน่นยิ่งขึ้น โดยเรื่องหลังจะทาหน้าที่เพิ่มเติมน้าหนักให้กับเรื่องแรก ได้แก่ คาว่า さらに、 しかも、 そのうえ、 それに、 なお 彼は一生懸命勉強しました。さらに、家の手伝いもしました。 kare wa isshoukenmei benkyou shimashita. sara ni, ie no tetsudai mo shimashita เขาตั้งใจเรียน และ(ยัง)ช่วยงานบ้านด้วย 4. แยกอิสระ (並立 : heiritsu หรือ 並列 : heiretsu) ทาหน้าที่ชี้ว่าเรื่องแรกและเรื่องหลังเป็นเอกเทศต่อกัน ได้แก่ คาว่า また、 ならびに、 および 彼は勉強家であり、また、スポーツマンでもある。 kare wa benkyouka de ari, mata, supootsuman de mo aru เขาเป็นคนขยันเรียนและก็ยังเป็นนักกีฬา 5. เปรียบเทียบหรือให้เลือก (対比 : taihi หรือ 選択 : sentaku) ทาหน้าที่เปรียบเทียบหรือให้เลือกระหว่างเรื่องแรกกับเรื่องหลัง ได้แก่ คาว่า あるいは、 それとも、 または、 もしくは バス、または電車で行きます。 basu, mata wa densha de ikimasu จะไปโดยรถเมล์หรือรถไฟ 6. อธิบายเสริม(説明 : setsumei หรือ 補足 : hosoku) ทาหน้าที่อธิบายเสริม โดยเรื่องหลังจะเป็นสิ่งที่อธิบายหรือเสริมเรื่องแรก
  • 24. ได้แก่ คาว่า つまり、 なぜなら、 すなわち 彼はいい点数をとりました。なぜなら、一生懸命勉強したからです。 kare wa ii tensuu o torimashita. nazenara, isshoukenmei benkyou shita kara desu. เขาได้คะแนนดีเนื่องจากตั้งใจเรียน 7. เปลี่ยนเรื่อง (転換 : tenkan) เป็นการเปลี่ยนเรื่องที่กาลังพูด ได้แก่ คาว่า ところで、 さて、 では、 ときに さて、今度は何を勉強しましょうか Sate, kondo wa nani o benkyou shimashou ka เอาละ ครั้งนี้จะเรียนอะไรกันดี บทที่8 คาอุทาน คาอุทาน (感動詞 : kandoushi) เป็นคาอิสระ ผันไม่ได้ เป็นคาเกี่ยวกับคาอุทาน คาเรียกขาน และคาขานรับ เป็นต้น ประเภทของคาอุทาน คาอุทาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 1. คาแสดงอารมณ์ (感動 : kandou) เป็นคาสาหรับแสดงอารมณ์ของผู้พูด เช่น  あ (a) แสดงอาการนึกขึ้นได้  ああ (aa) แสดงความรู้สึกสะเทือนใจหรือแปลกใจอย่างลึกซึ้ง  あら (ara) แสดงความแปลกใจ หรือประทับใจ ส่วนใหญ่เป็นคาพูดของผู้หญิง  あれ (are) แสดงอาการประหลาดใจ ประทับใจ หรือประหลาดใจ  えっ (et) แสดงอาการประหลาดใจ หรือสงสัย  おっ (ot) แสดงอาการประหลาดใจ หรือนึกขึ้นได้ในฉับพลัน  おお (oo) แสดงอาการประทับใจ ประหลาดใจสงสัย หรือนึกขึ้นได้ในฉับพลัน  ほら (hora)แสดงอาการกระตุ้นเตือน หรือเรียกความสนใจ  まあ (maa) แสดงความตกใจหรือแปลกใจ  やあ (yaa) แสดงอาการตกใจ หรือไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน  やれやれ (yareyare) แสดงอาการอ่อนใจภายหลังปฏิบัติเรื่องที่ลาบากได้สาเร็จ หรืออ่อนใจจากการประสบเรื่องที่ลาบาก หรือแสดงความเห็นใจความทุกข์ร้อนของผู้อื่น 2. คาเรียกหา (呼び掛け : yobigoe)
  • 25. เป็นคาสาหรับเรียกหาฝ่ายตรงข้าม เช่น  おい (oi) เป็นคาเรียกขานเพื่อเรียกความสนใจระหว่างเพื่อน หรือบุคคลที่อาวุโสน้อยกว่า ปกติเป็นคาสาหรับผู้ชาย  こら (kora) เป็นคาเรียกขานในอาการรุนแรง ด้วยความโกรธหรือสั่งเตือน  これ (kore) เป็นคาเรียกขานผู้ที่อาวุโสน้อยกว่า  さあ (saa) เป็นคาเรียกขานเพื่อชักชวน  そら (sora) เป็นคาเรียกขานเพื่อกระตุ้นเตือน  それ (sore) เป็นคาเรียกขานเพื่อกระตุ้นเตือน  ちょっと (chotto) เป็นคาเรียกขานโดยไม่ได้ให้เกียรติ  ね (ne) หรือ ねえ(nee) เป็นคาเรียกขานแสดงความสนิทสนม หรือเพื่อเป็นการย้า  もし (moshi) เป็นคาเรียกขานฝ่ายตรงข้าม  もしもし (moshimoshi) เป็นคาเรียกขานฝ่ายตรงข้าม หรือเป็นคาพูดในการตอบรับโทรศัพท์  やあ (yaa) เป็นคาเรียกขานบุคคลที่เจอโดยไม่ได้ตั้งใจ  やい (yai) เป็นคาเรียกขานเพื่อเรียกร้องความสนใจจากฝ่ายตรงข้าม 3. คาขานรับ (応答 : outou) เป็นคาสาหรับการตอบขานรับให้แก่ฝ่ายตรงข้าม  ああ (aa) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย  いいえ (iie) เป็นคาแสดงการปฏิเสธอย่างสุภาพ  いや (iya) เป็นคาแสดงการปฏิเสธ  うん (un) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย  ええ (ee) เป็นคาตอบรับแสดงความเห็นด้วย  さあ (saa) เป็นคากล่าวตอบในเชิงปฏิเสธที่จะให้คาตอบ หรือแสดงความไม่แน่ใจ  はい (hai) เป็นคาตอบรับอย่างสุภาพเพื่อแสดงความเห็นด้วย 4. คาทักทาย (挨拶 : aisatsu) เป็นคาสาหรับทักทายฝ่ายตรงข้าม  おはよう (ohayou) เป็นคาทักทายตอนเช้า  こんにちは (konnichiwa) เป็นคาทักทายตอนกลางวัน  こんばんは (konbanwa) เป็นคาทักทายตอนเย็นหรือค่า  さようなら (sayounara) เป็นคาอาลา 5. คาให้เสียง(掛け声 : kakegoe) เป็นคาสาหรับเรียกแก่คู่สนทนาหรือฝ่ายตรงข้าม เพื่อสร้างจังหวะ แรงกระตุ้น หรืออื่นๆ  えい (ei) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลังหรือความกล้า ในการตัดสินใจที่จะกระทาการใด
  • 26.  そら (sora) เป็นคาเรียกสมาธิหรือความระมัดระวัง  どっこい (dokkoi) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลังก่อนจะกระทาการใด  どっこいしょ (dokkoisho) เป็นคาแสดงการรวบรวมกาลัง เพื่อเคลื่อนไหวร่างกายที่อ่อนล้า  よいしょ (yoisho) เป็นคาแสดงการรวบรวมพลังในการยกของหนัก หรือก่อนที่จะกระทาการใด บทที่9 คากริยานุเคราะห์ คากริยานุเคราะห์ (助動詞 : jodoushi) เป็นคาพ่วง (fuzokugo) สามารถผันได้ ใช้ต่อท้ายได้ทั้งคาหลัก (taigen) และคาแสดง (yougen) มีทั้งสิ้น 18 รูปแบบ คือ れる られる せる させる ない ぬ หรือ ん う よう まい たい たがる た หรือ だ ます そうだ らしい ようだ だ です ประเภทของคากริยานุเคราะห์ 1. แบ่งตามความหมาย เป็นการแบ่งตามหน้าที่หรือความหมายของคากริยานุเคราะห์นั้นๆ ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 23 ความหมาย คือ o ใช้ให้ทา (使役 : shieki) o ถูกกระทา (受身 : ukemi) o เป็นไปได้ (可能 : kanou) o ยกย่อง(尊敬 : sonkei) o เกิดขึ้นเอง (自発 : jihatsu) o สุภาพ(丁寧 : teinei) o ต้องการ (希望 : kibou) o หักล้าง (打ち消し : uchikeshi) o มั่นใจ(断定 : dantei) o อดีต (過去 : kako) o เสร็จสมบูรณ์ (完了 : kanryou) o สันนิษฐาน (推定 : suitei) o ต่อเนื่อง (存続 : sonzoku) o ตรวจทาน (確認 : kakunin) o คาดคะเน (推量 : suiryou) o ตั้งใจ (意志 : ishi) o คาดคะเนเชิงหักล้าง (打ち消し推量 : uchikeshi suiryou) o ตั้งใจเชิงหักล้าง (打ち消し意志 : ichikeshi ishi) o เปรียบเทียบ(比況 : hikyou) o ยกตัวอย่าง(例示 : reiji) o เล่าต่อ (伝聞 : denbun) o แสดงอาการ (様態 : youtai)
  • 27. o มั่นใจอย่างสุภาพ(丁寧な断定 : teinei na dantei) 2. แบ่งตามรูปแบบการผัน o ผันแบบคากริยา 5 ขั้น (五段 : godan) หรือ 1 ขั้นตัวล่าง (下一段 : shimo ichidan) o ผันแบบคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 o ผันแบบคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 o ผันแบบพิเศษ o ผันแบบไม่เปลี่ยนรูป 3. แบ่งตามการเชื่อม แบ่งตามลักษณะของคาศัพท์ที่ไปพ่วง ว่าคาศัพท์นั้นผันอยู่ในรูปแบบใด คือ mizenkei, renyoukei, shuushikei หรือ rentaikei การผันคากริยานุเคราะห์ การต่อท ้ าย ความหมาย ฟอร์มป กติ mizen kei renyou kei shuushi kei rentai kei katei kei meirei kei ฟอร์มในการผัน mizenk ei ถูกกระทา ยกย่อง เป็นไปได ้ เกิดขึ้นเอง れる れ れ れる れる れれ れろ れよ 1 ขั้นตัวล่าง られる られ られ られる られ る られ れ られろ られよ ใช ้ให้ทา せる せ せ せる せる せれ せろ せよ 1 ขั้นตัวล่าง させる させ させ させる させ る させ れ させろ させよ หักล ้าง ない なか ろ なかっ なく ない ない なけ れ x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 1 ぬ (ん) x ず ぬ (ん) ぬ (ん ) ね x แบบพิเศษ คาดคะเน ตั้งใจ ชักชวน う x x う (う ) x x ไม่เปลี่ยนรูป よう x x よう (よ う) x x mizenk ei shuushi kei คาดคะเนหัก ล ้าง ตั้งใจหักล ้าง まい x x まい (ま い) x x ไม่เปลี่ยนรูป renyouk ต ้องการ たい たか たかっ たい たい たけ x แบบคาคุณศัพท์
  • 28. ei ろ たく れ กลุ่มที่ 1 たがる たが ら たが ろ たがり たがっ たがる たが る たが れ x 5 ขั้ ิ น อดีต・ เสร็จสมบูรณ์ ต่อเนื่อง ตรวจทาน た (だ) たろ (だ ろ) x た (だ) た (だ ) たら (だ ら) x แบบพิเศษ สุภาพ ます ませ まし ょ まし ます ます ます れ ませ まし แบบพิเศษ แสดงอาการ そうだ そう だろ そうだ っ そうで そうに そうだ そう な そう なら x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 2 shuushi kei เล่าต่อ そうだ x そうで そうだ x x x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 2 สันนิษฐาน らしい x らしか っ らしく らしい らし い らし けれ x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 1 rentaike i เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง สันนิษฐาน ようだ よう だろ ようだ っ ようで ように ようだ よう な よう なら x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 2 คาหลัก คาช่วย มั่นใจ だ だろ だっ で だ (な ) なら x แบบคาคุณศัพท์ กลุ่มที่ 2 มั่นใจอย่างสุ ภาพ です でし ょ でし です (で す) x x แบบพิเศษ หน้าที่และความหมายของคากริยานุเคราะห์ 1. れる・られる ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการถูกกระทา การยกย่องการเป็นไปได้ หรือการเกิดขึ้นเอง  ถูกกระทา (受身 : ukemi) みんなから笑われる Minna kara warawareru ถูกทุกคนหัวเราะ 先生に怒られる Sensei ni okorareru ถูกอาจารย์โกรธ 2.
  • 29.  ยกย่อง(尊敬 : sonkei) 先生が読まれる Sensei ga yomareru อาจารย์อ่าน お客様が来られる Okyakusama ga korareru แขกมา 3.  เป็นไปได้ (可能 : kanou) 早く行かれる Hayaku ikareru ไปได ้เร็ว いつでも見られる Itsu demo mirareru ดูได ้ตลอดเวลา 4.  เกิดขึ้นเอง (自発 : jihatsu) มักใช้กับคากริยาที่เกี่ยวกับความคิดหรืออารมณ์ 昔のことが思い出される Mukashi no koto ga omoidasareru คิดถึงเหตุการณ์ในอดีต 病気の彼女が案じられる Byouki no kanojo ga anjirareru นึกเป็นห่วงแฟนที่ป่วย 5. せる・させる ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการสั่งให้ทา  ใช้ให้ทา (使役 : shieki) 彼に持たせる Kare ni motaseru ใช ้ให้เขาถือ 弟に届けさせる Otouto ni todokesaseru ใช ้ให้น้องชายเอาไปส่ง 6. ない・ぬ(ん) ใช้ต่อท้ายคากริยาหรือคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเชิงหักล้าง  หักล้าง (打ち消し : uchikeshi) そこには行かない Soko ni wa ikanai ไม่ไปที่นั่น 彼に持たせない Kare ni motasenai ไม่ให้เขาถือ  ※ 持たせない เกิดจากการผันดังนี้ 1. คากริยา คือ 持つ (motsu) ⇒ ถือ 2. ผันในรูป nai form เป็น 持た 3. เติมกริยานุเคราะห์ せる (สั่งให้ทา) เป็น 持たせる ⇒ ให้ถือ 4. ผันในรูป nai form เป็น 持たせ 5. เติมกริยานุเคราะห์ ない (หักล้าง) เป็น 持たせない ⇒ ไม่ให้ถือ
  • 30. ※ การจาแนกคาคุณศัพท์ ない และคากริยานุเคราะห์ ない ทาโดยการเปลี่ยน ない เป็น ぬ ถ้าสื่อความหมายไม่ได้ จะเป็นคาคุณศัพท์ แต่หากสื่อความหมายได้จะเป็นคากริยานุเคราะห์ 【คาคุณศัพท์】 彼の部屋は汚くない kare no heya wa kitanakunai ห้องของเขาไม่สกปรก 【คากริยานุเคราะห์】 彼は部屋を汚さない kare wa heya o yogosanai เขาไม่ทาให้ห้องสกปรก 7. う・よう ใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) และคากริยานุเคราะห์บางคา ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการคาดคะเน การมุ่งมั่น และการชักชวน  คาดคะเน (推量 : suiryou) 友達が多いと楽しかろう tomodachi ga ooi to tanoshikarou มีเพื่อนเยอะก็น่าจะสนุก 彼は中学生だろう kare wa chuugakusei darou เขาน่าจะเป็นนักเรียนมัธยมต ้น 8.  ตั้งใจ (意志 : ishi) 毎日、日本語を勉強しよう mainichi, nihongo o benkyou shiyou ตั้งใจจะเรียนภาษาญี่ปุ่นทุกวัน 人から感謝されよう hito kara kansha sareyou ตั้งใจจะได ้รับการขอบคุณจากผู้คน (คือตั้งใจจะทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น) 9.  ชักชวน (勧誘 : kanyuu) みんなで協力しよう minna de kyouryoku shiyou ร่วมมือกันทุกคนเถอะ みんなに見せよう minna ni miseyou ให้ทุกคนดูเถอะ 10. まい ใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) และคากริยานุเคราะห์บางคา ที่ผันอยู่ในรูป mizenkei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการคาดคะเนเชิงหักล้าง หรือตั้งใจเชิงหักล้าง  คาดคะเนเชิงหักล้าง (打ち消しの推量 : uchikeshi no suiryou) 彼ならこんなことをしまい Kare nara konna koto o shimai ถ ้าเป็นเขาคงไม่ทาแบบนี้ 彼に読ませまい Kare ni yomasemai คงไม่ให้เขาอ่าน 11.
  • 31.  ตั้งใจเชิงหักล้าง (打ち消しの意志 : uchikeshi no ishi) 彼と話すまい Kare to hanasumai ตั้งใจจะไม่พูดกับเขา もう失敗は許されまい Mou shippai wa yurusaremai การผิดพลาดจะไม่ได ้รับการยกโทษให้อีกแล ้ว 12. たい・たがる ใช้ต่อท้ายคากริยาหรือคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการต้องการ  การต้องการ (希望 : kibou) たがる ใช้ในกรณีของบุคคลอื่น 彼と話したい Kare to hanashitai อยากพูดกับเขา 彼に聞かせたい Kare ni kikasetai อยากให้เขาได ้ยิน 彼は外に行きたがる Kare wa soto ni ikitagaru เขาท่าจะอยากออกไปข ้างนอก 彼は私に言わせたがる Kare wa watashi ni iwasetagaru เขาท่าจะอยากให้ฉันพูด 13. ます ใช้ต่อท้ายคากริยาและคากริยานุเคราะห์ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei เพื่อให้เกิดความสุภาพ  คาสุภาพ(丁寧 : teinei) 本を読みます Hon o yomimasu อ่านหนังสือ (ประโยคสุภาพ) 漢字を書かせます Kanji o kakasemasu ให้เขียนคันจิ (ประโยคสุภาพ) 14. た(だ) ใช้ต่อท้ายคาแสดง และคากริยานุเคราะห์ส่วนใหญ่ ที่ผันอยู่ในรูป renyoukei หรือ nai form เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับอดีต การเสร็จสมบูรณ์ การต่อเนื่อง หรือการตรวจทาน  อดีต (過去 : kako) 今朝7時に起きた Kesa shichiji ni okita เมื่อเช ้าตื่น 7 โมง そこに行きたかった Soko ni ikitakatta (เคย) อยากไปที่นั่น 15.  เสร็จสมบูรณ์ (完了 : kanryou) แสดงความหมายที่เพิ่งเกิดเหตุการณ์เสร็จสิ้น すでに見た Sude ni mita やっと宿題が終わった Yatto shukudai ga owatta
  • 32. ดูเสร็จแล ้ว ในที่สุดก็ทาการบ ้านเสร็จ 16.  เกิดต่อเนื่อง (存続 : sonzoku) ずっと歩きつづけた Zutto arukitsutzuketa เดินมาตลอด ずっと歩きつづけさせられた Zutto arukitsutzukesaserareta ถูกทาให้เดินมาตลอด 17.  ตรวจสอบ (確認 : kakunin) 帰る時間を尋ねた Kaeru jikan o tazuneta ถามเวลาที่จะกลับ 明日の準備をさせた Ashita no junbi o saseta ให้เตรียมสาหรับวันพรุ่งนี้ 18. そうだ ใช้ต่อท้ายคากริยาที่ผันอยู่ในรูป renyoukei หรือต่อท้ายต้นศัพท์ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 และ 2 เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการบอกเล่าสภาพ และใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) ที่ผันอยู่ในรูป shuushikei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการเล่าต่อ  แสดงสภาพ (様態 : youtai) 雨が降りそうだ Ame ga furisouda ฝนท่าจะตก 彼は優秀そうだ Kare wa yuushu souda เขาท่าจะเก่ง ケーキがおいしそうだ Keeki ga oishisouda เค ้กท่าจะอร่อย 19.  เล่าต่อ (伝聞 : denbun) 雨が降るそうだ Ame ga furu souda ได ้ยินว่าฝนจะตก 彼は優秀だそうだ Kare wa yuushu souda ว่ากันว่าเขาเก่ง ここのケーキがおいしいそうだ Koko no keeki ga oishii souda พูดกันว่าเค ้กที่นี่อร่อย 20. らしい ใช้ต่อท้ายคาหลัก คากริยา คาคุณศัพท์กลุ่มที่ 1 และคากริยานุเคราะห์ ที่ผันในรูป shuushikei หรือใช้ต่อท้ายต้นศัพท์ (gokan) ของคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 หรือใช้ต่อท้ายคาช่วย เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการสันนิษฐาน
  • 33.  สันนิษฐาน (推定 : suitei) 彼らは大学生らしい Karera wa daigakusei rashii พวกเขาน่าจะเป็นนักศึกษา 彼の家は遠いらしい Kare no ie wa tooi rashii บ ้านของเขาน่าจะอยู่ไกล 試験は来月に行われるらしい Shiken wa raigetsu ni okonawareru rashii การสอบน่าจะมีขึ้นในเดือนหน้า 彼らが行くらしい Karera ga iku rashii พวกเขาน่าจะไป 彼がまじめらしい Kare ga majime rashii เขาน่าจะขยัน 最初はここかららしい Saisho wa koko kara rashii ตอนแรกน่าจะเริ่มจากที่นี่ 21. ようだ ใช้ต่อท้ายคาช่วยคาหลัก (kakujoshi) คือ の หรือใช้ต่อท้ายคาแสดง (yougen) หรือคากริยานุเคราะห์บางส่วน ที่ผันอยู่ในรูป rentaikei เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการยกตัวอย่าง หรือการสันนิษฐาน  เปรียบเทียบ(比況 : hikyou) 彼女はまるで花のようだ Kanojo wa marude hana no you da เธอเปรียบประดุจดอกไม้ 22.  ยกตัวอย่าง(例示 : reiji) 田中さんのような先生になりたい Tanakasan no you na sensei ni naritai อยากจะเป็นอาจารย์เหมือนกับคุณทานากะ 23.  สันนิษฐาน (推定 : suitei) ここに誰か来たようだ Koko ni dare ka kita you da ดูเหมือนว่ามีใครบางคนมาที่นี่ 24. だ ใช้ต่อท้ายคาหลัก (taigen) หรือคาช่วยบางคา เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการแสดงความมั่นใจ  มั่นใจ(断定 : dantei) 君は大学生だ この選択が一番正しいのだ
  • 34. Kimi wa daigakusei da เธอเป็นนักศึกษา Kono sentaku ga ichiban tadashii no da การเลือกนี้เป็นสิ่งที่ถูกต ้องที่สุด ※ だ มีลักษณะการใช้งานในหลายรูปแบบ ดังนี้ これは私の本だ Kore wa watashi no hon da นี่คือหนังสือของฉัน ⇒ เป็นคากริยานุเคราะห์แสดงความมั่นใจ この本はきれいだ Kono hon wa kirei da หนังสือเล่มนี้สวย ⇒ เป็นการผันคาคุณศัพท์กลุ่มที่ 2 ในรูปจบประโยค (shuushikei) この本は読んだ Kono hon wa yonda หนังสือเล่มนี้อ่านแล้ว ⇒ เป็นคากริยานุเคราะห์แสดงอดีต・การจบสมบูรณ์・การต่อเนื่อง・การตรวจทาน 25. です ใช้ต่อท้ายคาหลัก (taigen) หรือคาช่วยบางคา เพื่อให้เกิดความหมายเกี่ยวกับการแสดงความมั่นใจอย่างสุภาพ  มั่นใจอย่างสุภาพ(丁寧な断定 : teinei na dantei) 君は大学生です Kimi wa daigakusei desu เธอเป็นนักศึกษาครับ/ค่ะ この選択が一番正しいのです Kono sentaku ga ichiban tadashii no desu การเลือกนี้เป็นสิ่งที่ถูกต ้องที่สุดครับ/ค่ะ  บทที่10 คาช่วย คาช่วย (助詞 : joshi) เป็นคาพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคาอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบายความสัมพันธ์กับคานั้นกับคาอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคาอิสระ แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1. คาช่วยสถานะ (格助詞 : kakujoshi) เป็นคาที่ต่อท้ายคาหลัก (taigen) เพื่อแสดงว่าคาหลักนั้นมีสถานะเกี่ยวข้องกับคาอื่นในประโยคอย่างไร ประกอบด้วย 10 คา คือ が の を に へ と より から で や 2. หน้าที่ของคาช่วยสถานะ
  • 35. 3.  が เป็นคาช่วยขั้นพื้นฐานที่สุด สามารถใช้ในประโยคที่ภาคแสดงเป็นคากริยา คาคุณศัพท์ หรือคานาม ก็ได้  ชี้ประธาน 私が本を読みます Watashi ga hon o yomimasu ฉันอ่านหนังสือ 桜がきれいです Sakura ga kirei desu ดอกซากุระสวย   ชี้กรรม ในกรณีที่ใช้กับคากริยาหรือคาคุณศัพท์บางชนิด 日本語がわかりません Nihongo ga wakarimasen ไม่เข ้าใจภาษาญี่ปุ่น りんごが好きです Ringo ga suki desu ชอบแอปเปิ้ล 4.  の เป็นคาช่วยชี้ความสัมพันธ์ หรือเปลี่ยนสถานะกริยาวลีเป็นนามวลี หรือชี้ประธานในนามวลี  ชี้ความสัมพันธ์ これは私の本です Kore wa watashi no hon desu นี่คือหนังสือของฉัน 私の日本語の 先生は田中さんです Watashi no nihongo no sensei wa Tanaka san desu อาจารย์ภาษาญี่ปุ่นของฉันคือคุณทานากะ バンコクの夏の気温は三十五度です Bankoku no natsu no kion wa sanjuugo do desu อุณหภูมิในหน้าร้อนของกรุงเทพคือ 35 องศา   เปลี่ยนสถานะกริยาวลีเป็นนามวลี 友達が来るのを待っています Tomodachi ga kuru no o matte imasu กาลังรอเพื่อนมา 私は本を読むのが好きです Watashi wa hon o yomu no ga suki desu ฉันชอบอ่านหนังสือ 
  • 36.  ชี้ประธานในนามวลี きみの探している物は財布ですか Kimi no sagashiteiru mono wa saifu desu ka สิ่งที่เธอกาลังหาคือกระเป๋าสตางค์หรือเปล่า 桜の咲く頃に、もう一度会いましょう Sakura no saku koro ni, mou ichido aimashou แล ้วพบกันอีกครั้งหนึ่งช่วงที่ซากุระบาน 5.  を เป็นคาช่วยที่ใช้กับประโยคที่มีภาคแสดงเป็นคากริยาเท่านั้น  ชี้สิ่งที่กล่าวถึง ซึ่งจะเป็นการกระทาโดยตรงหรือเป็นนามธรรมก็ได้ 本を読む Hon o yomu อ่านหนังสือ 人を愛する Hito o ai suru รักเพื่อนมนุษย์ うそを言う Uso o iu พูดโกหก かぜを引く Kaze o hiku เป็นหวัด   ชี้สถานที่ซึ่งเกิดการเดินทาง (คากริยาเป็นอกรรมกริยา) 道路を渡る Douro o wataru ข ้ามถนน 歩道を歩く Hodou o aruku เดินบนทางเท ้า   ชี้สถานที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น (คากริยาเป็นอกรรมกริยา) 部屋を出る Heya o deru ออกจากห้อง 空港を出発する Kuukou o shuppatsu suru ออกเดินทางจากสนามบิน   ชี้บุคคลหรือสิ่งที่ถูกกระทา 客を満足させる Kyaku o manzoku saseru ทาให้แขกพอใจ 子供を笑わせる Kodomo o warawaseru ทาให้เด็กหัวเราะ 6.
  • 37.  に เป็นคาช่วยที่มีลักษณะการใช้งานหลายรูปแบบ  ชี้สถานที่ปลายทาง มีความหมายคล้ายกันกับへ 家に帰る Ie ni kaeru กลับบ ้าน 部屋に戻る Heya ni modoru กลับห้อง   ชี้สถานที่ซึ่งผลของการกระทาคงเหลืออยู่ ホテルに泊まる Hoteru ni tomaru นอนที่โรงแรม 学校にいる Gakkou ni iru อยู่ที่โรงเรียน   ชี้บุคคลหรือสิ่งที่เป็นเป้าหมาย 他人に頼る Tanin ni tayoru พึ่งคนอื่น 車に詳しい Kuruma ni kuwashii เชี่ยวชาญเรื่องรถยนต์   ชี้ฝ่ายตรงข้ามที่เป็นคู่กรณี และหากมีคาช่วย を จะหมายถึงทิศทางด้วย 友達に会う Tomodachi ni au พบเพื่อน 恋人に手紙を書く Koibito ni tegami o kaku เขียนจดหมายถึงแฟน   ชี้ผู้ที่มีอุปการะ (ผู้ที่ทาให้) 先生に日本語を教わる Sensei ni nihongo o osowaru เรียนภาษาญี่ปุ่นจากอาจารย์ 友達にプレゼントをもらった Tomodachi ni purezento o moratta ได ้รับของขวัญจากเพื่อน   ชี้เวลาที่เกิดการกระทา 十一時に寝る Juuichi ji ni neru นอนตอน 11 น. 去年に生まれた Kyonen ni umareta เกิดเมื่อปีที่แล ้ว 