SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
พิกัด (Coordinate)
ในระบบพิกัดฉาก จะมีเส้นจานวนสองเส้นตั้งฉากตัดกันที่จุดกาเนิด (0, 0) โดยแกน xและแกน y
เป็นเส้นจานวนตามแนวนอนและแนวตั้ง ตามลาดับ
การตัดกันนี้ ทาให้ระนาบถูกแบ่งเป็น 4 ส่วน เรียกว่า ควอดแรนท์ (quadrant, Q) โดยเริ่มจาก Q1 (ทั้ง x และ
y เป็นบวก) ทวนเข็มนาฬิกาไปดังภาพ
จากตัวอย่างนี้ จะได้พิกัด (x, y) ของจุด 4 จุด โดยที่ Q1 และ Q4 (จากจุดกาเนิดไปทางขวาของแกนนอน)
จะได้ค่า +x ในขณะที่ Q2 และ Q3 (จากจุดกาเนิดไปทางซ้ายของแกนนอน) จะเป็นค่า –x
การพิจารณาค่า y ในแกนตั้งก็จะทาในลักษณะเดียวกัน นั้นคือ Q1 และ Q2 (จากจุดกาเนิดขึ้นบน)
จะได้ +y ในขณะที่ Q3 และ Q4(จากจุดกาเนิดลงมา) จะกลายเป็น -y
จุด (Point)
- ระยะห่างระหว่างจุด P และ Q(เส้นประ) หาได้จาก
อยากรู้ว่าสูตรนี้มายังไง ให้นึกถึงทฤษฎีของคุณปิทากอรัส นะจ๊ะ
- จุดกึ่งกลางระหว่างสองจุดนี้,
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y จะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วนแต่ละส่วนเรียกว่าจตุภาค (Quadrant)
จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 1
จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 2
จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 3
จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 4
การหาพื้นที่ของรูปนี้ คานวณได้โดยการนาแต่ละจุดคู่อันดับมาเรียงทวนเข็มนาฬิกา ในสูตรข้างล่าง
(คูณลงเป็นบวก คูณขึ้นเป็นลบ และอย่าลืมเอาจุดเริ่มมาเป็นจุดสุดท้ายด้วยนะครับ)
ดังนั้นรูปนี้ก็คูณลง 6ครั้ง คูณขึ้น(ติดลบ) 6 ครั้ง ถ้าเผลอเรียงลาดับจุดตามเข็มนาฬิกาก็ไม่ต้องตกใจ
คาตอบจะเป็นค่าลบ ก็เอาเฉพาะตัวเลขที่ได้แทนพื้นที่นั่นเอง (แต่ถ้าเรียงสะเปะสะปะ
หาพื้นที่ยังไงก็ไม่ถูกครับ ^.^’
จะเอาสูตรนี้ไปหาพื้นที่รูป 3, 4, 5, …, n เหลี่ยม ก็ทาได้นะครับ
ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/430327
http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/100-1
http://chatchaimathvru.blogspot.com/2013/09/rectangular-coordinate-system.html

More Related Content

What's hot

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยguest00db6d99
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยguest00db6d99
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นguesta6fb6b
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7Sammy'Zawa Zatanz
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติPao Pro
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1kroojaja
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 

What's hot (16)

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้น
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 

พิกัด

  • 1. พิกัด (Coordinate) ในระบบพิกัดฉาก จะมีเส้นจานวนสองเส้นตั้งฉากตัดกันที่จุดกาเนิด (0, 0) โดยแกน xและแกน y เป็นเส้นจานวนตามแนวนอนและแนวตั้ง ตามลาดับ การตัดกันนี้ ทาให้ระนาบถูกแบ่งเป็น 4 ส่วน เรียกว่า ควอดแรนท์ (quadrant, Q) โดยเริ่มจาก Q1 (ทั้ง x และ y เป็นบวก) ทวนเข็มนาฬิกาไปดังภาพ จากตัวอย่างนี้ จะได้พิกัด (x, y) ของจุด 4 จุด โดยที่ Q1 และ Q4 (จากจุดกาเนิดไปทางขวาของแกนนอน) จะได้ค่า +x ในขณะที่ Q2 และ Q3 (จากจุดกาเนิดไปทางซ้ายของแกนนอน) จะเป็นค่า –x การพิจารณาค่า y ในแกนตั้งก็จะทาในลักษณะเดียวกัน นั้นคือ Q1 และ Q2 (จากจุดกาเนิดขึ้นบน) จะได้ +y ในขณะที่ Q3 และ Q4(จากจุดกาเนิดลงมา) จะกลายเป็น -y จุด (Point) - ระยะห่างระหว่างจุด P และ Q(เส้นประ) หาได้จาก อยากรู้ว่าสูตรนี้มายังไง ให้นึกถึงทฤษฎีของคุณปิทากอรัส นะจ๊ะ - จุดกึ่งกลางระหว่างสองจุดนี้,
  • 2. สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y จะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วนแต่ละส่วนเรียกว่าจตุภาค (Quadrant) จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 1 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 2 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 3 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 4 การหาพื้นที่ของรูปนี้ คานวณได้โดยการนาแต่ละจุดคู่อันดับมาเรียงทวนเข็มนาฬิกา ในสูตรข้างล่าง (คูณลงเป็นบวก คูณขึ้นเป็นลบ และอย่าลืมเอาจุดเริ่มมาเป็นจุดสุดท้ายด้วยนะครับ) ดังนั้นรูปนี้ก็คูณลง 6ครั้ง คูณขึ้น(ติดลบ) 6 ครั้ง ถ้าเผลอเรียงลาดับจุดตามเข็มนาฬิกาก็ไม่ต้องตกใจ คาตอบจะเป็นค่าลบ ก็เอาเฉพาะตัวเลขที่ได้แทนพื้นที่นั่นเอง (แต่ถ้าเรียงสะเปะสะปะ หาพื้นที่ยังไงก็ไม่ถูกครับ ^.^’ จะเอาสูตรนี้ไปหาพื้นที่รูป 3, 4, 5, …, n เหลี่ยม ก็ทาได้นะครับ ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/430327 http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/100-1