SlideShare a Scribd company logo

  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
 

  
  
  
  
  
  
  
 

  
  
  

เสียงจาก………หนูนอยวัดบูรพา
/////////////////////////////////
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 


หลักการทําบุญกุศลที่ควรเขาใจใหถูกตอง
คําวา “บุญ” เปนชื่อของการทําความดี, ความงาม เปนเหตุให
เกิดความสุข เปนที่พึ่งอันประเสริฐของสัตวและมนุษยทั้งหลาย
มี ๑๐ ประการ คือ
๑. ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน คือใหสิ่งที่เปน
ประโยชนแกผูที่ไดรับ เชน ใหอาหาร เสื้อผา เครื่องนุงหม สรางโรง-
เรียนอาคารสถานที่อยูอาศัย ใหยวดยานพาหนะตาง ๆ รวมถึงการให
อภัยและใหธรรมเปนทาน
๒. ศีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล คือรักษากายวาจา ใหพนจาก
บาปทุจริต เชน การสมาทานศีล ๕ ศีล ๘ ศีลอุโบสถ เปนตน
๓. ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา เชน เจริญสมถ
กัมมัฏฐาน และวิปสสนากัมมัฏฐาน ซึ่งเปนบุญอันประเสริฐ
๔. อปจายนมัย บุญสําเร็จดวยการออนนอมถอมตนตอผูใหญใน
ตระกูลและการแสดงความตอผุสูงดวยชาติวุฒิ วัยวุฒิ และคุณวุฒิ
๕. เวยยาวัจจมัย บุญสําเร็จดวยการชวยเหลือกิจการอันเปน
กุศล การสงเคราะหดวยการสงเสริมการศึกษาธรรมะ เผยแผธรรม
และปฏิบัติธรรม
๖. ปตติทานมัย บุญสําเร็จดวยการแบงสวนบุญ ใหสวนบุญแกผูอื่น
และการอุทิศสวนกุศลใหญาติผูลวงลับ ตลอดจนสรรพสัตวทั้งหลาย
๗. ปตตานุโมทนามัย บุญสําเร็จดวยการอนุโมทนาสวนบุญของผูอื่น
คือการแสดงความยินดี เห็นดี เห็นชอบ หรือมีความเห็นคลอยตาม
ดวยความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจ ในสวนบุญที่ผูอื่นกระทํา ดวยการ
กลาววา “ขออนุโมทนาสาธุ” พรอมกับยกมือขึ้นเหนือศีรษะ
๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสําเร็จดวยการฟงธรรม คือตั้งใจฟงพระ
ธรรมเทศนา, ฟงบรรยายธรรม ฟงดวยศรัทธา ฟงดวยความเคารพ
ดวยความตั้งใจ
๙. ธัมมเทศนามัย บุญสําเร็จดวยการแสดงธรรม บรรยายธรรม
อธิบายธรรม ใหคนอื่นฟง ดวยความตั้งใจที่จะใหความรูความ
เขาใจใหถูกตอง
๑๐. ทิฏุชุกรรม บุญสําเร็จดวยการทําความเห็นใหถูกตอง ตรง
ตามความเปนจริงในเรื่องของกรรม ผลของกรรม
ทั้งหมดนี้เรียกวา “บุญกิริยาวัตถุ” แปลวา ความดีที่ควรทํา
อันเปนเหตุใหเกิดผลดีแกผูกระทํา
………………………………..
สวนคําวา “กุศล” เปนชื่อของความดีงาม เปนชื่อของเหตุให
เกิดความสุข อันหมายถึง “อกุศลกรรมบถ” คือทางแหงความดีมี
๑๐ ประการ คือ
๑. เจตนาที่เวนจากการฆาสัตว เบียดเบียนสัตว และไมใชใหผูอื่นกระทําดวย
๒. เจตนาที่เวนจากการลักทรัพย และไมใชใหผูอื่นกระทําดวย
๓. เจตนาที่เวนจากการลวงประเวณีบุตรภรรยาสามีของคนอื่น
๔. เจตนาที่เวนจากการพูดปด
๕. เจตนาที่เวนจากการพูดสอเสียด
๖. เจตนาที่เวนจากการพูดคําหยาบ
๗. เจตนาที่เวนจากการพูดเพอเจอไรสาระ
๘. เจตนาที่เวนจากการเพงเล็งอยากไดของ ๆ ผูอื่น
๙. เจตนาที่เวนจากการคิดปองรายผูอื่น
๑๐. เจตนาที่เวนจากความเห็นผิด ๑๐ อยาง คือ
- เห็นผิดวาทานที่ใหแลวไมมีผล
- เห็นผิดวาการบูชาไมมีผล
- เห็นผิดวา การบวงสรวงเทวดาไมมีผล
- เห็นผิดวา ทําดีไมไดดี ทําชั่วไมไดชั่ว (ผลของกรรมดีกรรมชั่ว ไมมี)
- เห็นผิดวาโลกนี้ไมมี คือผูที่จะมาเกิดนั้นไมมี
- เห็นผิดวาโลกหนาไมมี คือที่จะไปเกิดนั้นไมมี ( ตายแลวสูญ )
- เห็นผิดวาทําดี, ทําชั่วตอมารดาไมมีผล
- เห็นผิดวาสัตวนรก เปรต อสุรกาย เทวดาและพรหมนั้นไมมีจริง
- เห็นผิดวาพระพุทธเจาผูตรัสรูดวยตนเองนั้นไมมี
ทั้งหมด ๑๐ อยางนี้เปนมิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นผิด
เปนอันตรายตอชีวิต พึงระวังอยาใหเขาครอบงําจิตใจได
ทั้งบุญและกุศล รวมกันเรียกวาความดีความงาม เปนเหตุ
ใหไดรับความสุข มีสุคติโลกสวรรคเปนที่ไปในเบื้องหนา
พระพุทธเจาตรัสไววา ………………..
ยาทิสัง วะปะเต พีชัง ตาทิสัง ละภะเต ผะลัง
กัลยาณะการี กัลยาณัง ปาปะการี จะ ปาปะกัง
แปลวา
หวานพืชเชนไร ไดรับผลเชนนั้น ทํากรรมดี ยอมไดรับผล
ของกรรดี ทํากรรมชั่ว ยอมไดรับผลของกรรมชั่ว
และทรงสอนใหเตือนตนเสมอวา “วันและคืนลวงไป ๆ บัดนี้
เราทําอะไรอยู ควรรีบสรางคุณงามความดี เพื่อจะไดเปนที่พึ่งแก
ตนเองในภายภาคหนา
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก

More Related Content

What's hot

Besteuropa
BesteuropaBesteuropa
Besteuropa
alainchaviano
 
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決You Koseki
 
Dish2009 Call for proposals
Dish2009 Call for proposalsDish2009 Call for proposals
Dish2009 Call for proposals
Erfgoed 2.0
 
0423mitsubishi
0423mitsubishi0423mitsubishi
0423mitsubishiloftwork
 
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
sunseago
 
APO日記 - 20071221オブラブ冬LT
APO日記 - 20071221オブラブ冬LTAPO日記 - 20071221オブラブ冬LT
APO日記 - 20071221オブラブ冬LT
Takeshi Kakeda
 
Cellphone Wallet Service Trends in Japan
Cellphone Wallet Service Trends in JapanCellphone Wallet Service Trends in Japan
Cellphone Wallet Service Trends in Japan
Masaru IKEDA
 
Meet Charlie Japanese
Meet Charlie JapaneseMeet Charlie Japanese
Meet Charlie Japanese
iug
 
Γεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
Γεώργιος Ιακωβιδης PoutokaΓεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
Γεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
2ο Δημοτικό Σχολείο Ξάνθης
 
Israel Air Photos
Israel Air PhotosIsrael Air Photos
Israel Air Photos
rekush2003
 
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
IDDP UK
 
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
Tadahiro Okuda
 
Newb CMS eco Business Solution
Newb CMS eco Business SolutionNewb CMS eco Business Solution
Newb CMS eco Business Solution
Kanji Syuto
 
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
ikiikilab
 
Loftwork 20090416
Loftwork 20090416Loftwork 20090416
Loftwork 20090416武 河野
 
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarktDuurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
lenteakkoord
 
Ashrkarak vargvyavhar
Ashrkarak vargvyavharAshrkarak vargvyavhar
Ashrkarak vargvyavhar
DINESH PRAJAPATI
 
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
IDDP UK
 
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
Takeshi Kakeda
 

What's hot (20)

Besteuropa
BesteuropaBesteuropa
Besteuropa
 
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決
第一回ナンセンスプレゼンテーションの会:ローマと道に関するいくつかの問題とその解決
 
Dish2009 Call for proposals
Dish2009 Call for proposalsDish2009 Call for proposals
Dish2009 Call for proposals
 
0423mitsubishi
0423mitsubishi0423mitsubishi
0423mitsubishi
 
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
株式会社 花みずき工房 きらりタウン浜北
 
APO日記 - 20071221オブラブ冬LT
APO日記 - 20071221オブラブ冬LTAPO日記 - 20071221オブラブ冬LT
APO日記 - 20071221オブラブ冬LT
 
Cellphone Wallet Service Trends in Japan
Cellphone Wallet Service Trends in JapanCellphone Wallet Service Trends in Japan
Cellphone Wallet Service Trends in Japan
 
Meet Charlie Japanese
Meet Charlie JapaneseMeet Charlie Japanese
Meet Charlie Japanese
 
Γεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
Γεώργιος Ιακωβιδης PoutokaΓεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
Γεώργιος Ιακωβιδης Poutoka
 
Israel Air Photos
Israel Air PhotosIsrael Air Photos
Israel Air Photos
 
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
第5回「アフガニスタンにおける復興支援」議事録
 
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
パーソナルヘルスレコード(Personal Health Record)の現状と将来
 
Newb CMS eco Business Solution
Newb CMS eco Business SolutionNewb CMS eco Business Solution
Newb CMS eco Business Solution
 
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
夜までラボ☆テレビ7月24日開催分
 
Loftwork 20090416
Loftwork 20090416Loftwork 20090416
Loftwork 20090416
 
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarktDuurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
Duurzame huisvesting, presentatie bijeenkomst duurzaamheid op vraagmarkt
 
2009 Aug Newsletter 1 Revised
2009 Aug Newsletter 1 Revised2009 Aug Newsletter 1 Revised
2009 Aug Newsletter 1 Revised
 
Ashrkarak vargvyavhar
Ashrkarak vargvyavharAshrkarak vargvyavhar
Ashrkarak vargvyavhar
 
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
第4回「気候変動対策の次期枠組みに向けて」資料 2/3(小林氏)
 
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
アジャツール!オブラブ夏イベント号外発行!!
 

Viewers also liked

คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษWataustin Austin
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2Wataustin Austin
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Wataustin Austin
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนWataustin Austin
 
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishWataustin Austin
 
ธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อ
Tongsamut vorasan
 
หนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะหนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะTongsamut vorasan
 
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษTongsamut vorasan
 
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯ
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯ
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯTongsamut vorasan
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
 
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
Kanthika Sriman
 

Viewers also liked (12)

คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
Pali chant
Pali chantPali chant
Pali chant
 
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
 
ธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อ
 
หนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะหนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะ
 
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
 
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯ
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯ
ธรรมะวันละเรื่อง วัดบุศย์ฯ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
หนังสือที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวตปท.Pptx [autosaved]
 

More from Wataustin Austin

เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์Wataustin Austin
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาWataustin Austin
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขปWataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)Wataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)Wataustin Austin
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีWataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1Wataustin Austin
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร VarutarattanaWataustin Austin
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมWataustin Austin
 
โพธิปักขิยธรรม
โพธิปักขิยธรรมโพธิปักขิยธรรม
โพธิปักขิยธรรมWataustin Austin
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมWataustin Austin
 
พุทธศาสนาเถรวาท
พุทธศาสนาเถรวาทพุทธศาสนาเถรวาท
พุทธศาสนาเถรวาทWataustin Austin
 
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์Wataustin Austin
 

More from Wataustin Austin (20)

Bookchant
BookchantBookchant
Bookchant
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขป
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)
 
สรภัญญะ1
สรภัญญะ1สรภัญญะ1
สรภัญญะ1
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรี
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattana
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
 
โพธิปักขิยธรรม
โพธิปักขิยธรรมโพธิปักขิยธรรม
โพธิปักขิยธรรม
 
พระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวมพระเวสสันดรรวม
พระเวสสันดรรวม
 
พุทธศาสนาเถรวาท
พุทธศาสนาเถรวาทพุทธศาสนาเถรวาท
พุทธศาสนาเถรวาท
 
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
 

อนุพุทธประวัติ เจาะลึก

  • 1.                                                                
  • 2.           เสียงจาก………หนูนอยวัดบูรพา /////////////////////////////////                                          
  • 3. หลักการทําบุญกุศลที่ควรเขาใจใหถูกตอง คําวา “บุญ” เปนชื่อของการทําความดี, ความงาม เปนเหตุให เกิดความสุข เปนที่พึ่งอันประเสริฐของสัตวและมนุษยทั้งหลาย มี ๑๐ ประการ คือ ๑. ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน คือใหสิ่งที่เปน ประโยชนแกผูที่ไดรับ เชน ใหอาหาร เสื้อผา เครื่องนุงหม สรางโรง- เรียนอาคารสถานที่อยูอาศัย ใหยวดยานพาหนะตาง ๆ รวมถึงการให อภัยและใหธรรมเปนทาน ๒. ศีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล คือรักษากายวาจา ใหพนจาก บาปทุจริต เชน การสมาทานศีล ๕ ศีล ๘ ศีลอุโบสถ เปนตน ๓. ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา เชน เจริญสมถ กัมมัฏฐาน และวิปสสนากัมมัฏฐาน ซึ่งเปนบุญอันประเสริฐ ๔. อปจายนมัย บุญสําเร็จดวยการออนนอมถอมตนตอผูใหญใน ตระกูลและการแสดงความตอผุสูงดวยชาติวุฒิ วัยวุฒิ และคุณวุฒิ ๕. เวยยาวัจจมัย บุญสําเร็จดวยการชวยเหลือกิจการอันเปน กุศล การสงเคราะหดวยการสงเสริมการศึกษาธรรมะ เผยแผธรรม และปฏิบัติธรรม ๖. ปตติทานมัย บุญสําเร็จดวยการแบงสวนบุญ ใหสวนบุญแกผูอื่น และการอุทิศสวนกุศลใหญาติผูลวงลับ ตลอดจนสรรพสัตวทั้งหลาย ๗. ปตตานุโมทนามัย บุญสําเร็จดวยการอนุโมทนาสวนบุญของผูอื่น คือการแสดงความยินดี เห็นดี เห็นชอบ หรือมีความเห็นคลอยตาม ดวยความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจ ในสวนบุญที่ผูอื่นกระทํา ดวยการ กลาววา “ขออนุโมทนาสาธุ” พรอมกับยกมือขึ้นเหนือศีรษะ
  • 4. ๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสําเร็จดวยการฟงธรรม คือตั้งใจฟงพระ ธรรมเทศนา, ฟงบรรยายธรรม ฟงดวยศรัทธา ฟงดวยความเคารพ ดวยความตั้งใจ ๙. ธัมมเทศนามัย บุญสําเร็จดวยการแสดงธรรม บรรยายธรรม อธิบายธรรม ใหคนอื่นฟง ดวยความตั้งใจที่จะใหความรูความ เขาใจใหถูกตอง ๑๐. ทิฏุชุกรรม บุญสําเร็จดวยการทําความเห็นใหถูกตอง ตรง ตามความเปนจริงในเรื่องของกรรม ผลของกรรม ทั้งหมดนี้เรียกวา “บุญกิริยาวัตถุ” แปลวา ความดีที่ควรทํา อันเปนเหตุใหเกิดผลดีแกผูกระทํา ……………………………….. สวนคําวา “กุศล” เปนชื่อของความดีงาม เปนชื่อของเหตุให เกิดความสุข อันหมายถึง “อกุศลกรรมบถ” คือทางแหงความดีมี ๑๐ ประการ คือ ๑. เจตนาที่เวนจากการฆาสัตว เบียดเบียนสัตว และไมใชใหผูอื่นกระทําดวย ๒. เจตนาที่เวนจากการลักทรัพย และไมใชใหผูอื่นกระทําดวย ๓. เจตนาที่เวนจากการลวงประเวณีบุตรภรรยาสามีของคนอื่น ๔. เจตนาที่เวนจากการพูดปด ๕. เจตนาที่เวนจากการพูดสอเสียด ๖. เจตนาที่เวนจากการพูดคําหยาบ ๗. เจตนาที่เวนจากการพูดเพอเจอไรสาระ ๘. เจตนาที่เวนจากการเพงเล็งอยากไดของ ๆ ผูอื่น ๙. เจตนาที่เวนจากการคิดปองรายผูอื่น ๑๐. เจตนาที่เวนจากความเห็นผิด ๑๐ อยาง คือ
  • 5. - เห็นผิดวาทานที่ใหแลวไมมีผล - เห็นผิดวาการบูชาไมมีผล - เห็นผิดวา การบวงสรวงเทวดาไมมีผล - เห็นผิดวา ทําดีไมไดดี ทําชั่วไมไดชั่ว (ผลของกรรมดีกรรมชั่ว ไมมี) - เห็นผิดวาโลกนี้ไมมี คือผูที่จะมาเกิดนั้นไมมี - เห็นผิดวาโลกหนาไมมี คือที่จะไปเกิดนั้นไมมี ( ตายแลวสูญ ) - เห็นผิดวาทําดี, ทําชั่วตอมารดาไมมีผล - เห็นผิดวาสัตวนรก เปรต อสุรกาย เทวดาและพรหมนั้นไมมีจริง - เห็นผิดวาพระพุทธเจาผูตรัสรูดวยตนเองนั้นไมมี ทั้งหมด ๑๐ อยางนี้เปนมิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นผิด เปนอันตรายตอชีวิต พึงระวังอยาใหเขาครอบงําจิตใจได ทั้งบุญและกุศล รวมกันเรียกวาความดีความงาม เปนเหตุ ใหไดรับความสุข มีสุคติโลกสวรรคเปนที่ไปในเบื้องหนา พระพุทธเจาตรัสไววา ……………….. ยาทิสัง วะปะเต พีชัง ตาทิสัง ละภะเต ผะลัง กัลยาณะการี กัลยาณัง ปาปะการี จะ ปาปะกัง แปลวา หวานพืชเชนไร ไดรับผลเชนนั้น ทํากรรมดี ยอมไดรับผล ของกรรดี ทํากรรมชั่ว ยอมไดรับผลของกรรมชั่ว และทรงสอนใหเตือนตนเสมอวา “วันและคืนลวงไป ๆ บัดนี้ เราทําอะไรอยู ควรรีบสรางคุณงามความดี เพื่อจะไดเปนที่พึ่งแก ตนเองในภายภาคหนา