SlideShare a Scribd company logo
ประวัติความเป็นมาและ
การพัฒนาของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์
คิดค้นเครื่องมือในการคานวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่ม
จากเครื่องมือในการคานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus)
ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี
มาแล้ว
ลูกคิด (Abacus)
 พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้
ช่วยในการคํานวณขึ้นมาเรียกว่า Napier’s Bones เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายกับตาราง
สูตรคูณในปัจจุบัน
 พ.ศ.2173 วิลเลียมออตเทรต (William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้
ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคํานวณ ( Slide Rule) ซึ่งต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้าง
คอมพิวเตอร์แบบอนาลอก
 พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์
เครื่องบวกลบโดยใช้หลัการหมุนของฟันเฟืองและการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุนไป
ครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด
Pascal’s Calculato
 พ.ศ.2214 กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz ) นัก
คณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงเครื่องคิดเลขปาสคาล ให้ทํางานได้
ดีกว่าเดิมและเขายังค้นพบเลขฐานสอง (Binary number)
 พ.ศ.2288 โจเซฟแมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie Jacquard) เป็นชาวฝรั่งเศส
ได้คิด เครื่องทอผ้าโดยใช้คําสั่งจากบัตรเจาะรูควบคุมการทดผ้าให้มีสีและ
ลวดลายต่าง ๆ
บัตรเจาะรู
พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles babbage)
ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคํานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น
ต่างๆทางคณิตศาสตร์ การทํางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วน
คํานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอนํ้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ใน
บัตรเจาะรู คํานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจํา ก่อนจะพิมพ์ออกมา
ทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นํามาพัฒนาสร้างเครื่อง-คอมพิวเตอร์
สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
เลดี้ เอดา ออคุสตาเลฟเลค ( Lady Ada Augusta Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่
เข้าใจผลงานของแบบเบจได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคํานวณของแบบเบจเพื่อแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ต่อมาเลดี้ เอดา ออคุสตาเลฟเลค จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น
โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

 พ.ศ.2393 ยอร์จบูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิด
ระบบพีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้อธิบายหลัก
เหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือ
 True (On) และFalse (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะพื้นฐาน
ได้แก่ NOT AND และ OR ต่อมาระบบเลขฐานสอง และ Boolean
Algebra ก็ได้ถูกนํามาดัดแปลงให้เข้ากับวงจรไฟฟ้าซึ่งมีสภาวะ 2 แบบ
คือ เปิด , ปิดจึงนับเป็นรากฐานของการออกแบบวงจรในระบบ
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน (Digital Computer)
 พ.ศ.2480-2481 ดร.จอห์น วินเซนต์อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent
Atansoff) และคลิฟฟอร์ด แบรี่ (Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC (
Atanasoff-Berry) ขึ้นโดยได้นําหลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC ถือเป็น
เครื่องคํานวณเครื่องแรกที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
Atansoff ABC Computer
 พ.ศ.2487 ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน (Howard Aiken) แห่ง
มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด
 ร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็มได้สร้างเครื่อง MARK I เป็นผลสําเร็จ
แต่อย่างไรก็ตามเครื่อง MARK I นี้ยังไม่ใช่คอมพิวเตอร์ที่แท้จริงแต่เป็น
เครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดใหญ่เท่านั้น
 หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมาย
หลายขนาด ทําให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง
 โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
 เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคํานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต
(Mauchly and Eckert) ได้นําแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า ENIAC (Electronic Numericial Integrator and
Calculator) ซึ่งต่อมาได้ทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer)
ขึ้นเพื่อใช้ในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําปี




 ENIAC
 ซึ่งต่อมาได้ทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal
Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําปี
นับเป็นการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง ยุคแรกของ
คอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอด
สูญญากาศ



 UNIVAC
 ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
 ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทําให้
ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง
 ทํางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) เท่านั้น
 เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน





 มีการนําทรานซิสเตอร์มาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์จึงทําให้เครื่องมีขนาด
เล็กลงและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานให้มีความรวดเร็วและ
แม่นยํามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทําให้ง่ายต่อการเขียน
โปรแกรมสําหรับใช้กับเครื่อง

 ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
 ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนํา (Semi-Conductor) เป็น
อุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศเนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพใน
การทํางานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอดทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มี
ขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนตํ่า ทํางานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
 เก็บข้อมูลได้โดยใช้ส่วนความจําวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)
 มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS)
 สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทํางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)
 เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี
เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit)
หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทําให้ส่วนประกอบและวงจร
ต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการ
นําเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทําให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก
 นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base
Management Systems : DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้
สามารถทํางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้
สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing)


 ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่
(Large Scale Integration : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
 ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond
: mS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)
 ทํางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
 เป็นยุคที่นําสารกึ่งตัวนํามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale
Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน
และมีการประดิษฐ์
 ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทําให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมี
ความสามารถในการทํางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทําให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
(Personal Computer) ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคนี้
 ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจร
รวมสเกลขนาดใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
 มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที
(Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคําสั่ง
ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS)

ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาด
เล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถ
สูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย
หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น สามารถจําแนก
ออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
1. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลักการประมวลผล
2.ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์
ของการใช้งาน
3.ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามความสามารถ
ของระบบ
 1.1 คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer)
 หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด ทํางานโดยใช้ข้อมูลที่
มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อแสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่
เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกล
หน้าปัทม์และเข็มชี้
 1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer)
 คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทํางานทั่วๆ ไป เป็นเครื่องมือประมวลผล
ข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลง
แบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า
หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ
(Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําให้ผลลัพธ์
เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง
 1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
 เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน
ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงาน
เฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยาน
อวกาศ ที่ใช้Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้Digital
Computerในการคํานวณระยะทาง เป็นต้นการทํางานแบบผสมผสานของ
คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจําเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ
(Converter) เช่นเดิม

 2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)
 หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้
ทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม
หรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว
 2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer)
 หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทํางาน (Flexible) โดย
ได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดย
ระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทํางานอะไร ก็เพียงแต่ออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใช้
งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้
 3.1 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
 หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูง
ที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการ
การประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ
งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์
อากาศ เป็นต้น

 3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
 หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจําและความเร็วน้อยลง
สามารถใช้ข้อมูลและคําสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล (Family) เดียวกัน
ได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบ
เครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่
เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได้สามารถทํางานได้
พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน
(Multi User)
 3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
 ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จําเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมี
ราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง
เรียกว่า เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานร่วมกับอุปกรณ์
ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง
(Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน
และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า
โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ

 3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
 หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความจํา
และความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว
จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)
 ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมาก อาจ
เท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลง
มาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน
ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัทที่ผลิต
ไมโครคอมพิวเตอร์ออกจําหน่ายจนประสบความสําเร็จเป็นบริษัทแรก
คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
 เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ

 3.4.1 แบบติดตั้งใช้งานอ
 ยู่กับที่บนโต๊ะทํางาน
 (Desktop Computer)
3.4.2 แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer)
สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้า
จากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียก
ตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer
หรือ Notebook Computer

ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
Lorpiyanon Krittaya
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
juriporn chuchanakij
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
Montida Phayawet
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
tapatss
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Khunakon Thanatee
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
Sircom Smarnbua
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
Yosiri
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Viewers also liked

Teoria de ofimatica
Teoria de ofimaticaTeoria de ofimatica
Teoria de ofimatica
Icetlucario
 
Mi pasatiempo favorito
Mi pasatiempo favoritoMi pasatiempo favorito
Mi pasatiempo favorito
Valęry Chąvź
 
Primeros auxilios modulo5
Primeros auxilios modulo5Primeros auxilios modulo5
Primeros auxilios modulo5
Ana Paz
 
Numeros Complejos
Numeros ComplejosNumeros Complejos
Numeros Complejos
JCMMDK
 
PG&E Reach and CARE Program
PG&E Reach and CARE ProgramPG&E Reach and CARE Program
PG&E Reach and CARE ProgramGabriel Kirk
 
CV of CCEquibal
CV of CCEquibalCV of CCEquibal
CV of CCEquibal
Chuckie Co Equibal
 
Msm presentation
Msm presentationMsm presentation
Msm presentation
MigrationSM
 
Metacognición y Autorregulación
Metacognición y AutorregulaciónMetacognición y Autorregulación
Metacognición y Autorregulación
Gilberto David Velásquez Bustamante
 
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHT
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHTAN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHT
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHTNOR HANIS HASSAN
 
Ptpp5
Ptpp5Ptpp5
Lolololollol
LolololollolLolololollol
Lolololollol
maria claudia
 
Ejercicios de funciones
Ejercicios de funcionesEjercicios de funciones
Ejercicios de funciones
manuel macea
 
Marian’s retirement
Marian’s retirementMarian’s retirement
Marian’s retirement
Marius Coomans
 
resume fay_simpson2016_2
resume fay_simpson2016_2resume fay_simpson2016_2
resume fay_simpson2016_2Fay Simpson
 

Viewers also liked (17)

Teoria de ofimatica
Teoria de ofimaticaTeoria de ofimatica
Teoria de ofimatica
 
Mi pasatiempo favorito
Mi pasatiempo favoritoMi pasatiempo favorito
Mi pasatiempo favorito
 
Primeros auxilios modulo5
Primeros auxilios modulo5Primeros auxilios modulo5
Primeros auxilios modulo5
 
Numeros Complejos
Numeros ComplejosNumeros Complejos
Numeros Complejos
 
PG&E Reach and CARE Program
PG&E Reach and CARE ProgramPG&E Reach and CARE Program
PG&E Reach and CARE Program
 
CV of CCEquibal
CV of CCEquibalCV of CCEquibal
CV of CCEquibal
 
Msm presentation
Msm presentationMsm presentation
Msm presentation
 
SUSMA_GUPTA_CV
SUSMA_GUPTA_CVSUSMA_GUPTA_CV
SUSMA_GUPTA_CV
 
Metacognición y Autorregulación
Metacognición y AutorregulaciónMetacognición y Autorregulación
Metacognición y Autorregulación
 
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHT
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHTAN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHT
AN INTELLIGENT RECOGNTION SYSTEM FOR HUMAN HEIGHT
 
Ptpp5
Ptpp5Ptpp5
Ptpp5
 
Lolololollol
LolololollolLolololollol
Lolololollol
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
Ejercicios de funciones
Ejercicios de funcionesEjercicios de funciones
Ejercicios de funciones
 
Marian’s retirement
Marian’s retirementMarian’s retirement
Marian’s retirement
 
resume fay_simpson2016_2
resume fay_simpson2016_2resume fay_simpson2016_2
resume fay_simpson2016_2
 
fun powerpoint!!
fun powerpoint!!fun powerpoint!!
fun powerpoint!!
 

Similar to ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์

ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
nutty_npk
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
nutty_npk
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
phonon701
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
พัน พัน
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Chadarat37
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
Supitcha Kietkittinan
 

Similar to ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ (20)

2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Com1 2
Com1 2Com1 2
Com1 2
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2.
  • 5.  พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ ช่วยในการคํานวณขึ้นมาเรียกว่า Napier’s Bones เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายกับตาราง สูตรคูณในปัจจุบัน  พ.ศ.2173 วิลเลียมออตเทรต (William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคํานวณ ( Slide Rule) ซึ่งต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้าง คอมพิวเตอร์แบบอนาลอก  พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์ เครื่องบวกลบโดยใช้หลัการหมุนของฟันเฟืองและการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุนไป ครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด Pascal’s Calculato
  • 6.  พ.ศ.2214 กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz ) นัก คณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงเครื่องคิดเลขปาสคาล ให้ทํางานได้ ดีกว่าเดิมและเขายังค้นพบเลขฐานสอง (Binary number)  พ.ศ.2288 โจเซฟแมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie Jacquard) เป็นชาวฝรั่งเศส ได้คิด เครื่องทอผ้าโดยใช้คําสั่งจากบัตรเจาะรูควบคุมการทดผ้าให้มีสีและ ลวดลายต่าง ๆ บัตรเจาะรู
  • 7. พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles babbage) ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคํานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น ต่างๆทางคณิตศาสตร์ การทํางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วน คํานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอนํ้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ใน บัตรเจาะรู คํานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจํา ก่อนจะพิมพ์ออกมา ทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นํามาพัฒนาสร้างเครื่อง-คอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ เลดี้ เอดา ออคุสตาเลฟเลค ( Lady Ada Augusta Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่ เข้าใจผลงานของแบบเบจได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคํานวณของแบบเบจเพื่อแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ต่อมาเลดี้ เอดา ออคุสตาเลฟเลค จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก 
  • 8.  พ.ศ.2393 ยอร์จบูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิด ระบบพีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้อธิบายหลัก เหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือ  True (On) และFalse (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะพื้นฐาน ได้แก่ NOT AND และ OR ต่อมาระบบเลขฐานสอง และ Boolean Algebra ก็ได้ถูกนํามาดัดแปลงให้เข้ากับวงจรไฟฟ้าซึ่งมีสภาวะ 2 แบบ คือ เปิด , ปิดจึงนับเป็นรากฐานของการออกแบบวงจรในระบบ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน (Digital Computer)
  • 9.  พ.ศ.2480-2481 ดร.จอห์น วินเซนต์อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และคลิฟฟอร์ด แบรี่ (Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC ( Atanasoff-Berry) ขึ้นโดยได้นําหลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC ถือเป็น เครื่องคํานวณเครื่องแรกที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ Atansoff ABC Computer
  • 10.  พ.ศ.2487 ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน (Howard Aiken) แห่ง มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด  ร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็มได้สร้างเครื่อง MARK I เป็นผลสําเร็จ แต่อย่างไรก็ตามเครื่อง MARK I นี้ยังไม่ใช่คอมพิวเตอร์ที่แท้จริงแต่เป็น เครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดใหญ่เท่านั้น  หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมาย หลายขนาด ทําให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง  โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
  • 11.  เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคํานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ได้นําแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า ENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่งต่อมาได้ทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําปี      ENIAC
  • 12.  ซึ่งต่อมาได้ทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําปี นับเป็นการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง ยุคแรกของ คอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอด สูญญากาศ     UNIVAC
  • 13.  ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1  ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทําให้ ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง  ทํางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) เท่านั้น  เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน     
  • 14.  มีการนําทรานซิสเตอร์มาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์จึงทําให้เครื่องมีขนาด เล็กลงและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานให้มีความรวดเร็วและ แม่นยํามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทําให้ง่ายต่อการเขียน โปรแกรมสําหรับใช้กับเครื่อง 
  • 15.  ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2  ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนํา (Semi-Conductor) เป็น อุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศเนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพใน การทํางานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอดทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มี ขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนตํ่า ทํางานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น  เก็บข้อมูลได้โดยใช้ส่วนความจําวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)  มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS)  สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทํางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)  เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
  • 16.  คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทําให้ส่วนประกอบและวงจร ต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการ นําเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทําให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก  นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Systems : DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ สามารถทํางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้ สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing)  
  • 17.  ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3  ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก  ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)  ทํางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
  • 18.  เป็นยุคที่นําสารกึ่งตัวนํามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์  ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทําให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมี ความสามารถในการทํางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทําให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคนี้
  • 19.  ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4  ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจร รวมสเกลขนาดใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก  มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS) 
  • 20. ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาด เล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถ สูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
  • 21.
  • 22. การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น สามารถจําแนก ออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ 1. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลักการประมวลผล 2.ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ ของการใช้งาน 3.ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามความสามารถ ของระบบ
  • 23.  1.1 คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer)  หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด ทํางานโดยใช้ข้อมูลที่ มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อแสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่ เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกล หน้าปัทม์และเข็มชี้
  • 24.  1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer)  คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทํางานทั่วๆ ไป เป็นเครื่องมือประมวลผล ข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลง แบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําให้ผลลัพธ์ เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง
  • 25.  1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงาน เฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยาน อวกาศ ที่ใช้Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้Digital Computerในการคํานวณระยะทาง เป็นต้นการทํางานแบบผสมผสานของ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจําเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม 
  • 26.  2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)  หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้ ทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว
  • 27.  2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer)  หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทํางาน (Flexible) โดย ได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดย ระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทํางานอะไร ก็เพียงแต่ออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใช้ งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้
  • 28.  3.1 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)  หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูง ที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการ การประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์ อากาศ เป็นต้น 
  • 29.  3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)  หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจําและความเร็วน้อยลง สามารถใช้ข้อมูลและคําสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล (Family) เดียวกัน ได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบ เครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่ เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได้สามารถทํางานได้ พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User)
  • 30.  3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)  ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จําเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมี ราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานร่วมกับอุปกรณ์ ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ 
  • 31.  3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)  หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความจํา และความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)  ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมาก อาจ เท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลง มาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัทที่ผลิต ไมโครคอมพิวเตอร์ออกจําหน่ายจนประสบความสําเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
  • 32.  เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ   3.4.1 แบบติดตั้งใช้งานอ  ยู่กับที่บนโต๊ะทํางาน  (Desktop Computer) 3.4.2 แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้า จากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียก ตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer 