SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
รายงาน
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เสนอ
ครู ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทาโดย
นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม เลขที่ 6
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/3
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสานักงานขั้นสูง
รหัสวิชา ง.30210
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
~ ii ~
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ของ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งมีองค์ความรู้พื้นฐานที่สามารทาความเข้าใจได้ถ้า
รายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ณ. ที่นี้ด้วย
จัดทาโดย
นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม
ชั้นม.5/3เลขที่6
~ iii ~
สำรบัญ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์...............................................................................................................1
ความรู้พื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์...................................1
ชนิดของสัญญาณทางอิเลคทรอนิคส์.........................................................................1
สัญญาณแบบAnalog .............................................................................................................1
สัญญาณแบบDigital..............................................................................................................1
วิธีในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิคส์.........................2
การสื่อสารแบบไม่ประสานจังหวะ(Asynchronous transmission) .........................2
การสื่อสารแบบประสานจังหวะ(Synchronous transmission)..................................3
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล...........................................................................................3
แบบทิศทางเดียว(Simplex)..................................................................................................3
แบบกึ่งสองทิศทาง(Half Duplex).......................................................................................4
แบบสองทิศทาง(Full Duplex)..............................................................................................4
การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนาน......................................................4
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์.................................................4
~ iv ~
การประมวลผลข้อมูลกับการสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์.....................5
ระบบการประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง( Centralized Processing ).........................5
ระบบการประมวลผลข้อมูลไคลเอนต์- เซิร์ฟเวอร์ ( Client - Server Processing
) ...........................................................................................................................................................6
ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย( Distributed Processing )......................6
แบบจาลองสาหรับอ้างอิง......................................................................................................7
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล......................................................................................................9
ระบบแบบเดินสายเคเบิล(Wired system)........................................................................10
สายคู่บิดเกลียวแบบมีชีลต์และไม่มีชีลต์(Shielded and UnShielsed Twisted-Pair
Cable) ............................................................................................................................................10
สารโคแอกเซียล(Coaxial Cable)........................................................................................12
สายใยแก้วนาแสง(Fiber Optic Cable) ..............................................................................12
ระบบไมโครเวฟ (Micorwave system).................................................................................14
ระบบดาวเทียม (Satellite Systems)........................................................................................14
ระบบอื่น ๆ................................................................................................................................15
ระบบอินฟาเรด(Infraed)....................................................................................................15
ระบบวิทยุ(Radio).................................................................................................................16
~ v ~
ระบบสเปคตรัมแถบกว้าง(Spreas Specturm).............................................................16
อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล..............................................................................................................16
อุปกรณ์รวมสัญญาณ..........................................................................................................16
มัลติเพล็กซ์เซอร์(Muliplexer) ...........................................................................................16
คอนเซนเตรเตอร์(Concentrator) ......................................................................................17
ฮับ(Hub) .....................................................................................................................................17
ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์(Front-End Processor) .....................................................17
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย.................................................................................................18
เครื่องทวนซ้าสัญญาณ(Repeater).................................................................................18
บริดจ์(Bridge) ...........................................................................................................................18
สวิตซ์(Switch) ..........................................................................................................................18
เราท์เตอร์(Router)..................................................................................................................19
เกทเวย์(Gateway).....................................................................................................................19
ชนิดของระบบเครือข่าย........................................................................................................19
ระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ(LAN)................................................................................20
LAN (Local Area Network).............................................................................................................20
ระบบเครือข่ายระยะไกล(WAN) ......................................................................................20
~ vi ~
WAN (Wide Area Network)...........................................................................................................20
ระบบเครือข่ายLAN.....................................................................................................................21
ชนิดการเชื่อมต่อของเครือข่ายLAN ..............................................................................21
เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ(Server - based networking).....................................22
เครือข่ายแบบเท่าเทียม(Peer - to Peer networking) ......................................................22
ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบLAN..........................................................................24
Network Operating System (NOS) ................................................................................................24
เครื่องบริการและสถานีงาน(Server and Workstation) ..............................................24
แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย(Netwoirk Interface Card - NIC).......................................24
ระบบการเดินสาย(Cabling System)..................................................................................24
ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน(Shared Resources and Peripherals).....25
โครงสร้างของระบบเครือข่าย(Network Topology) แบบ LAN .................................25
โครงสร้างแบบดาว(Star Topology).................................................................................25
โครงสร้างแบบแหวน(Ring Topology)...........................................................................25
วิธีควบคุมการเข้าใช้งานสื่อกลาง(Media Access Control (MAC) Methed) ................26
CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Acess/Collision Detection) .....................................................26
Token Passing................................................................................................................................26
มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบLAN ชนิดต่าง ๆ......................................................27
~ vii ~
IEEE 802.3 และ Ethernet ...........................................................................................................27
IEEE 802.4 และ Token Bus.........................................................................................................28
IEEE 802.5 และ Token Ring........................................................................................................28
FDDI (Fiber Distributed Data Interface) ........................................................................................28
โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal) ....................................................28
NetBIOS และ NetBUIE ...............................................................................................................29
IPX/SPX..........................................................................................................................................29
TCP/IP............................................................................................................................................29
ระบบเครือข่ายWAN .....................................................................................................................30
ประเภทของเครือข่ายระยะไกล....................................................................................30
เครือข่ายส่วนตัว(Private Network)...................................................................................30
เครือข่ายสาธารณะ(Public Data Network)...................................................................................31
เครือข่ายแบบสลับวงจร(Circuit-Switching Network) ......................................................31
เครือข่ายแบบสลับแพคเกต(Packet Switching Data Network).......................................32
ISDN...................................................................................................................................................32
Narrow Band ISDN (ISDN-N)......................................................................................................................32
Broadband ISDN (ISDN-B) .............................................................................................................33
ATM...................................................................................................................................................33
การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์.........................................33
บริการกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Bulletin Boards services) ..............34
~ viii ~
จดหมายและจดหมายเสียงทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Mail and Vioce Mail)
......................................................................................................................................................34
การประชุมระยะไกลทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Teleconference)...............34
บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Information services).............34
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์(Electronic Data Interchange - EDI) ..35
การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Funds Transfer -EFT) ............................35
การสั่งซื้อสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Shopping) ....................................35
อ้างอิง........................................................................................................................................36
~ 1 ~
เครือข่ำยคอมพิวเตอร์
ในยุคก่อนที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะถือกาเนิดขึ้นนั้น การติดต่อส่งข้อมูลข่าวสารจะผ่านทางสื่อ
ต่าง ๆ เช่น ไปรษณีย์โทรศัพท์โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์เป็นต้น ซึ่งแต่ละสื่อก็จะมีข้อดีและ
ข้อจากัดต่าง ๆ กันไป แต่ในปัจจุบันนี้ สื่อที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในการส่งข้อมูลข่าวสารมาก
ที่สุด ก็คือระบบการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือกล่าวได้ว่าประโยชน์สูงสุด
อย่างหนึ่งของคอมพิวเตอร์ในยุคแห่งสารสนเทศนี้ ก็คือการช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสาร และ
แลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
ควำมรู้พื้นฐำนของกำรสื่อสำรข้อมูลทำงอิเลคทรอนิกส์
- การสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง
โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิคส์ ซึ่งเชื่อมอยู่ด้วยสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง
- ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ ระบบการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป
เพื่อให้สามารถทาการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ระหว่างกันได้นั่นเอง
ชนิดของสัญญำณทำงอิเลคทรอนิคส์
สำมำรถแบ่งได้เป็น
สัญญำณแบบAnalog จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่ทุก ๆ ค่าที่เปลี่ยนไปของระดับสัญญาณจะ
มีความหมาย การส่งสัญญาณแบบ Analog จะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้
ง่ายกว่า เนื่องจากค่าทุกค่าถูกนามาใช้งานนั่นเอง ซึ่งสัญญาณแบบ Analog นี้จะเป็นสัญญาณที่
สื่อกลางในการสื่อสารส่วนมากใช้อยู่ เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์เป็นต้น
สัญญำณแบบDigital ประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงสุดและ
สัญญาณระดับต่าสุด ดังนั้นจะมีประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบ Analog เนื่องจาก
~ 2 ~
มีการใช้งานเพียง 2 ค่าเพื่อนามาตีความหมายเป็น on / off หรือ 1 / 0 เท่านั้น ซึ่งสัญญาณดิจด
ตอลนี้จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทางานและติดต่อสื่อ สารกัน
สัญญำณดิจิตอลและอนำลอก
ในทางปฏิบัติ จะสามารถใช้เครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณทั้งสองแบบได้เพื่อช่วยให้
สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านสัญญาณพาหะที่เป็นอนาลอก เช่น สายโทรศัพท์หรือคลื่นวิทยุ
การแปลงสัญญาณแบบ digital ไปเป็น analog จะเรียกว่า Modulation เช่นการแปลงแบบ
Amplitude Modulation (AM) และ Frequency Modulation (FM) เป็นต้น ส่วนการแปลง
สัญญาณแบบ analog ไปเป็น digital เรียกว่า Demodulation ตัวอย่างของเครื่องมือในการแปลง
ระหว่างสัญญาณทั้งสองก็คือ MODEM (Modulation DE Modulation) นั่นเอง
วิธีในกำรสื่อสำรข้อมูลระหว่ำงอุปกรณ์ทำงอิเลคทรอนิคส์
ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ทางเครือข่าย 2 ชิ้น อาจแบ่งวิธีที่ใช้ได้เป็น 2 แบบคือ
กำรสื่อสำรแบบไม่ประสำนจังหวะ(Asynchronous transmission) หรืออาจเรียกว่า กำรสื่อสำร
แบบระบุจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด (start - stop transmission) โดยข้อมูลที่ติดต่อกันระหว่าง
อุปกรณ์เครือข่าย 2 ชิ้นนี้ จะประกอบขึ้นจาก 4 ส่วน คือ บิตเริ่มต้น (start bit) บิตของข้อมูลที่
สื่อสำร (transmission data) จานวน 8 บิต บิตตรวจข้อผิดพลาด และบิตปิดท้ำย (stop bit) ซึ่ง
ข้อมูลที่ติดต่อกันจะประกอบขึ้นจาก 3 ส่วนนี้ตลอดเวลา การสื่อสารแบบนี้จะเป็นการสื่อสารที่
ความเร็วต่าเนื่องจากต้องสูญเสียช่อง ทางการสื่อสารให้กับบิตเริ่มและสิ้นสุดตลอดเวลา มักใช้
ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์รอบข้าง
~ 3 ~
กำรสื่อสำรแบบประสำนจังหวะ(Synchronous transmission) ข้อมูลจะสามารถส่งได้อย่าง
รวดเร็ว เนื่องจากจะทาการส่งที่ละกลุ่มข้อมูล ซึ่งเรียกว่า frame หรือ packets โดยจะมีข้อมูล
เริ่มต้นและสิ้นสุดบอกในแต่ละกลุ่มข้อมูล รวมทั้งมีข้อมูลตรวจความผิดพลาดประจากลุ่มข้อมูล
ด้วย การส่งแบบ Synchronous นี้ มักใช้ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์
(ก) กำรสื่อสำรแบบไม่ประสำนจังหวะ (ข) กำรสื่อสำรแบบประสำนจังหวะ
ทิศทำงของกำรสื่อสำรข้อมูล
สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารข้อมูลได้เป็น 3 แบบคือ
กำรสื่อสำรข้อมูลแบบทิศทำงเดียว กึ่งสองทิศทำง และสองทิศทำง
แบบทิศทำงเดียว(Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่ง
ย้อนกลับมาได้เช่น ระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์
~ 4 ~
แบบกึ่งสองทิศทำง(Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับกันได้ทั้งสองทิศทาง โดยต้องผลัดกัน
ส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
แบบสองทิศทำง(Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้งสองทิศทางอย่างอิสระ เช่น
ระบบโทรศัพท์
กำรสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนำน
การสื่อสารแบบอนุกรมจะเป็นการส่งข้อมูลทีละบิตต่อครั้งผ่านสายสื่อสาร ในขณะที่การสื่อสาร
ข้อมูลแบบขนานจะส่งข้อมูลเป็นชุดของบิตพร้อม ๆ กันในแต่ละครั้ง ซึ่งทาให้การส่งข้อมูล
แบบขนานสามารถทาได้เร็วกว่า แต่ก็จะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าเช่นกัน เนื่องจากสายที่ใช้จะต้องมี
ช่องสัญญาณจานวนมาก เช่น 8 ช่องเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้แปดบิตพร้อมกัน
กำรสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนำน
ระบบเครือข่ำยแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลาง
ในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ
อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะ
ไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือระบบโทรศัพท์เป็นต้น ซึ่งการสื่อสาร
ระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบเบสแบนด์ รวมทั้งการสื่อสารระหว่าง
คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ (เช่น เครื่องพิมพ์จอภาพ) การสื่อสารผ่าน และการสื่อสารผ่าน
เครือข่ายหลัก ๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B - ISDN ที่เป็นแบบบรอดแบนด์
~ 5 ~
ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) จะตรงข้ามกับเบสแบนด์ นั่นคือจะเป็นการ
สื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กัน โดย
ใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของ
ตนเองผ่านตัวกลางเดียว เช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกัน
หลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียวกัน และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้
เป็นต้น
กำรประมวลผลข้อมูลกับการสื่อสำรข้อมูลทำงอิเลคทรอนิกส์
เมื่อระบบการสื่อสารข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์พัฒนาก้าวหน้าขึ้น จึงมีการประยุกต์ใช้วิธีการ
สื่อสารข้อมูลแบบต่าง ๆ เข้าช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลเป็นไปได้
อย่างสะดวก ยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ด้วย
โดยสำมำรถจำแนกวิธีกำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้ดังนี้
ระบบกำรประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลำง( Centralized Processing )
ในระบบการประมวลผลข้อมูลที่ ศูนย์กลางนั้น ( Centralized data Processing ) การประมวลผล
ข้อมูลทั้งหมดจะเกิดขึ้นที่เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ซึ่งในระยะแรกผู้ที่ต้องการทาการ
ประมวลผลข้อมูลจะต้องไปใช้งานที่ศูนย์กลาง ที่ตัวเครื่องตั้งอยู่เท่านั้น แต่เมื่อระบบการสื่อสาร
ข้อมูลก้าวหน้าขึ้น ก็ได้เกิดวิธีการที่ช่วยให้การประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลางสามารถกระทาได้
สะดวกขึ้นนั่นคือ กำรประมวลผลทำงไกล ( Teleprocessing ) ซึ่งเป็นการทาให้ผู้ใช้งาน สามารถ
เชื่อมต่อมาใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ศูนย์กลางได้จากระบบการสื่อสารต่าง ๆ แต่การประมวลผลก็
จะอยู่ที่ศูนย์กลางเช่นเดิม เครื่องที่เชื่อมต่อเข้ามาจะทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่เครื่องศูนย์กลาง
แสดงมา เท่านั้น
~ 6 ~
ระบบกำรประมวลผลข้อมูลไคลเอนต์ - เซิร์ฟเวอร์ ( Client - Server Processing )
เป็นการประมวลผลที่ได้รับความ นิยมในยุคถัดมา เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้มี
การใช้งานอย่างแพร่หลาย และมีประสิทธิภาพของเครื่องสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้เกิดแนวคิดที่จะ
ประมวลผลมาทางานที่ PC โดยในระบบนี้ เครื่อง PC จะเรียกใช้งานโปรแกรมที่ทาหน้าที่คุยกับ
โปรแกรมที่คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง และรับหน้าที่ในการนาข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลใน
รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม รวมทั้งรับหน้าที่ในส่วนของการโต้ตอบและรับข้อมูลจากผู้ใช้ด้วย
ระบบกำรประมวลผลข้อมูลแบบกระจำย( Distributed Processing )
เป็นการประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในขั้นต่อมา โดยจะมีการกระจายภาระการประมวลผลไป
ยังเครื่องต่าง ๆ ที่เชื่อมกันอยู่กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนาผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน ซึ่งวิธีการนี้
ทาให้เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของระบบโดยรวม รวมทั้งยังสามารถลดจานวน
ข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายได้ด้วย
(ก) แบบศูนย์กลำง (ข) แบบโคลเอนด์ - เซิร์ฟเวอร์ (ค) แบบกระจำย
~ 7 ~
แบบจำลองสำหรับอ้ำงอิง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างที่แน่นอน และเพื่อเป็นการ
ลดความซับซ้อน ระบบเครือข่ายส่วนมากจึงแยกการทางานออกเป็นชั้น ๆ โดยกาหนดหน้าที่ใน
แต่ละชั้นไว้อย่างชัดเจน
แบบจาลองสาหรับอ้างอิง แบบ OSI ( open systems Interconnection reference Model ) หรือที่
นิยมเรียกกันทั่วไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็นแบบจาลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดย
องค์กร Internation Standard Organization ( ISO ) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายในอุดมคติ ซึ่งระบบเครือข่ายที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมนี้ จะเป็นระบบ
เครือข่ายแบบเปิด และอุปกรณ์ทางเครือข่ายจะสามารถติดต่อกันได้โดยไม่ขึ้นกับว่าเป็นอุปกรณ์
ของ ผู้ขายรายใด
แบบจำลอง OSI จะแบ่งกำรทำงำนของระบบเครือข่ำยออกเป็น 7 ชั้น คือ
OSI LAYER หน้าที่ของแต่ละ LAYER
APPLICATION
เป็นชั้นการทางานของซอฟต์แวร์ประยุกต์ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่าย เช่น การ transfer
แฟ้มข้อมูลการจาลอง terminal การแลกเปลี่ยน
ข้อมูล เป็นต้น
PRESENTATION
เป็นชั้นการทางานของระบบรักษาความลับและการ
แปลงข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารถแลกเปลี่ยน
กันได้เช่น แปลงระหว่าง EBCIDIC กับ ASCII
หรือ การแปลงข้อมูลรหัสจบบรรทัดระหว่างระบบ
UNIX กับ MS-DOS เป็นต้น
SESSTION
รับผิดชอบการควบคุมการติดต่อและการประสาน
ของข้อมูลที่ส่งผ่านระบบเครือข่าย เช่น การ
ตรวจสอบลาดับก่อนหลังที่ถูกต้องของ เป็นต้น
~ 8 ~
TRANSPORT
เป็นชั้นที่รับผิดชอบการส่ง ถ่ายข้อมูลระหว่างจุด จะ
ทาการตรวจสอบ 3 ชั้นล่างว่ามีการทางานที่ถูกต้อง
และทาการส่งผ่านข้อมูลให้ชั้นที่สูงกว่าโดยซ่อน
วิธีการทางานที่เกิดขึ้นจริง ใน 3 ชั้นล่างไว้โดยปกติ
แล้วนับจากชั้นนี้ถึงชั้นบนสุดจะอยู่ในซอฟต์แวร์
ประยุกต์ทางด้าน เครือข่ายตัวเดียวกัน ในขณะที่ชั้น
ที่ต่ากว่านี้เป็นส่วนจัดการเครือข่ายซึ่งขึ้นกับชนิด
ของระบบ เครือข่ายที่ใช้งานอยู่
NETWORK
เป็นชั้นที่ทาการตรวจสอบการส่งข้อมูลผ่าน
เครือข่าย เช่น เวลาที่ใช้ในการส่ง การส่งต่อ
(routing) และการจัดการลาดับ (flow control) ของ
ข้อมูล
DATA LINK
เป็นชั้นที่รับผิดชอบการนาข้อมูลเข้าและออกจาก
ตัวกลาง การจัดเฟรม การตรวจสอบและจัดการ
ข้อผิดพลาดของข้อมูล (error detection correction
and retransmission) ในชั้นนี้จะมีการแบ่งออกเป็น 2
ชั้นย่อย (sub-layers) คือ
 LLC (Logical Link Control) จะอยู่ใน
ครึ่งบน รับผิดชอบในเรื่องการตรวจสอบ
ข้อผิดพลาด
 MAC (Media Access Control) อยู่ใน
ครึ่งล่าง เป็นส่วนของวิธีส่งข้อมูลผ่าน
สื่อกลาง
PHYSICAL
จะเป็นชั้นการทางานทางกายภาพของระบบการ
เชื่อมต่อ ทั้งในส่วนของสัญญาณทางไฟฟ้า ระบบ
สายสัญญาณ (cable) และตัวเชื่อม (connector)
~ 9 ~
หน้ำที่ของแต่ละเลเยอร์ในแบบจำลอง OSI
ช่องทำงกำรสื่อสำรข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์นอกจากจะประกอบขึ้นจากการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกันเป็น
เครือข่ายแล้ว ยังต้องมีช่องทางหรือสื่อกลำง ( media) ในการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งในปัจจุบันจะมีอยู่
มากมายหลายแบบ และแต่ละแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป สิ่งที่จะต้องคานึงในการ
เลือกช่องทางที่ต้องการคือ
อัตรำเร็วในกำรส่งผ่ำนข้อมูล (Transmission Rate) อาจเลือกได้ตั้งแต่ความเร็วอยู่ในหลัก Kbpd
(กิโลบิตต่อวินาที ) จนถึงหลายสิบ Mbps (เมกะบิตต่อวินาที )
ระยะทำง (Distance) ต้องคานึงถึงระยะทางระหว่างอุปกรณ์ที่ต้องการเชื่อมต่อกันด้วย โดยอาจ
ห่างกันตั้งแต่ไม่กี่ฟุตจนถึงหลายพันกิโลเมตร
ค่ำใช้จ่ำย (Cost) อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งครั้งแรกและค่าใช้จ่ายประจา
ควำมสะดวกในกำรติดตั้ง (Each of Installtion) เนื่องจากบางพื้นที่อาจไม่สะดวกที่จะเดินสาย
หรือไม่อาจใช้สื่อบางประเภทได้
ควำมทนทำนต่อสภำพแวดล้อม (Resistance to Environmental Conditions) เช่น สื่อบาง
ประเภทอาจมีข้อจากัด เมื่อสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลง
ในการใช้งานจริงนั้น จะสามารถใช้งานช่องทางต่าง ๆ มากกาว่าหนึ่งช่องทางพร้อม ๆ กันขึ้นกับ
ความเหมาะสม ซึ่งสามารถจาแนกช่องทางสาหรับการสื่อสารข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ ได้ดังนี้
~ 10 ~
กำรทำงำนร่วมกันของข่องทำงต่ำง ๆ
ระบบแบบเดินสำยเคเบิล(Wired system)
จะรวมถึงสื่อกลางที่เป็นสายทั้งหมด โดยระบบเครือข่ายที่เป็นอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่ห่างกันไม่มาก
นักจะสามารถใช้วิธีเดินสายแบบต่าง ๆ เอง ส่วนสายเคเบิลสาหรับการติดต่อระยะไกลโดยปกติ
ก็คือระบบสำยโทรศัพท์แบบดั้งเดิม (POTS - Plain Old Telephone Service) นั่นเอง
สายสัญญาณที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน จะมีชนิดต่าง ๆ ตามลักษณะระเครือข่าย และความต้องการ
ในการใช้งานดังนี้
สำยคู่บิดเกลียวแบบมีชีลต์และไม่มีชีลต์ (Shielded and UnShielsed Twisted-Pair Cable)
เป็นสายที่มีราคาถูกที่สุด ประกอบด้วยสายทองแดงที่มีฉนวนหุ้มจานวน 2 เส้น นามาพันกันเป็น
เกลียว สามารถลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้โดยปกติแล้วสายคู่บิตเกลียวจะ
หมายถึง สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มีชีลด์ (UTP) ซึ่งใช้ในการเดินสายโทรศัพท์และใช้ในระบบ
~ 11 ~
เครือข่ายระยะใกล้ส่วนมาก ในขณะที่ สำยคู่บิดเกลี่ยวแบบมีซิลด์ (STP) จะมีฉนวนโลหะหุ้มอยู่
ภายนอกอีกชั้นหนึ่ง ทาให้สามารถป้งอันสัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น สายเกลียวคู่หนึ่งคู่จะแทนช่อง
ทางการสื่อสาร (channel) เพื่อให้สามารถใช้งานได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่าง เช่น ระบบ
สายโทรศัพท์
อุปกรณ์เชื่อมต่อสำยคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียวตามมาตรฐาน EIA/ITA-568 สามารถแบ่งได้5 ประเภท คือ
Category 1 เป็นสาย UTP ที่ใช้ในระบบสายโทรศัพท์แบบดั้งเดิม เมหาะสาหรัส่งสัญญาณเสียง
ไม่เหมาะกับการส่งข้อมูล
Category 2 เป็นสาย UTP ซึ่งเหมาะสาหรับกับการส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 4 เมกะบิตต่อวินาที
Category 3 เป็นสาย ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 10 เมกะบิตต่อวินาที มีการใช้งานมากใน
ระบบ Token ring แบบ 4 Mbits/sec และ 10Base-T
Category 4 เป็นสายซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 16 เมกะบิตต่อวินาที มีใช้ในระบบ Token
ring แบบ 16 Mbits/sec
~ 12 ~
Category 5 เป็นสายที่เหมาะสมกับการส่งข้อมูงได้ถึง 100 เมกะบิตต่อวินาทที มีใช้ในระบบ
เครือข่ายความเร็วสูงรุ่นใหม่ ๆ เช่น Fast Ethernet และ ATM (Asynchronous Transfer Mode)
สำรโคแอกเซียล(Coaxial Cable)
มันเรียกสั้น ๆ ว่า สำยโคแอก จะเป็นสายสื่อสารที่สามรถส่งข้อมูลไกลกว่าสายแบบคู่บิดเกลียว
แต่มีข้อเสียคือราคาสูงกว่า ลักษณะของสายโคแอกจะประกอบด้วยส่วนของสายส่งข้อมูลที่เป็น
ลวดทองแดงหุ้มด้วย ฉนวนอยู่ตรงกลาง จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาเพื่อเป็นสายกราวนด์จากนั้นจึง
หุ้มด้วยฉนวนเป็น เปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง สารโคแอกจะสามารถส่งข้อมูลได้ทั้งแบบเบสแบตด์
และบรอดแบรนด์ พบการใช้งานได้มากจากสายเคเบิลทีวี ในปัจจุบันการใช้งานสายโคแอกกับ
ระบบคอมพิวเตอร์เริ่มลดลง เนื่องจากการพัฒนาของสายคู่บิดเกลียวที่ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้
ด้วยความ เร็วสูงขึ้นเรื่อย ๆ
อุปกรณ์เชื่อมต่อสำยโคแอกเซียล
สำยใยแก้วนำแสง(Fiber Optic Cable)
สายใยแก้วนาแสงจะประกอบด้วยใยแก้วหรือพลาสติกอยู่ตรงกลางของสาย และใช้ใยแก้วอีก
ชนิดหนึ่งเป็น ตัวหุ้ม (cladding) และหุ้มด้วยฉนวนในชั้นนอกสุด ซึ่งใยแก้วชั้นนอกจะทา
~ 13 ~
หน้าที่เหมือนกระจกที่สะท้อนสัญญาณแสงให้สะท้อนไปมา ภายในใยแก้วที่เป็นแกนกลางจาก
จุดเริ่มต้นจนถึงจุดปลายทาง สายใยแก้วจะมีแบนด์วิธที่กว้างมาก ทาให้สามารถส่งข้อมูลปริมาณ
มากได้ด้วยความเร็วสูง นอกจากนี้ยังส่งข้อมูลได้ในระยะทางที่ไกลกว่าและปลอดจากรบกวน
ของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าเนื่องจากใช้แสงเป็นตัวนาสัญญาณ แต่ข้อเสียคือติดตั้งและบารุงรักษา
ยาก รวมทั้งมีราคาแพงที่สุดในจานวนสายสัญญาณที่กล่าวมาทั้งหมด
(ก) สำยคู่บิดเกลียว (ข) สำยโคแอกเซียล (ค) สำยใยแก้วนำแสง
UTP,STP COAXIAL
FIBER
OPTIC
ค่ำใช้จ่ำย Low Med High
ระยะทำง (100 M) 500 M 2 KM
กำรติดตั้ง ง่าย ไม่ยาก
ต้องใช้ความ
ชานาญ
สื่อที่เหมำะสม ข้อมูล
เสียง ภาพ
ข้อมูล
ข้อมูล
มัลติมีเดียว
ควำมเร็ว ปานกลาง ปานกลาง สูงมาก
กำรรบกวนของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ ำ
รบกวน รบกวน ไม่มีผลใด ๆ
กำรดักสัญญำณ
สามารถทา
ได้
สามารถทาได้
ไม่สามารถทา
ได้
~ 14 ~
เปรียบเทียบกำรใช้งำนสำยเคเบิลชนิดต่ำง ๆ
ระบบไมโครเวฟ (Micorwave system)
ระบบไมโครเวฟใช้วิธีส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุเป็นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีก
สถานีหนึ่ง บ่อยครั้งที่สัญญาณของไมโครเวฟจะถูกเรียกว่าสัญญาณแบบ เส้นสำยตำ (Line of
sight) เนื่องจากสัญญาณเดินทางที่ส่งจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งจะไปได้ไม่ไกลกว่าเส้น
ขอบฟ้าโลกเพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรงนั่นเอง ดังนั้นสถานีจะต้องพยายามอยู่ในที่ ๆ สูง
เพื่อช่วยให้ส่งสัญญาณไปได้ไกลขึ้นและลดจานวนสถานนีที่จาเป็นต้องมี โดยปกติแล้วสถานี
หนึ่งจะครอบคลุมพื้นที่รับสัญญาณได้ประมาณ 30 - 50 กม.
ปัจจบันมีการใช้ระบบไมโครเวฟกันทั่วไป โดยเฉพาะในพื้นที่ซึ่งการเดินทางสายกระทาได้ไม่
สะดวก นอกจากนี้ระบบไม่โครเวฟยังจัดว่ามีราคาถูก ติดตั้งง่าย และมีอัตราการส่งข้อมูลสูงด้วย
แต่ข้อเสียของไมโครเวฟคือสัญญาณอาจถูกรบกวนได้จากอุณหภูมิ พายุหรือฝน
ระบบดำวเทียม (Satellite Systems)
ระบบดาวเทียมจะคล้ายกับระบบ ไมโครเวฟในส่วนของการใช้หลักการยิงสัญญาณจากแต่ละ
สถานี ต่อกันไปยังจุดหมายที่ต้องการ แต่ในที่นี้จะใช้ดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นโลก 36000 กม.
เป็นสถานีในการยิงสัญญาณไปยังจุดหมายที่ต้องการ ซึ่งจากการที่ดาวเทียมลอยอยู่สูงมากนี่เอง
ทาให้สามารถใช้ดาวเทียมซึ่งลอย อยู่ในพิกัดที่แน่นอนเพียง 3 ดวง ก็ส่งสัญญาณครอบคลุมไป
ยังทุกจุดในโลกได้โดยสถานีต้นทางจะส่งสัญญาณขึ้นไปยังดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นที่ของ
ตนเอง เรียกว่า สัญญำณเชื่อมต่อขำขึ้น (Up-link) และดาวเทียมจะทาการตรวจสอบตาแหน่ง
ของสถานีปลายหางหากอยู่ในขอบเขตพื้นที่ที่ครอบคลุมอยู่ ก็ทาการส่งสัญญาณไปยังสถานี
ปลายทางทันที เรียกว่า สัญญำณเชื่อมต่อขำลง (Down-link) หากสถานีปลายทางอยู่นอก
ขอบเขตสัญญาณ ดาวเทียมจงส่งต่อไปยังดาวเทียมดวงที่ครอบคลุมสถานีปลายทางนั้นเพื่อส่ง
สัญญาณ Down-link ต่อไป
~ 15 ~
ในปัจจบันการใช้สัญญาณผ่านดาวเทียมกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในการส่งสัญญาณข้อมูล
คอมพิวเตอร์ สัญญาณโทรทัศน์ รวมทั้งการใช้ในทางภูมิศาสตร์ ทางทหารต่าง ๆ อย่างมากมาย
ข้อเสียที่สาคัญของระบบดาวเทียมคือถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศ ฝนหรือพายุ รวามทั้ง
ตาแหน่งโคจรของดวงอาทิตย์ด้วย นอกจากนี้ข้อเสียที่สาคัญอีกอย่างคือจะมี เวลำหน่วง (Delay
Time) ในการส่งสัญญาณ ทาให้ผ่ายรับได้รับข้อมูลช้ากว่าเวลาที่เกิดขึ้นจริง เนื่องจากแม้ว่า
สัญญาณจะเดินทางด้วยความเร็วแสง แต่ระบะทางที่สัญญาณต้องวิ่งระหว่างดาวเทียมกับพื้น
โลกถึง 2 รอบ (ขึ้น-ลง) คือ 70000 กม. ทาให้เกิดเวลาหน่วงขึ้น ซึ่งสาหรับบางงานอาจเป็นสิ่งที่
ไม่สามารถยอมรับได้
กำรสื่อสำยผ่ำนระบบไมโครเวฟและดำวเทียม
ระบบอื่น ๆ
ในปัจจบันยังมีระบบสื่อสารแบบไร้สายอื่น ๆ ที่มีการนามาใช้ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งบางแบบก็
กาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เช่น
ระบบอินฟำเรด(Infraed) เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับ remote control ช่องเครื่องรับ
โทรทัศน์ อย่างไรก็ดีระบบนี้จะมีข้อจากัดที่ต้องใช้งานเป็นเส้นตรงระหว่างเครื่องรับ และ
เครื่องส่งทาให้มีระยะทางรับส่งที่ไม่ไกลนัก รวมทั้งไม่อาจมีสิ่งกีดขวางด้วย ในปัจจุบันมีการ
~ 16 ~
นามาใช้เป็นระบบเครือข่ายระยะไกล ๆ อยู่บ้างสาหรับพื้นที่ที่การเดินสายกระทาได้ไม่สะดวก
รวมทั้งมีการนาไปใช้ในการส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องพิมพ์ด้วย
ระบบวิทยุ (Radio) จะใช้คลื่นวิทยุในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอย่างไร
ก็ดีระบบนี้จะมีปัญหากับการขออนุญาตใช้คลื่นความถี่ ซึ่งจะมีข้อกาหนดในแต่ละประเทศที่
เข้มงวดต่างกันไป
ระบบสเปคตรัมแถบกว้ำง(Spreas Specturm) เป็นระบบคลื่นวิทยุที่ถูกพัฒนาโดยกองทัพสหรัฐ
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนและการดักสัญญาณ ในปัจุบัน
เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถรับส่งได้ด้วยความเร็วสูงถึง 10 Mbps และมีการใช้งานใน
ระบบเครือข่ายขนาดเล็กในอาคารเดียวกัน
อุปกรณ์สื่อสำรข้อมูล
ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย จะต้องทาการเชื่อมระหว่างอุปกรณ์และสื่อกลาง
แบบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งอาจมีความต้องการเฉพาะรูปแบบต่าง ๆ เช่น การรวมข้อมูลจากหลาย
ๆ จุดเพื่อส่งผ่านไปยังสายเคเบิลโทรศัพท์เพียงสายเดียว หรืออาจต้องการขยายระยะทางการใช้
งาน รวมทั้งอาจต้องเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายที่มีลักษณะแตกต่างเข้าด้วยกัน ความต้องการเหล่
นี้ทาให้ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเฉพาะงาน
ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น
อุปกรณ์รวมสัญญำณ
มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Muliplexer)
นิยมเรียกกันว่า มัก (MUX) จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการลดค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูลผ่านสาย
สื่อสาร โดยจะทาการ รวมข้อมูล (multiplex) จากเครื่องเทอร์มินัลจานวนหนึ่งเข้าด้วยกัน และ
ส่งผ่านสายสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์และที่ปลายทาง MUX มักอีกตัวก็จะทาหน้าที่ แยกข้อมูล
(demultiplex) ส่งไปยังจุดหมายที่ต้องการ
~ 17 ~
คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator)
นิยมเรียกกันว่า คอนเซน จะเป็นมัลติเพลกเซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยจะสามารถทาการ
เก็บข้อมูลเพื่อส่งต่อ (store and forward) โดยใช้หน่วยความจา buffer ทาให้สามารถเชื่อมต่อ
ระหว่างอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูงกับความเร็วต่าได้รวมทั้งอาจมีการบีบอัดข้อมูล (compress)
เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้มากขึ้น
ฮับ(Hub)
สามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า LAN Concentrator เนื่องจากฮับจะทาหน้าที่เช่นเดียวกับคอนเซน
แต่จะมีราคาถูกกว่า นิยมใช้ในเครือข่าย LAN รุ่นใหม่ ๆ โดยใช้อับในการเชื่อมสายสัญญาณจาก
หลาย ๆ จุดเข้าเป็นจุดเดียวในโทโปโลยีของ LAN แบบ Star เช่น 10BaseT เป็นต้น
ฮับสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
-Passive Hub เป็นฮับที่ไม่มีการขยายสัญญาณใด ๆ ที่ส่งผ่านมา มีข้อดีคือราคาถูกและไม่
จาเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า
-Active Hub ทาหน้าที่เป็นเครื่องทวนซ้าสัญญาณในตัว นั่นคือจะขยายสัญญาณที่ส่งผ่านมา
สามารถทาให้เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านสายเคเบิลได้ไกลขึ้น และเนื่องจากต้องทาการขยาย
สัญญาณทาให้ ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าด้วย จึงเป็นข้อเสียที่ต้องมีปลั๊กไฟในการใช้งานเสมอ
ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์ (Front-End Processor)
มีหน้าที่การทางานเช่น เดียวกับคอนเซนเตรเตอร์ แต่โดยปกติจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทางาน
นี้โดยเฉพาะเครื่องหนึ่ง ซึ่งจะมีปลายด้านหนึ่งที่ทาการเชื่อมโยงด้วยความเร็วสูงเข้ากับเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลัก เช่น เมนเฟรม และปลายอีกด้านจะเชื่อมเข้ากับสายสื่อสารและอุปกรณ์อื่น ๆ
ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์จะพบมากในระบบขนาดใหญ่ เพื่อช่วยลดภาระในการติดต่อกับ
อุปกรณ์รอบข้างให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หลัก (Host)
~ 18 ~
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ำย
เครื่องทวนซ้ำสัญญำณ(Repeater)
เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Physical Layer ใน OSI Model มีหน้าที่เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อ
สาหรับขยายสัญญาณให้กับเครือข่าย และไม่รู้จักลักษณะของข้อมูลที่แฝงมากับสัญญาณเลย
บริดจ์ (Bridge)
ใช้ในการเชื่อมต่อ วงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN
ออกไปได้เรื่อย ๆ โดยที่ประสิทธภาพรวมของระบบไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่ออของ
เครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกัน จะไม่ถูกส่งผ่านบริดจ์ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น
และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ระดับ Data Link Layer ใน OSI Modelทาให้สามารถ
ใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันระดับ Physical และ Data Link ได้เช่น ระหว่าง
Ethernet กับ Token Rink เป็นต้น ซึ่งอาจเชื่อมต่อระหว่าง LAN ที่อยู่บริเวณเดียวกันหรือเชื่อม
LAN ที่อยู่ ห่างกันผ่านทางสื่อสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ด้วย บริดจ์ระยะไกล (Remote
Bridge) โดยบริดจ์อาจเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์เฉพาะ หรือซอฟต์แวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
กาหนดให้เป็นบริดจ์ก็ได้
สวิตซ์ (Switch)
หรือที่นิยมเรียกว่า อีเธอร์เนตสวิตซ์ (Ethernet Switch) จะเป็น บริดจ์แบบหลำยช่องทำง
(multiport bridge) ที่นิยมใช้ในระบบเครือข่ายแลนแบบ Ethernetเพื่อใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลาย
ๆ เครือข่าย (segment) เข้าด้วยกัน สวิตซ์จะช่วยละการจราจรระหว่างเครือข่ายที่ไม่จาเป็น (ตาม
คุณสมบัติของบริดจ์) และเนื่องจากการเชื่อมต่อแต่ละช่องทางการะทาอยู่ภายในตัวสวิตซ์เอง ทา
ให้สามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละเครือข่าย (Switching) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการใช้
บริดจ์จานวนหลาย ๆ ตัวเชื่อมต่อกัน
นอกจากนี้ สวิตซ์ยังสามารถใช้เชื่อมเครื่องคอมพวิเตอร์เพียงเครื่องเดียวเข้ากับสวิตซ์ ซึ่งจะทาให้
เครื่อง ๆ นั้น สามารถติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ด้วยความเร็วเต็มความสามารถของช่องทางการสื่อสาร
~ 19 ~
เช่น 10 Mbps ในกรณีเป็น 10BaseT เป็นต้น เนื่องจากไม่ต้องทาการแบ่งช่องทางการสื่อสาร
ข้อมูลกับเครื่องอื่น ๆ เลย
เรำท์เตอร์ (Router)
เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ใน ระดับที่อยู่สูงกว่าบริดจ์ นั่นคือในระดับ Network Layer ใน OSI
Model ทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลเครือข่ายต่าง กันและ
สามารถทาการ กรอง (filter) เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปได้ทาให้ช่วยลด
ปัญหาการจราจรที่คับคั่งของข้อมูล และเพิ่มระดับความปลอดภัยของเครือข่าย นอกจากนี้เราท์
เตอร์ยังสามารถหาเส้นทางการส่งข้อมูลที่เหมาะสมให้โดยอัตโนมัติด้วย (ในกรณที่สามารถส่ง
ได้หลายเส้นทาง ) เราท์เตอร์จะเป็นอุปกรณืที่ขึ้นอยู่กับโปรโตคอล นั่นคือในการใช้งานจะต้อง
เลือกซื้อเราท์เตอร์ที่สนับสนุนโปรโตคอลของเครือข่ายที่ต้องการจะเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
เกทเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ใน ระดับ Transport Layer จนถึง Application Layer ของ OSI Model มี
หน้าที่ในการเชื่อมต่อและแปลงข้อมูลระหว่างเครือข่ายที่แตกต่างกันทั้งใน ส่วนของโปรโตคอล
และสถาปัตยกรรมของเครือข่าย LAN และระบบ Mainframeหรือเชื่อมระหว่างเครือข่าย SNA
ของ IBM กับ DECNet ของ DEC เป็นต้น โดยปกติ Gateway มักจะเป็น Software Packageที่ใช้
ในงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง (ซึ่งทาให้เครื่องนั้นมีสถานะเป็น Gateway)
และมักใช้สาหรับเชื่อม Workstation เข้าสู่เครื่องที่เป็นเครื่องหลัก ทาให้เครื่องที่เป็น
Workstationสามารถทางานติดต่อกับเครื่องหลักได้โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับข้อ แตกต่างของ
ระบบเลย
ชนิดของระบบเครือข่ำย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งตามระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงกันเป็น
เครือข่ายได้ดังนี้
~ 20 ~
ระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ(LAN)
LAN (Local Area Network) จะเป็นเครือข่ายซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมดเชื่อมโยงกันอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ
กัน เช่น อยู่ภายในแผนกเดียวกัน อยู่ภายในสานักงาน หรืออยู่ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น โดย
ส่วนมากแล้วการเชื่อมต่อในระบบแลนจะใช้สายเคเบิลแบบต่าง ๆ ในการเชื่อมโยงถึงกัน
ระบบเครือข่ายแบบแลนยังรวมถึงเครือข่ำยบริเวณมหำวิทยำลัย (Campus network) ซึ่งเป็น
เครือข่ายที่เชื่อมโยงเครือข่ายแบบแลนจากตึกต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย (หรือบริเวณพื้นที่ของ
นิคมอุตสาหกรรม) เข้าด้วยกัน โดยปกติแล้วจะเป็นการเชื่อมโยงกันด้วยความเร็วสูงผ่านสาย
Fiber Optic
ระบบเครือข่ายแลน จะเป็นระบบเครือข่ายที่มีการใช้งานในองค์กรต่าง ๆ มากที่สุด ดังนั้นจะมี
การกล่าวถึงแลนอย่างละเอียดในส่วนต่อไป
ระบบเครือข่ำยระยะไกล (WAN)
WAN (Wide Area Network) จะเป็นเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครือข่ายแลนตั้งแต่ 2 วงขึ้นไป
เชื่อมต่อกันในระยะทางที่ไกลมาก เช่น ระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ ปกติแล้วเครือข่าย
แบบแวนจะเชื่อมต่อกันด้วยระบบเครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network) เช่น สายโทรศัพท์
ไมโครเวฟหรือดาวเทียม รวมทั้งบริการ X.25 หรือ ISDN เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีระบบเครือข่ายแบบ MAN (Metropolitan Area Network) หรือระบบเครือข่าย
บริเวณเมืองใหญ่ ซึ่งเป็นเครือข่ายแบบแวนที่มีระยะห่างไม่มากนัก เช่น เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยง
ภายในเขตเมือง หรือย่านใจกลางธุรกิจ เป็นต้น การเชื่อมโยงแบบ ปกติแล้วจะเป็นการเชื่อมโยง
ระหว่างตึกต่าง ๆ ด้วยการเชื่อมโยงความเร็วสูงผ่านสายใยแก้วนาแสง และเป็นระบบเครือข่าย
สาธารณะที่สามารถทาการเช่าใช้งานจากผู้ให้บริการได้ทันที
~ 21 ~
ระบบเครือข่ำยLAN
ระบบเครือข่ายแบบ LAN หรือระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ โดยปกติแล้วจะเป็นระบบเครือข่าย
ส่วนตัว นั่นคือองค์กรที่ต้องการใช้งานเครือข่าย ทาการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน
เป็นระบบเครือข่ายในระยะใกล้ๆ ซึ่งจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรและธุรกิจต่าง ๆ
มากมาย เช่น
สำมำรถแบ่งเบำกำรประมวลผลไปยังเครื่องต่ำง ๆ เฉลี่ยกันไป
สำมำรถแบ่งกันใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ซีดีรอมไดรฟ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพสูง เป็นต้น
สำมำรถแบ่งกันใช้งำนซอฟต์แวร์และข้อมูลหรือสำรสนเทศต่ำง ๆ รวมทั้งทำให้สำมำรถจัดเก็บ
ข้อมูลเหล่ำนั้นไว้เพียงที่เดียว
สำมำรถวำงแผนหรือทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่มได้ แม้จะไม่ได้อยู่ใกล้กันก็ตำม
สำมำรถใช้ในกำรติดต่อกัน เช่น ส่งจดหมำยทำงอิเลคทรอนิคส์ หรือกำรส่งเสียงหรือภำพทำง
อิเลคทรอนิคส์ เป็นต้น
ช่วยลดค่ำใช้จ่ำยโดยรวมขององค์กร
ชนิดกำรเชื่อมต่อของเครือข่ำย LAN
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเฉพาะบริเวณแลนนั้น จุดประสงค์หลักอย่าง
หนึ่งก็คือการแบ่งกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทรัพยากรเหล่านั้นอาจเป็นหน่วยประมวลผลกลาง
CPU ความเร็วสูง ฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์หรือแม้แต่อุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้จะ
เชื่อมอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง วิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อจัดสรร
การใช้งานทรัพยากรในระบบเครือข่ายสามารถจาแนกได้เป็น 2 รูปแบบคือ
~ 22 ~
เครือข่ำยแบบพึ่งเครื่องบริกำร(Server - based networking)
เป็นการเชื่อมต่อโดยมีเครื่องบริการอยู่ศูนย์กลาง ทาหน้าที่ในการให้บริการต่าง ๆ ที่เครื่องผู้ใช้
หรือสถำนีงำน (Workstation) ร้องขอ รวมทั้งเป็นผู้จัดการดูแลการจราจรในระบบเครือข่าย
ทั้งหมด นั่นคือการติดต่อกันระหว่างเครื่องต่าง ๆ จะต้องผ่านเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เครื่องผู้ใช้จะทา
การประมวลผลในงานของตนเท่านั้น ไม่มีหน้าที่ในการให้บริการกับเครื่องอื่น ๆ ในระบบ
เครื่องผู้บริการในระบบเครือข่ายชนิดนี้อาจมีได้2 รูปแบบคือ
เครื่องบริการแบบอุทิศ(Dedicated Server) หมายถึงเครื่องบริการทาหน้าที่บริการอย่างเดียว
เท่านั้น ไม่สามารถนาไปใช้ในงานทั่ว ๆไปได้ข้อดีคือทาให้ระบบมีเสถียรภาพและมี
ประสิทธิภาพสูง ข้อเสียคือไม่สามารถใช้งานเครื่องที่มีราคาสูงได้
เครื่องบริการแบบไม่อุทิศ(Non - Dedicated Server) หมายถึงเครื่องบริการยังสามารถใช้งานได้
ตามปกติเหมือนเครื่องลูกข่าย ซึ่งมีข้อเสียที่สาคัญคือมีประสิทธิภาพของเครือข่ายจะลดลง ทาให้
วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมในการใช้งาน
เครือข่ำยแบบเท่ำเทียม(Peer - to Peer networking)
เป็นการเชื่อมต่อที่ เครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเครื่องทุก
เครื่องสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องผู้ใช้และเครื่องบริการในขณะ ใดขณะหนึ่ง นั่นคือเครื่องทุกเครื่อง
เปรียบเสมือนกับเป็นเครื่องบริการแบบไม่อุทิศ (Non - Dedicated Server) นั่นเอง ในระบบ
เครือข่ายประเภทนี้การติดต่อระหว่างแต่ละเครื่องจะสามารถติดต่อกันได้โดยตรง มีข้อเสียคือ
ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลด้อยกว่าแบบแรก ทาให้ไม่เหมาะกับระบบที่มีการใช้งานการ
รับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายมาก ๆ
Network Advantages Disadvantages
Server -
Based
 มีประสิทธิภาพ
สูงกว่า
โดยเฉพาะอย่าง
 เสียค่าใช้จ่ายสูงสาหรับเครื่อง
server โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาร
เป็นแบบ Dedicates Server
~ 23 ~
ยิ่งถ้าเป็นแบบ
Dedicates Server
 การดูแลระบบ
สามารถทาได้ง่าย
กว่า
ซึ่งไม่สามารถนาไปใช้งาน
อย่างอื่นได้
 ไม่สามารถใช้งานทรัพยากรที่
เชื่อมอยู่กับ Workstation ได้
 ถ้า Server เสียระบบจะหยุด
หมด
Peer - to -
Peer
 สามารถใช้งาน
ทรัพยากรซึ่ง
เชื่อมอยู่กับเครื่อง
ใด ๆ ในเครือข่าย
 ประหยัด
ค่าใช้จ่ายในส่วน
ของ Server
 สามารถกระจาย
โปรแกรม
ประยุกต์ไปไว้ยัง
เครื่องต่าง ๆ เพื่อ
ลดการจราจรใน
เครือข่ายได้
 การดูแลระบบทาได้ยาก เนื่อง
จากทรัพยากระกระจัด
กระจายกันไปในเครื่องต่าง ๆ
 มีประสิทธิภาพที่ต่ากว่าแบบ
Server - based มาก
 เครื่องทุกเครื่องต้องมี
หน่วยความจาและ
ประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่อง
ในแบบ Server - based
เปรียบเทียบกำรเชื่อมต่อแบบ Server - based เทียบกับ Peer - to Peer
~ 24 ~
ส่วนประกอบพื้นฐำนของระบบ LAN
Network Operating System (NOS)
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System) มีหน้าที่ในการควบคุมการทางานของ
เครือข่าย เช่นเดียวกับการที่ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์นั่นเอง ซึ่งในเครือข่ายแบบ Peer - to - Pear เช่น Windows for Workggroups จะมี
ระบบปฏิบัติการเครือข่ายอยู่ในเครื่องทุกเครื่องของเครือข่าย ในขณะที่ในเครือข่ายแบบ
Serverbased เช่น netware หรือ Window NT นั้น ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะอยู่ที่เครื่อง Server
ในขณะที่ workstation จะใช้ซอร์ฟแวร์ขนาดเล็กอีกตัวในการติดต่อรับ - ส่งข้อมูลกับ Server
เครื่องบริกำรและสถำนีงำน(Server and Workstation)
ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบกันเป็นเครือข่ายนั้นเอง โดยเครื่องบริการจะเป็นเครื่องหลักที่
มีหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ แก่สถำนีงำนหรือโหนด ซึ่งบริการหลัก ๆ ก็คือบริการแฟ้มข้อมูล
บริการเครื่องพิมพ์บริการแฟกซ์ บริการฐานข้อมูล เป็นต้น ส่วน นั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ผู้ใช้ใช้ในการติดต่อเข้าเครือข่ายนั้นเอง
แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ำย(Netwoirk Interface Card - NIC)
จะเป็นอุปกรณ์ที่เป็นแผงวงจรสาหรับเสียบเข้าช่องต่อขยาย (expansion bus) ของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถต่อสายของเครือข่ายเข้ามาและทาการติดต่อส่งข้อมูลกับเครือข่าย
ได้
ระบบกำรเดินสำย(Cabling System)
ระบบการเดินสายจะเป็นสื่อที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะ
ประกอบด้วยสายต่าง ๆ คือ UTP/STP , Coaxial , Fiber Optic หรือแม้แต่การเชื่อมกันแบบไร้
สาย เช่น Infared หรือสัญญาณวิทยุก็ได้
~ 25 ~
ทรัพยำกรและอุปกรณ์ที่ใช้งำนร่วมกัน(Shared Resources and Peripherals)
จะรวมถึงอุปกรณ์หน่วยความจาถาวร เช่น อาร์ดดิสก์หรือเทปที่ต่ออยู่กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์
ตลอดจนเครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งผู้ใช้ในเครือข่ายที่ได้รับอนุญาตสามารถใช้งานได้
โครงสร้ำงของระบบเครือข่ำย(Network Topology) แบบ LAN
ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) สามารถออกแบบการ
เชื่อมต่อกันของเครื่องในเครือข่าย ให้มีโครงสร้างในระดับกายภาพได้ในหลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละ
รูปแบบจะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป ดังนี้
โครงสร้ำงแบบดำว(Star Topology)
เป็นโครงสร้างที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง การรับส่งข้อมูล
ทั้งหมดจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสมอ มีข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่
สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบ กระเทือนกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมีค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสีย ระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที
โครงสร้ำงแบบบัส (Bus Topology)
เป็นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวด้วยสายเคเบิลที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งสายเคเบิลหรือบัสนี้
เปรียบเสมือนกันถนนที่ข้อมูลจะส่งผ่านไปมาระหว่างแต่ละเครื่องได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องผ่าน
ไปที่ศูนย์กลางก่อน โครงสร้างแบบนี้มีข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อ
ระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก
โครงสร้ำงแบบแหวน(Ring Topology)
เป็นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเข้าเป็นวงแหวน ข้อมูลจะถูกส่งต่อ ๆ กันไปในวง
แหวนจนกว่าจะถึงเครื่องผู้รับที่ถูกต้อง ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้คือ ใช้สายเคเบิลน้อย และ
สามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ทาให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่อง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตpeter dontoom
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานพัน พัน
 
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานNalatporn
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3Nattipong Siangyen
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ KeyboardDuangnapa Inyayot
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 

What's hot (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 

Viewers also liked

8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comKnow Mastikate
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889CUPress
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 

Viewers also liked (15)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คค
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Science project
Science projectScience project
Science project
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.com
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ตทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นพัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์N'Ice Thnaphop
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองกนกศักดิ์ บัวทอง
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์อาย อาย
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ตทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เสนอ ครู ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทาโดย นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/3 รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสานักงานขั้นสูง รหัสวิชา ง.30210 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 2. ~ ii ~ คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ของ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งมีองค์ความรู้พื้นฐานที่สามารทาความเข้าใจได้ถ้า รายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ณ. ที่นี้ด้วย จัดทาโดย นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม ชั้นม.5/3เลขที่6
  • 3. ~ iii ~ สำรบัญ เครือข่ายคอมพิวเตอร์...............................................................................................................1 ความรู้พื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์...................................1 ชนิดของสัญญาณทางอิเลคทรอนิคส์.........................................................................1 สัญญาณแบบAnalog .............................................................................................................1 สัญญาณแบบDigital..............................................................................................................1 วิธีในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิคส์.........................2 การสื่อสารแบบไม่ประสานจังหวะ(Asynchronous transmission) .........................2 การสื่อสารแบบประสานจังหวะ(Synchronous transmission)..................................3 ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล...........................................................................................3 แบบทิศทางเดียว(Simplex)..................................................................................................3 แบบกึ่งสองทิศทาง(Half Duplex).......................................................................................4 แบบสองทิศทาง(Full Duplex)..............................................................................................4 การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนาน......................................................4 ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์.................................................4
  • 4. ~ iv ~ การประมวลผลข้อมูลกับการสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์.....................5 ระบบการประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง( Centralized Processing ).........................5 ระบบการประมวลผลข้อมูลไคลเอนต์- เซิร์ฟเวอร์ ( Client - Server Processing ) ...........................................................................................................................................................6 ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย( Distributed Processing )......................6 แบบจาลองสาหรับอ้างอิง......................................................................................................7 ช่องทางการสื่อสารข้อมูล......................................................................................................9 ระบบแบบเดินสายเคเบิล(Wired system)........................................................................10 สายคู่บิดเกลียวแบบมีชีลต์และไม่มีชีลต์(Shielded and UnShielsed Twisted-Pair Cable) ............................................................................................................................................10 สารโคแอกเซียล(Coaxial Cable)........................................................................................12 สายใยแก้วนาแสง(Fiber Optic Cable) ..............................................................................12 ระบบไมโครเวฟ (Micorwave system).................................................................................14 ระบบดาวเทียม (Satellite Systems)........................................................................................14 ระบบอื่น ๆ................................................................................................................................15 ระบบอินฟาเรด(Infraed)....................................................................................................15 ระบบวิทยุ(Radio).................................................................................................................16
  • 5. ~ v ~ ระบบสเปคตรัมแถบกว้าง(Spreas Specturm).............................................................16 อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล..............................................................................................................16 อุปกรณ์รวมสัญญาณ..........................................................................................................16 มัลติเพล็กซ์เซอร์(Muliplexer) ...........................................................................................16 คอนเซนเตรเตอร์(Concentrator) ......................................................................................17 ฮับ(Hub) .....................................................................................................................................17 ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์(Front-End Processor) .....................................................17 อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย.................................................................................................18 เครื่องทวนซ้าสัญญาณ(Repeater).................................................................................18 บริดจ์(Bridge) ...........................................................................................................................18 สวิตซ์(Switch) ..........................................................................................................................18 เราท์เตอร์(Router)..................................................................................................................19 เกทเวย์(Gateway).....................................................................................................................19 ชนิดของระบบเครือข่าย........................................................................................................19 ระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ(LAN)................................................................................20 LAN (Local Area Network).............................................................................................................20 ระบบเครือข่ายระยะไกล(WAN) ......................................................................................20
  • 6. ~ vi ~ WAN (Wide Area Network)...........................................................................................................20 ระบบเครือข่ายLAN.....................................................................................................................21 ชนิดการเชื่อมต่อของเครือข่ายLAN ..............................................................................21 เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ(Server - based networking).....................................22 เครือข่ายแบบเท่าเทียม(Peer - to Peer networking) ......................................................22 ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบLAN..........................................................................24 Network Operating System (NOS) ................................................................................................24 เครื่องบริการและสถานีงาน(Server and Workstation) ..............................................24 แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย(Netwoirk Interface Card - NIC).......................................24 ระบบการเดินสาย(Cabling System)..................................................................................24 ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน(Shared Resources and Peripherals).....25 โครงสร้างของระบบเครือข่าย(Network Topology) แบบ LAN .................................25 โครงสร้างแบบดาว(Star Topology).................................................................................25 โครงสร้างแบบแหวน(Ring Topology)...........................................................................25 วิธีควบคุมการเข้าใช้งานสื่อกลาง(Media Access Control (MAC) Methed) ................26 CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Acess/Collision Detection) .....................................................26 Token Passing................................................................................................................................26 มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบLAN ชนิดต่าง ๆ......................................................27
  • 7. ~ vii ~ IEEE 802.3 และ Ethernet ...........................................................................................................27 IEEE 802.4 และ Token Bus.........................................................................................................28 IEEE 802.5 และ Token Ring........................................................................................................28 FDDI (Fiber Distributed Data Interface) ........................................................................................28 โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal) ....................................................28 NetBIOS และ NetBUIE ...............................................................................................................29 IPX/SPX..........................................................................................................................................29 TCP/IP............................................................................................................................................29 ระบบเครือข่ายWAN .....................................................................................................................30 ประเภทของเครือข่ายระยะไกล....................................................................................30 เครือข่ายส่วนตัว(Private Network)...................................................................................30 เครือข่ายสาธารณะ(Public Data Network)...................................................................................31 เครือข่ายแบบสลับวงจร(Circuit-Switching Network) ......................................................31 เครือข่ายแบบสลับแพคเกต(Packet Switching Data Network).......................................32 ISDN...................................................................................................................................................32 Narrow Band ISDN (ISDN-N)......................................................................................................................32 Broadband ISDN (ISDN-B) .............................................................................................................33 ATM...................................................................................................................................................33 การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์.........................................33 บริการกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Bulletin Boards services) ..............34
  • 8. ~ viii ~ จดหมายและจดหมายเสียงทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Mail and Vioce Mail) ......................................................................................................................................................34 การประชุมระยะไกลทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Teleconference)...............34 บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Information services).............34 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์(Electronic Data Interchange - EDI) ..35 การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Funds Transfer -EFT) ............................35 การสั่งซื้อสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Shopping) ....................................35 อ้างอิง........................................................................................................................................36
  • 9. ~ 1 ~ เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ในยุคก่อนที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะถือกาเนิดขึ้นนั้น การติดต่อส่งข้อมูลข่าวสารจะผ่านทางสื่อ ต่าง ๆ เช่น ไปรษณีย์โทรศัพท์โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์เป็นต้น ซึ่งแต่ละสื่อก็จะมีข้อดีและ ข้อจากัดต่าง ๆ กันไป แต่ในปัจจุบันนี้ สื่อที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในการส่งข้อมูลข่าวสารมาก ที่สุด ก็คือระบบการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือกล่าวได้ว่าประโยชน์สูงสุด อย่างหนึ่งของคอมพิวเตอร์ในยุคแห่งสารสนเทศนี้ ก็คือการช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสาร และ แลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ควำมรู้พื้นฐำนของกำรสื่อสำรข้อมูลทำงอิเลคทรอนิกส์ - การสื่อสารข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิคส์ ซึ่งเชื่อมอยู่ด้วยสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง - ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ ระบบการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป เพื่อให้สามารถทาการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ระหว่างกันได้นั่นเอง ชนิดของสัญญำณทำงอิเลคทรอนิคส์ สำมำรถแบ่งได้เป็น สัญญำณแบบAnalog จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่ทุก ๆ ค่าที่เปลี่ยนไปของระดับสัญญาณจะ มีความหมาย การส่งสัญญาณแบบ Analog จะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ ง่ายกว่า เนื่องจากค่าทุกค่าถูกนามาใช้งานนั่นเอง ซึ่งสัญญาณแบบ Analog นี้จะเป็นสัญญาณที่ สื่อกลางในการสื่อสารส่วนมากใช้อยู่ เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์เป็นต้น สัญญำณแบบDigital ประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงสุดและ สัญญาณระดับต่าสุด ดังนั้นจะมีประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบ Analog เนื่องจาก
  • 10. ~ 2 ~ มีการใช้งานเพียง 2 ค่าเพื่อนามาตีความหมายเป็น on / off หรือ 1 / 0 เท่านั้น ซึ่งสัญญาณดิจด ตอลนี้จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทางานและติดต่อสื่อ สารกัน สัญญำณดิจิตอลและอนำลอก ในทางปฏิบัติ จะสามารถใช้เครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณทั้งสองแบบได้เพื่อช่วยให้ สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านสัญญาณพาหะที่เป็นอนาลอก เช่น สายโทรศัพท์หรือคลื่นวิทยุ การแปลงสัญญาณแบบ digital ไปเป็น analog จะเรียกว่า Modulation เช่นการแปลงแบบ Amplitude Modulation (AM) และ Frequency Modulation (FM) เป็นต้น ส่วนการแปลง สัญญาณแบบ analog ไปเป็น digital เรียกว่า Demodulation ตัวอย่างของเครื่องมือในการแปลง ระหว่างสัญญาณทั้งสองก็คือ MODEM (Modulation DE Modulation) นั่นเอง วิธีในกำรสื่อสำรข้อมูลระหว่ำงอุปกรณ์ทำงอิเลคทรอนิคส์ ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ทางเครือข่าย 2 ชิ้น อาจแบ่งวิธีที่ใช้ได้เป็น 2 แบบคือ กำรสื่อสำรแบบไม่ประสำนจังหวะ(Asynchronous transmission) หรืออาจเรียกว่า กำรสื่อสำร แบบระบุจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด (start - stop transmission) โดยข้อมูลที่ติดต่อกันระหว่าง อุปกรณ์เครือข่าย 2 ชิ้นนี้ จะประกอบขึ้นจาก 4 ส่วน คือ บิตเริ่มต้น (start bit) บิตของข้อมูลที่ สื่อสำร (transmission data) จานวน 8 บิต บิตตรวจข้อผิดพลาด และบิตปิดท้ำย (stop bit) ซึ่ง ข้อมูลที่ติดต่อกันจะประกอบขึ้นจาก 3 ส่วนนี้ตลอดเวลา การสื่อสารแบบนี้จะเป็นการสื่อสารที่ ความเร็วต่าเนื่องจากต้องสูญเสียช่อง ทางการสื่อสารให้กับบิตเริ่มและสิ้นสุดตลอดเวลา มักใช้ ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์รอบข้าง
  • 11. ~ 3 ~ กำรสื่อสำรแบบประสำนจังหวะ(Synchronous transmission) ข้อมูลจะสามารถส่งได้อย่าง รวดเร็ว เนื่องจากจะทาการส่งที่ละกลุ่มข้อมูล ซึ่งเรียกว่า frame หรือ packets โดยจะมีข้อมูล เริ่มต้นและสิ้นสุดบอกในแต่ละกลุ่มข้อมูล รวมทั้งมีข้อมูลตรวจความผิดพลาดประจากลุ่มข้อมูล ด้วย การส่งแบบ Synchronous นี้ มักใช้ในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ (ก) กำรสื่อสำรแบบไม่ประสำนจังหวะ (ข) กำรสื่อสำรแบบประสำนจังหวะ ทิศทำงของกำรสื่อสำรข้อมูล สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารข้อมูลได้เป็น 3 แบบคือ กำรสื่อสำรข้อมูลแบบทิศทำงเดียว กึ่งสองทิศทำง และสองทิศทำง แบบทิศทำงเดียว(Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่ง ย้อนกลับมาได้เช่น ระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์
  • 12. ~ 4 ~ แบบกึ่งสองทิศทำง(Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับกันได้ทั้งสองทิศทาง โดยต้องผลัดกัน ส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด แบบสองทิศทำง(Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้งสองทิศทางอย่างอิสระ เช่น ระบบโทรศัพท์ กำรสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนำน การสื่อสารแบบอนุกรมจะเป็นการส่งข้อมูลทีละบิตต่อครั้งผ่านสายสื่อสาร ในขณะที่การสื่อสาร ข้อมูลแบบขนานจะส่งข้อมูลเป็นชุดของบิตพร้อม ๆ กันในแต่ละครั้ง ซึ่งทาให้การส่งข้อมูล แบบขนานสามารถทาได้เร็วกว่า แต่ก็จะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าเช่นกัน เนื่องจากสายที่ใช้จะต้องมี ช่องสัญญาณจานวนมาก เช่น 8 ช่องเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้แปดบิตพร้อมกัน กำรสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนำน ระบบเครือข่ำยแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลาง ในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะ ไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือระบบโทรศัพท์เป็นต้น ซึ่งการสื่อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบเบสแบนด์ รวมทั้งการสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ (เช่น เครื่องพิมพ์จอภาพ) การสื่อสารผ่าน และการสื่อสารผ่าน เครือข่ายหลัก ๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B - ISDN ที่เป็นแบบบรอดแบนด์
  • 13. ~ 5 ~ ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) จะตรงข้ามกับเบสแบนด์ นั่นคือจะเป็นการ สื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กัน โดย ใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของ ตนเองผ่านตัวกลางเดียว เช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกัน หลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียวกัน และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้ เป็นต้น กำรประมวลผลข้อมูลกับการสื่อสำรข้อมูลทำงอิเลคทรอนิกส์ เมื่อระบบการสื่อสารข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์พัฒนาก้าวหน้าขึ้น จึงมีการประยุกต์ใช้วิธีการ สื่อสารข้อมูลแบบต่าง ๆ เข้าช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลเป็นไปได้ อย่างสะดวก ยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ด้วย โดยสำมำรถจำแนกวิธีกำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้ดังนี้ ระบบกำรประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลำง( Centralized Processing ) ในระบบการประมวลผลข้อมูลที่ ศูนย์กลางนั้น ( Centralized data Processing ) การประมวลผล ข้อมูลทั้งหมดจะเกิดขึ้นที่เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ซึ่งในระยะแรกผู้ที่ต้องการทาการ ประมวลผลข้อมูลจะต้องไปใช้งานที่ศูนย์กลาง ที่ตัวเครื่องตั้งอยู่เท่านั้น แต่เมื่อระบบการสื่อสาร ข้อมูลก้าวหน้าขึ้น ก็ได้เกิดวิธีการที่ช่วยให้การประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลางสามารถกระทาได้ สะดวกขึ้นนั่นคือ กำรประมวลผลทำงไกล ( Teleprocessing ) ซึ่งเป็นการทาให้ผู้ใช้งาน สามารถ เชื่อมต่อมาใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ศูนย์กลางได้จากระบบการสื่อสารต่าง ๆ แต่การประมวลผลก็ จะอยู่ที่ศูนย์กลางเช่นเดิม เครื่องที่เชื่อมต่อเข้ามาจะทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่เครื่องศูนย์กลาง แสดงมา เท่านั้น
  • 14. ~ 6 ~ ระบบกำรประมวลผลข้อมูลไคลเอนต์ - เซิร์ฟเวอร์ ( Client - Server Processing ) เป็นการประมวลผลที่ได้รับความ นิยมในยุคถัดมา เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้มี การใช้งานอย่างแพร่หลาย และมีประสิทธิภาพของเครื่องสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้เกิดแนวคิดที่จะ ประมวลผลมาทางานที่ PC โดยในระบบนี้ เครื่อง PC จะเรียกใช้งานโปรแกรมที่ทาหน้าที่คุยกับ โปรแกรมที่คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง และรับหน้าที่ในการนาข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลใน รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม รวมทั้งรับหน้าที่ในส่วนของการโต้ตอบและรับข้อมูลจากผู้ใช้ด้วย ระบบกำรประมวลผลข้อมูลแบบกระจำย( Distributed Processing ) เป็นการประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในขั้นต่อมา โดยจะมีการกระจายภาระการประมวลผลไป ยังเครื่องต่าง ๆ ที่เชื่อมกันอยู่กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนาผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน ซึ่งวิธีการนี้ ทาให้เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของระบบโดยรวม รวมทั้งยังสามารถลดจานวน ข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายได้ด้วย (ก) แบบศูนย์กลำง (ข) แบบโคลเอนด์ - เซิร์ฟเวอร์ (ค) แบบกระจำย
  • 15. ~ 7 ~ แบบจำลองสำหรับอ้ำงอิง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างที่แน่นอน และเพื่อเป็นการ ลดความซับซ้อน ระบบเครือข่ายส่วนมากจึงแยกการทางานออกเป็นชั้น ๆ โดยกาหนดหน้าที่ใน แต่ละชั้นไว้อย่างชัดเจน แบบจาลองสาหรับอ้างอิง แบบ OSI ( open systems Interconnection reference Model ) หรือที่ นิยมเรียกกันทั่วไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็นแบบจาลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดย องค์กร Internation Standard Organization ( ISO ) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของ สถาปัตยกรรมเครือข่ายในอุดมคติ ซึ่งระบบเครือข่ายที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมนี้ จะเป็นระบบ เครือข่ายแบบเปิด และอุปกรณ์ทางเครือข่ายจะสามารถติดต่อกันได้โดยไม่ขึ้นกับว่าเป็นอุปกรณ์ ของ ผู้ขายรายใด แบบจำลอง OSI จะแบ่งกำรทำงำนของระบบเครือข่ำยออกเป็น 7 ชั้น คือ OSI LAYER หน้าที่ของแต่ละ LAYER APPLICATION เป็นชั้นการทางานของซอฟต์แวร์ประยุกต์ซึ่ง เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่าย เช่น การ transfer แฟ้มข้อมูลการจาลอง terminal การแลกเปลี่ยน ข้อมูล เป็นต้น PRESENTATION เป็นชั้นการทางานของระบบรักษาความลับและการ แปลงข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารถแลกเปลี่ยน กันได้เช่น แปลงระหว่าง EBCIDIC กับ ASCII หรือ การแปลงข้อมูลรหัสจบบรรทัดระหว่างระบบ UNIX กับ MS-DOS เป็นต้น SESSTION รับผิดชอบการควบคุมการติดต่อและการประสาน ของข้อมูลที่ส่งผ่านระบบเครือข่าย เช่น การ ตรวจสอบลาดับก่อนหลังที่ถูกต้องของ เป็นต้น
  • 16. ~ 8 ~ TRANSPORT เป็นชั้นที่รับผิดชอบการส่ง ถ่ายข้อมูลระหว่างจุด จะ ทาการตรวจสอบ 3 ชั้นล่างว่ามีการทางานที่ถูกต้อง และทาการส่งผ่านข้อมูลให้ชั้นที่สูงกว่าโดยซ่อน วิธีการทางานที่เกิดขึ้นจริง ใน 3 ชั้นล่างไว้โดยปกติ แล้วนับจากชั้นนี้ถึงชั้นบนสุดจะอยู่ในซอฟต์แวร์ ประยุกต์ทางด้าน เครือข่ายตัวเดียวกัน ในขณะที่ชั้น ที่ต่ากว่านี้เป็นส่วนจัดการเครือข่ายซึ่งขึ้นกับชนิด ของระบบ เครือข่ายที่ใช้งานอยู่ NETWORK เป็นชั้นที่ทาการตรวจสอบการส่งข้อมูลผ่าน เครือข่าย เช่น เวลาที่ใช้ในการส่ง การส่งต่อ (routing) และการจัดการลาดับ (flow control) ของ ข้อมูล DATA LINK เป็นชั้นที่รับผิดชอบการนาข้อมูลเข้าและออกจาก ตัวกลาง การจัดเฟรม การตรวจสอบและจัดการ ข้อผิดพลาดของข้อมูล (error detection correction and retransmission) ในชั้นนี้จะมีการแบ่งออกเป็น 2 ชั้นย่อย (sub-layers) คือ  LLC (Logical Link Control) จะอยู่ใน ครึ่งบน รับผิดชอบในเรื่องการตรวจสอบ ข้อผิดพลาด  MAC (Media Access Control) อยู่ใน ครึ่งล่าง เป็นส่วนของวิธีส่งข้อมูลผ่าน สื่อกลาง PHYSICAL จะเป็นชั้นการทางานทางกายภาพของระบบการ เชื่อมต่อ ทั้งในส่วนของสัญญาณทางไฟฟ้า ระบบ สายสัญญาณ (cable) และตัวเชื่อม (connector)
  • 17. ~ 9 ~ หน้ำที่ของแต่ละเลเยอร์ในแบบจำลอง OSI ช่องทำงกำรสื่อสำรข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์นอกจากจะประกอบขึ้นจากการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกันเป็น เครือข่ายแล้ว ยังต้องมีช่องทางหรือสื่อกลำง ( media) ในการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งในปัจจุบันจะมีอยู่ มากมายหลายแบบ และแต่ละแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป สิ่งที่จะต้องคานึงในการ เลือกช่องทางที่ต้องการคือ อัตรำเร็วในกำรส่งผ่ำนข้อมูล (Transmission Rate) อาจเลือกได้ตั้งแต่ความเร็วอยู่ในหลัก Kbpd (กิโลบิตต่อวินาที ) จนถึงหลายสิบ Mbps (เมกะบิตต่อวินาที ) ระยะทำง (Distance) ต้องคานึงถึงระยะทางระหว่างอุปกรณ์ที่ต้องการเชื่อมต่อกันด้วย โดยอาจ ห่างกันตั้งแต่ไม่กี่ฟุตจนถึงหลายพันกิโลเมตร ค่ำใช้จ่ำย (Cost) อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งครั้งแรกและค่าใช้จ่ายประจา ควำมสะดวกในกำรติดตั้ง (Each of Installtion) เนื่องจากบางพื้นที่อาจไม่สะดวกที่จะเดินสาย หรือไม่อาจใช้สื่อบางประเภทได้ ควำมทนทำนต่อสภำพแวดล้อม (Resistance to Environmental Conditions) เช่น สื่อบาง ประเภทอาจมีข้อจากัด เมื่อสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลง ในการใช้งานจริงนั้น จะสามารถใช้งานช่องทางต่าง ๆ มากกาว่าหนึ่งช่องทางพร้อม ๆ กันขึ้นกับ ความเหมาะสม ซึ่งสามารถจาแนกช่องทางสาหรับการสื่อสารข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ ได้ดังนี้
  • 18. ~ 10 ~ กำรทำงำนร่วมกันของข่องทำงต่ำง ๆ ระบบแบบเดินสำยเคเบิล(Wired system) จะรวมถึงสื่อกลางที่เป็นสายทั้งหมด โดยระบบเครือข่ายที่เป็นอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่ห่างกันไม่มาก นักจะสามารถใช้วิธีเดินสายแบบต่าง ๆ เอง ส่วนสายเคเบิลสาหรับการติดต่อระยะไกลโดยปกติ ก็คือระบบสำยโทรศัพท์แบบดั้งเดิม (POTS - Plain Old Telephone Service) นั่นเอง สายสัญญาณที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน จะมีชนิดต่าง ๆ ตามลักษณะระเครือข่าย และความต้องการ ในการใช้งานดังนี้ สำยคู่บิดเกลียวแบบมีชีลต์และไม่มีชีลต์ (Shielded and UnShielsed Twisted-Pair Cable) เป็นสายที่มีราคาถูกที่สุด ประกอบด้วยสายทองแดงที่มีฉนวนหุ้มจานวน 2 เส้น นามาพันกันเป็น เกลียว สามารถลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้โดยปกติแล้วสายคู่บิตเกลียวจะ หมายถึง สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มีชีลด์ (UTP) ซึ่งใช้ในการเดินสายโทรศัพท์และใช้ในระบบ
  • 19. ~ 11 ~ เครือข่ายระยะใกล้ส่วนมาก ในขณะที่ สำยคู่บิดเกลี่ยวแบบมีซิลด์ (STP) จะมีฉนวนโลหะหุ้มอยู่ ภายนอกอีกชั้นหนึ่ง ทาให้สามารถป้งอันสัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น สายเกลียวคู่หนึ่งคู่จะแทนช่อง ทางการสื่อสาร (channel) เพื่อให้สามารถใช้งานได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่าง เช่น ระบบ สายโทรศัพท์ อุปกรณ์เชื่อมต่อสำยคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวตามมาตรฐาน EIA/ITA-568 สามารถแบ่งได้5 ประเภท คือ Category 1 เป็นสาย UTP ที่ใช้ในระบบสายโทรศัพท์แบบดั้งเดิม เมหาะสาหรัส่งสัญญาณเสียง ไม่เหมาะกับการส่งข้อมูล Category 2 เป็นสาย UTP ซึ่งเหมาะสาหรับกับการส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 4 เมกะบิตต่อวินาที Category 3 เป็นสาย ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 10 เมกะบิตต่อวินาที มีการใช้งานมากใน ระบบ Token ring แบบ 4 Mbits/sec และ 10Base-T Category 4 เป็นสายซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุดถึง 16 เมกะบิตต่อวินาที มีใช้ในระบบ Token ring แบบ 16 Mbits/sec
  • 20. ~ 12 ~ Category 5 เป็นสายที่เหมาะสมกับการส่งข้อมูงได้ถึง 100 เมกะบิตต่อวินาทที มีใช้ในระบบ เครือข่ายความเร็วสูงรุ่นใหม่ ๆ เช่น Fast Ethernet และ ATM (Asynchronous Transfer Mode) สำรโคแอกเซียล(Coaxial Cable) มันเรียกสั้น ๆ ว่า สำยโคแอก จะเป็นสายสื่อสารที่สามรถส่งข้อมูลไกลกว่าสายแบบคู่บิดเกลียว แต่มีข้อเสียคือราคาสูงกว่า ลักษณะของสายโคแอกจะประกอบด้วยส่วนของสายส่งข้อมูลที่เป็น ลวดทองแดงหุ้มด้วย ฉนวนอยู่ตรงกลาง จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาเพื่อเป็นสายกราวนด์จากนั้นจึง หุ้มด้วยฉนวนเป็น เปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง สารโคแอกจะสามารถส่งข้อมูลได้ทั้งแบบเบสแบตด์ และบรอดแบรนด์ พบการใช้งานได้มากจากสายเคเบิลทีวี ในปัจจุบันการใช้งานสายโคแอกกับ ระบบคอมพิวเตอร์เริ่มลดลง เนื่องจากการพัฒนาของสายคู่บิดเกลียวที่ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ ด้วยความ เร็วสูงขึ้นเรื่อย ๆ อุปกรณ์เชื่อมต่อสำยโคแอกเซียล สำยใยแก้วนำแสง(Fiber Optic Cable) สายใยแก้วนาแสงจะประกอบด้วยใยแก้วหรือพลาสติกอยู่ตรงกลางของสาย และใช้ใยแก้วอีก ชนิดหนึ่งเป็น ตัวหุ้ม (cladding) และหุ้มด้วยฉนวนในชั้นนอกสุด ซึ่งใยแก้วชั้นนอกจะทา
  • 21. ~ 13 ~ หน้าที่เหมือนกระจกที่สะท้อนสัญญาณแสงให้สะท้อนไปมา ภายในใยแก้วที่เป็นแกนกลางจาก จุดเริ่มต้นจนถึงจุดปลายทาง สายใยแก้วจะมีแบนด์วิธที่กว้างมาก ทาให้สามารถส่งข้อมูลปริมาณ มากได้ด้วยความเร็วสูง นอกจากนี้ยังส่งข้อมูลได้ในระยะทางที่ไกลกว่าและปลอดจากรบกวน ของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าเนื่องจากใช้แสงเป็นตัวนาสัญญาณ แต่ข้อเสียคือติดตั้งและบารุงรักษา ยาก รวมทั้งมีราคาแพงที่สุดในจานวนสายสัญญาณที่กล่าวมาทั้งหมด (ก) สำยคู่บิดเกลียว (ข) สำยโคแอกเซียล (ค) สำยใยแก้วนำแสง UTP,STP COAXIAL FIBER OPTIC ค่ำใช้จ่ำย Low Med High ระยะทำง (100 M) 500 M 2 KM กำรติดตั้ง ง่าย ไม่ยาก ต้องใช้ความ ชานาญ สื่อที่เหมำะสม ข้อมูล เสียง ภาพ ข้อมูล ข้อมูล มัลติมีเดียว ควำมเร็ว ปานกลาง ปานกลาง สูงมาก กำรรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ ำ รบกวน รบกวน ไม่มีผลใด ๆ กำรดักสัญญำณ สามารถทา ได้ สามารถทาได้ ไม่สามารถทา ได้
  • 22. ~ 14 ~ เปรียบเทียบกำรใช้งำนสำยเคเบิลชนิดต่ำง ๆ ระบบไมโครเวฟ (Micorwave system) ระบบไมโครเวฟใช้วิธีส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุเป็นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีก สถานีหนึ่ง บ่อยครั้งที่สัญญาณของไมโครเวฟจะถูกเรียกว่าสัญญาณแบบ เส้นสำยตำ (Line of sight) เนื่องจากสัญญาณเดินทางที่ส่งจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งจะไปได้ไม่ไกลกว่าเส้น ขอบฟ้าโลกเพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรงนั่นเอง ดังนั้นสถานีจะต้องพยายามอยู่ในที่ ๆ สูง เพื่อช่วยให้ส่งสัญญาณไปได้ไกลขึ้นและลดจานวนสถานนีที่จาเป็นต้องมี โดยปกติแล้วสถานี หนึ่งจะครอบคลุมพื้นที่รับสัญญาณได้ประมาณ 30 - 50 กม. ปัจจบันมีการใช้ระบบไมโครเวฟกันทั่วไป โดยเฉพาะในพื้นที่ซึ่งการเดินทางสายกระทาได้ไม่ สะดวก นอกจากนี้ระบบไม่โครเวฟยังจัดว่ามีราคาถูก ติดตั้งง่าย และมีอัตราการส่งข้อมูลสูงด้วย แต่ข้อเสียของไมโครเวฟคือสัญญาณอาจถูกรบกวนได้จากอุณหภูมิ พายุหรือฝน ระบบดำวเทียม (Satellite Systems) ระบบดาวเทียมจะคล้ายกับระบบ ไมโครเวฟในส่วนของการใช้หลักการยิงสัญญาณจากแต่ละ สถานี ต่อกันไปยังจุดหมายที่ต้องการ แต่ในที่นี้จะใช้ดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นโลก 36000 กม. เป็นสถานีในการยิงสัญญาณไปยังจุดหมายที่ต้องการ ซึ่งจากการที่ดาวเทียมลอยอยู่สูงมากนี่เอง ทาให้สามารถใช้ดาวเทียมซึ่งลอย อยู่ในพิกัดที่แน่นอนเพียง 3 ดวง ก็ส่งสัญญาณครอบคลุมไป ยังทุกจุดในโลกได้โดยสถานีต้นทางจะส่งสัญญาณขึ้นไปยังดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นที่ของ ตนเอง เรียกว่า สัญญำณเชื่อมต่อขำขึ้น (Up-link) และดาวเทียมจะทาการตรวจสอบตาแหน่ง ของสถานีปลายหางหากอยู่ในขอบเขตพื้นที่ที่ครอบคลุมอยู่ ก็ทาการส่งสัญญาณไปยังสถานี ปลายทางทันที เรียกว่า สัญญำณเชื่อมต่อขำลง (Down-link) หากสถานีปลายทางอยู่นอก ขอบเขตสัญญาณ ดาวเทียมจงส่งต่อไปยังดาวเทียมดวงที่ครอบคลุมสถานีปลายทางนั้นเพื่อส่ง สัญญาณ Down-link ต่อไป
  • 23. ~ 15 ~ ในปัจจบันการใช้สัญญาณผ่านดาวเทียมกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในการส่งสัญญาณข้อมูล คอมพิวเตอร์ สัญญาณโทรทัศน์ รวมทั้งการใช้ในทางภูมิศาสตร์ ทางทหารต่าง ๆ อย่างมากมาย ข้อเสียที่สาคัญของระบบดาวเทียมคือถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศ ฝนหรือพายุ รวามทั้ง ตาแหน่งโคจรของดวงอาทิตย์ด้วย นอกจากนี้ข้อเสียที่สาคัญอีกอย่างคือจะมี เวลำหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ ทาให้ผ่ายรับได้รับข้อมูลช้ากว่าเวลาที่เกิดขึ้นจริง เนื่องจากแม้ว่า สัญญาณจะเดินทางด้วยความเร็วแสง แต่ระบะทางที่สัญญาณต้องวิ่งระหว่างดาวเทียมกับพื้น โลกถึง 2 รอบ (ขึ้น-ลง) คือ 70000 กม. ทาให้เกิดเวลาหน่วงขึ้น ซึ่งสาหรับบางงานอาจเป็นสิ่งที่ ไม่สามารถยอมรับได้ กำรสื่อสำยผ่ำนระบบไมโครเวฟและดำวเทียม ระบบอื่น ๆ ในปัจจบันยังมีระบบสื่อสารแบบไร้สายอื่น ๆ ที่มีการนามาใช้ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งบางแบบก็ กาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เช่น ระบบอินฟำเรด(Infraed) เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับ remote control ช่องเครื่องรับ โทรทัศน์ อย่างไรก็ดีระบบนี้จะมีข้อจากัดที่ต้องใช้งานเป็นเส้นตรงระหว่างเครื่องรับ และ เครื่องส่งทาให้มีระยะทางรับส่งที่ไม่ไกลนัก รวมทั้งไม่อาจมีสิ่งกีดขวางด้วย ในปัจจุบันมีการ
  • 24. ~ 16 ~ นามาใช้เป็นระบบเครือข่ายระยะไกล ๆ อยู่บ้างสาหรับพื้นที่ที่การเดินสายกระทาได้ไม่สะดวก รวมทั้งมีการนาไปใช้ในการส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องพิมพ์ด้วย ระบบวิทยุ (Radio) จะใช้คลื่นวิทยุในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอย่างไร ก็ดีระบบนี้จะมีปัญหากับการขออนุญาตใช้คลื่นความถี่ ซึ่งจะมีข้อกาหนดในแต่ละประเทศที่ เข้มงวดต่างกันไป ระบบสเปคตรัมแถบกว้ำง(Spreas Specturm) เป็นระบบคลื่นวิทยุที่ถูกพัฒนาโดยกองทัพสหรัฐ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนและการดักสัญญาณ ในปัจุบัน เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถรับส่งได้ด้วยความเร็วสูงถึง 10 Mbps และมีการใช้งานใน ระบบเครือข่ายขนาดเล็กในอาคารเดียวกัน อุปกรณ์สื่อสำรข้อมูล ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย จะต้องทาการเชื่อมระหว่างอุปกรณ์และสื่อกลาง แบบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งอาจมีความต้องการเฉพาะรูปแบบต่าง ๆ เช่น การรวมข้อมูลจากหลาย ๆ จุดเพื่อส่งผ่านไปยังสายเคเบิลโทรศัพท์เพียงสายเดียว หรืออาจต้องการขยายระยะทางการใช้ งาน รวมทั้งอาจต้องเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายที่มีลักษณะแตกต่างเข้าด้วยกัน ความต้องการเหล่ นี้ทาให้ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเฉพาะงาน ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น อุปกรณ์รวมสัญญำณ มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Muliplexer) นิยมเรียกกันว่า มัก (MUX) จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการลดค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูลผ่านสาย สื่อสาร โดยจะทาการ รวมข้อมูล (multiplex) จากเครื่องเทอร์มินัลจานวนหนึ่งเข้าด้วยกัน และ ส่งผ่านสายสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์และที่ปลายทาง MUX มักอีกตัวก็จะทาหน้าที่ แยกข้อมูล (demultiplex) ส่งไปยังจุดหมายที่ต้องการ
  • 25. ~ 17 ~ คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) นิยมเรียกกันว่า คอนเซน จะเป็นมัลติเพลกเซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยจะสามารถทาการ เก็บข้อมูลเพื่อส่งต่อ (store and forward) โดยใช้หน่วยความจา buffer ทาให้สามารถเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูงกับความเร็วต่าได้รวมทั้งอาจมีการบีบอัดข้อมูล (compress) เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้มากขึ้น ฮับ(Hub) สามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า LAN Concentrator เนื่องจากฮับจะทาหน้าที่เช่นเดียวกับคอนเซน แต่จะมีราคาถูกกว่า นิยมใช้ในเครือข่าย LAN รุ่นใหม่ ๆ โดยใช้อับในการเชื่อมสายสัญญาณจาก หลาย ๆ จุดเข้าเป็นจุดเดียวในโทโปโลยีของ LAN แบบ Star เช่น 10BaseT เป็นต้น ฮับสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ -Passive Hub เป็นฮับที่ไม่มีการขยายสัญญาณใด ๆ ที่ส่งผ่านมา มีข้อดีคือราคาถูกและไม่ จาเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า -Active Hub ทาหน้าที่เป็นเครื่องทวนซ้าสัญญาณในตัว นั่นคือจะขยายสัญญาณที่ส่งผ่านมา สามารถทาให้เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านสายเคเบิลได้ไกลขึ้น และเนื่องจากต้องทาการขยาย สัญญาณทาให้ ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าด้วย จึงเป็นข้อเสียที่ต้องมีปลั๊กไฟในการใช้งานเสมอ ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์ (Front-End Processor) มีหน้าที่การทางานเช่น เดียวกับคอนเซนเตรเตอร์ แต่โดยปกติจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทางาน นี้โดยเฉพาะเครื่องหนึ่ง ซึ่งจะมีปลายด้านหนึ่งที่ทาการเชื่อมโยงด้วยความเร็วสูงเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์หลัก เช่น เมนเฟรม และปลายอีกด้านจะเชื่อมเข้ากับสายสื่อสารและอุปกรณ์อื่น ๆ ฟรอนต์เอนต์โปรเซสเซอร์จะพบมากในระบบขนาดใหญ่ เพื่อช่วยลดภาระในการติดต่อกับ อุปกรณ์รอบข้างให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หลัก (Host)
  • 26. ~ 18 ~ อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ำย เครื่องทวนซ้ำสัญญำณ(Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Physical Layer ใน OSI Model มีหน้าที่เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อ สาหรับขยายสัญญาณให้กับเครือข่าย และไม่รู้จักลักษณะของข้อมูลที่แฝงมากับสัญญาณเลย บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อ วงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อย ๆ โดยที่ประสิทธภาพรวมของระบบไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่ออของ เครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกัน จะไม่ถูกส่งผ่านบริดจ์ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ระดับ Data Link Layer ใน OSI Modelทาให้สามารถ ใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันระดับ Physical และ Data Link ได้เช่น ระหว่าง Ethernet กับ Token Rink เป็นต้น ซึ่งอาจเชื่อมต่อระหว่าง LAN ที่อยู่บริเวณเดียวกันหรือเชื่อม LAN ที่อยู่ ห่างกันผ่านทางสื่อสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ด้วย บริดจ์ระยะไกล (Remote Bridge) โดยบริดจ์อาจเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์เฉพาะ หรือซอฟต์แวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ กาหนดให้เป็นบริดจ์ก็ได้ สวิตซ์ (Switch) หรือที่นิยมเรียกว่า อีเธอร์เนตสวิตซ์ (Ethernet Switch) จะเป็น บริดจ์แบบหลำยช่องทำง (multiport bridge) ที่นิยมใช้ในระบบเครือข่ายแลนแบบ Ethernetเพื่อใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่าย (segment) เข้าด้วยกัน สวิตซ์จะช่วยละการจราจรระหว่างเครือข่ายที่ไม่จาเป็น (ตาม คุณสมบัติของบริดจ์) และเนื่องจากการเชื่อมต่อแต่ละช่องทางการะทาอยู่ภายในตัวสวิตซ์เอง ทา ให้สามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละเครือข่าย (Switching) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการใช้ บริดจ์จานวนหลาย ๆ ตัวเชื่อมต่อกัน นอกจากนี้ สวิตซ์ยังสามารถใช้เชื่อมเครื่องคอมพวิเตอร์เพียงเครื่องเดียวเข้ากับสวิตซ์ ซึ่งจะทาให้ เครื่อง ๆ นั้น สามารถติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ด้วยความเร็วเต็มความสามารถของช่องทางการสื่อสาร
  • 27. ~ 19 ~ เช่น 10 Mbps ในกรณีเป็น 10BaseT เป็นต้น เนื่องจากไม่ต้องทาการแบ่งช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลกับเครื่องอื่น ๆ เลย เรำท์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ใน ระดับที่อยู่สูงกว่าบริดจ์ นั่นคือในระดับ Network Layer ใน OSI Model ทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลเครือข่ายต่าง กันและ สามารถทาการ กรอง (filter) เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปได้ทาให้ช่วยลด ปัญหาการจราจรที่คับคั่งของข้อมูล และเพิ่มระดับความปลอดภัยของเครือข่าย นอกจากนี้เราท์ เตอร์ยังสามารถหาเส้นทางการส่งข้อมูลที่เหมาะสมให้โดยอัตโนมัติด้วย (ในกรณที่สามารถส่ง ได้หลายเส้นทาง ) เราท์เตอร์จะเป็นอุปกรณืที่ขึ้นอยู่กับโปรโตคอล นั่นคือในการใช้งานจะต้อง เลือกซื้อเราท์เตอร์ที่สนับสนุนโปรโตคอลของเครือข่ายที่ต้องการจะเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เกทเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ใน ระดับ Transport Layer จนถึง Application Layer ของ OSI Model มี หน้าที่ในการเชื่อมต่อและแปลงข้อมูลระหว่างเครือข่ายที่แตกต่างกันทั้งใน ส่วนของโปรโตคอล และสถาปัตยกรรมของเครือข่าย LAN และระบบ Mainframeหรือเชื่อมระหว่างเครือข่าย SNA ของ IBM กับ DECNet ของ DEC เป็นต้น โดยปกติ Gateway มักจะเป็น Software Packageที่ใช้ ในงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง (ซึ่งทาให้เครื่องนั้นมีสถานะเป็น Gateway) และมักใช้สาหรับเชื่อม Workstation เข้าสู่เครื่องที่เป็นเครื่องหลัก ทาให้เครื่องที่เป็น Workstationสามารถทางานติดต่อกับเครื่องหลักได้โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับข้อ แตกต่างของ ระบบเลย ชนิดของระบบเครือข่ำย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งตามระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงกันเป็น เครือข่ายได้ดังนี้
  • 28. ~ 20 ~ ระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ(LAN) LAN (Local Area Network) จะเป็นเครือข่ายซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมดเชื่อมโยงกันอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในแผนกเดียวกัน อยู่ภายในสานักงาน หรืออยู่ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น โดย ส่วนมากแล้วการเชื่อมต่อในระบบแลนจะใช้สายเคเบิลแบบต่าง ๆ ในการเชื่อมโยงถึงกัน ระบบเครือข่ายแบบแลนยังรวมถึงเครือข่ำยบริเวณมหำวิทยำลัย (Campus network) ซึ่งเป็น เครือข่ายที่เชื่อมโยงเครือข่ายแบบแลนจากตึกต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย (หรือบริเวณพื้นที่ของ นิคมอุตสาหกรรม) เข้าด้วยกัน โดยปกติแล้วจะเป็นการเชื่อมโยงกันด้วยความเร็วสูงผ่านสาย Fiber Optic ระบบเครือข่ายแลน จะเป็นระบบเครือข่ายที่มีการใช้งานในองค์กรต่าง ๆ มากที่สุด ดังนั้นจะมี การกล่าวถึงแลนอย่างละเอียดในส่วนต่อไป ระบบเครือข่ำยระยะไกล (WAN) WAN (Wide Area Network) จะเป็นเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครือข่ายแลนตั้งแต่ 2 วงขึ้นไป เชื่อมต่อกันในระยะทางที่ไกลมาก เช่น ระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ ปกติแล้วเครือข่าย แบบแวนจะเชื่อมต่อกันด้วยระบบเครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network) เช่น สายโทรศัพท์ ไมโครเวฟหรือดาวเทียม รวมทั้งบริการ X.25 หรือ ISDN เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีระบบเครือข่ายแบบ MAN (Metropolitan Area Network) หรือระบบเครือข่าย บริเวณเมืองใหญ่ ซึ่งเป็นเครือข่ายแบบแวนที่มีระยะห่างไม่มากนัก เช่น เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยง ภายในเขตเมือง หรือย่านใจกลางธุรกิจ เป็นต้น การเชื่อมโยงแบบ ปกติแล้วจะเป็นการเชื่อมโยง ระหว่างตึกต่าง ๆ ด้วยการเชื่อมโยงความเร็วสูงผ่านสายใยแก้วนาแสง และเป็นระบบเครือข่าย สาธารณะที่สามารถทาการเช่าใช้งานจากผู้ให้บริการได้ทันที
  • 29. ~ 21 ~ ระบบเครือข่ำยLAN ระบบเครือข่ายแบบ LAN หรือระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ โดยปกติแล้วจะเป็นระบบเครือข่าย ส่วนตัว นั่นคือองค์กรที่ต้องการใช้งานเครือข่าย ทาการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน เป็นระบบเครือข่ายในระยะใกล้ๆ ซึ่งจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรและธุรกิจต่าง ๆ มากมาย เช่น สำมำรถแบ่งเบำกำรประมวลผลไปยังเครื่องต่ำง ๆ เฉลี่ยกันไป สำมำรถแบ่งกันใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ซีดีรอมไดรฟ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพสูง เป็นต้น สำมำรถแบ่งกันใช้งำนซอฟต์แวร์และข้อมูลหรือสำรสนเทศต่ำง ๆ รวมทั้งทำให้สำมำรถจัดเก็บ ข้อมูลเหล่ำนั้นไว้เพียงที่เดียว สำมำรถวำงแผนหรือทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่มได้ แม้จะไม่ได้อยู่ใกล้กันก็ตำม สำมำรถใช้ในกำรติดต่อกัน เช่น ส่งจดหมำยทำงอิเลคทรอนิคส์ หรือกำรส่งเสียงหรือภำพทำง อิเลคทรอนิคส์ เป็นต้น ช่วยลดค่ำใช้จ่ำยโดยรวมขององค์กร ชนิดกำรเชื่อมต่อของเครือข่ำย LAN การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเฉพาะบริเวณแลนนั้น จุดประสงค์หลักอย่าง หนึ่งก็คือการแบ่งกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทรัพยากรเหล่านั้นอาจเป็นหน่วยประมวลผลกลาง CPU ความเร็วสูง ฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์หรือแม้แต่อุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้จะ เชื่อมอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง วิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อจัดสรร การใช้งานทรัพยากรในระบบเครือข่ายสามารถจาแนกได้เป็น 2 รูปแบบคือ
  • 30. ~ 22 ~ เครือข่ำยแบบพึ่งเครื่องบริกำร(Server - based networking) เป็นการเชื่อมต่อโดยมีเครื่องบริการอยู่ศูนย์กลาง ทาหน้าที่ในการให้บริการต่าง ๆ ที่เครื่องผู้ใช้ หรือสถำนีงำน (Workstation) ร้องขอ รวมทั้งเป็นผู้จัดการดูแลการจราจรในระบบเครือข่าย ทั้งหมด นั่นคือการติดต่อกันระหว่างเครื่องต่าง ๆ จะต้องผ่านเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เครื่องผู้ใช้จะทา การประมวลผลในงานของตนเท่านั้น ไม่มีหน้าที่ในการให้บริการกับเครื่องอื่น ๆ ในระบบ เครื่องผู้บริการในระบบเครือข่ายชนิดนี้อาจมีได้2 รูปแบบคือ เครื่องบริการแบบอุทิศ(Dedicated Server) หมายถึงเครื่องบริการทาหน้าที่บริการอย่างเดียว เท่านั้น ไม่สามารถนาไปใช้ในงานทั่ว ๆไปได้ข้อดีคือทาให้ระบบมีเสถียรภาพและมี ประสิทธิภาพสูง ข้อเสียคือไม่สามารถใช้งานเครื่องที่มีราคาสูงได้ เครื่องบริการแบบไม่อุทิศ(Non - Dedicated Server) หมายถึงเครื่องบริการยังสามารถใช้งานได้ ตามปกติเหมือนเครื่องลูกข่าย ซึ่งมีข้อเสียที่สาคัญคือมีประสิทธิภาพของเครือข่ายจะลดลง ทาให้ วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมในการใช้งาน เครือข่ำยแบบเท่ำเทียม(Peer - to Peer networking) เป็นการเชื่อมต่อที่ เครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเครื่องทุก เครื่องสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องผู้ใช้และเครื่องบริการในขณะ ใดขณะหนึ่ง นั่นคือเครื่องทุกเครื่อง เปรียบเสมือนกับเป็นเครื่องบริการแบบไม่อุทิศ (Non - Dedicated Server) นั่นเอง ในระบบ เครือข่ายประเภทนี้การติดต่อระหว่างแต่ละเครื่องจะสามารถติดต่อกันได้โดยตรง มีข้อเสียคือ ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลด้อยกว่าแบบแรก ทาให้ไม่เหมาะกับระบบที่มีการใช้งานการ รับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายมาก ๆ Network Advantages Disadvantages Server - Based  มีประสิทธิภาพ สูงกว่า โดยเฉพาะอย่าง  เสียค่าใช้จ่ายสูงสาหรับเครื่อง server โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาร เป็นแบบ Dedicates Server
  • 31. ~ 23 ~ ยิ่งถ้าเป็นแบบ Dedicates Server  การดูแลระบบ สามารถทาได้ง่าย กว่า ซึ่งไม่สามารถนาไปใช้งาน อย่างอื่นได้  ไม่สามารถใช้งานทรัพยากรที่ เชื่อมอยู่กับ Workstation ได้  ถ้า Server เสียระบบจะหยุด หมด Peer - to - Peer  สามารถใช้งาน ทรัพยากรซึ่ง เชื่อมอยู่กับเครื่อง ใด ๆ ในเครือข่าย  ประหยัด ค่าใช้จ่ายในส่วน ของ Server  สามารถกระจาย โปรแกรม ประยุกต์ไปไว้ยัง เครื่องต่าง ๆ เพื่อ ลดการจราจรใน เครือข่ายได้  การดูแลระบบทาได้ยาก เนื่อง จากทรัพยากระกระจัด กระจายกันไปในเครื่องต่าง ๆ  มีประสิทธิภาพที่ต่ากว่าแบบ Server - based มาก  เครื่องทุกเครื่องต้องมี หน่วยความจาและ ประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่อง ในแบบ Server - based เปรียบเทียบกำรเชื่อมต่อแบบ Server - based เทียบกับ Peer - to Peer
  • 32. ~ 24 ~ ส่วนประกอบพื้นฐำนของระบบ LAN Network Operating System (NOS) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System) มีหน้าที่ในการควบคุมการทางานของ เครือข่าย เช่นเดียวกับการที่ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ควบคุมการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์นั่นเอง ซึ่งในเครือข่ายแบบ Peer - to - Pear เช่น Windows for Workggroups จะมี ระบบปฏิบัติการเครือข่ายอยู่ในเครื่องทุกเครื่องของเครือข่าย ในขณะที่ในเครือข่ายแบบ Serverbased เช่น netware หรือ Window NT นั้น ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะอยู่ที่เครื่อง Server ในขณะที่ workstation จะใช้ซอร์ฟแวร์ขนาดเล็กอีกตัวในการติดต่อรับ - ส่งข้อมูลกับ Server เครื่องบริกำรและสถำนีงำน(Server and Workstation) ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบกันเป็นเครือข่ายนั้นเอง โดยเครื่องบริการจะเป็นเครื่องหลักที่ มีหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ แก่สถำนีงำนหรือโหนด ซึ่งบริการหลัก ๆ ก็คือบริการแฟ้มข้อมูล บริการเครื่องพิมพ์บริการแฟกซ์ บริการฐานข้อมูล เป็นต้น ส่วน นั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ผู้ใช้ใช้ในการติดต่อเข้าเครือข่ายนั้นเอง แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ำย(Netwoirk Interface Card - NIC) จะเป็นอุปกรณ์ที่เป็นแผงวงจรสาหรับเสียบเข้าช่องต่อขยาย (expansion bus) ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถต่อสายของเครือข่ายเข้ามาและทาการติดต่อส่งข้อมูลกับเครือข่าย ได้ ระบบกำรเดินสำย(Cabling System) ระบบการเดินสายจะเป็นสื่อที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะ ประกอบด้วยสายต่าง ๆ คือ UTP/STP , Coaxial , Fiber Optic หรือแม้แต่การเชื่อมกันแบบไร้ สาย เช่น Infared หรือสัญญาณวิทยุก็ได้
  • 33. ~ 25 ~ ทรัพยำกรและอุปกรณ์ที่ใช้งำนร่วมกัน(Shared Resources and Peripherals) จะรวมถึงอุปกรณ์หน่วยความจาถาวร เช่น อาร์ดดิสก์หรือเทปที่ต่ออยู่กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งผู้ใช้ในเครือข่ายที่ได้รับอนุญาตสามารถใช้งานได้ โครงสร้ำงของระบบเครือข่ำย(Network Topology) แบบ LAN ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) สามารถออกแบบการ เชื่อมต่อกันของเครื่องในเครือข่าย ให้มีโครงสร้างในระดับกายภาพได้ในหลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละ รูปแบบจะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป ดังนี้ โครงสร้ำงแบบดำว(Star Topology) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง การรับส่งข้อมูล ทั้งหมดจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสมอ มีข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบ กระเทือนกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมีค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสีย ระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที โครงสร้ำงแบบบัส (Bus Topology) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวด้วยสายเคเบิลที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งสายเคเบิลหรือบัสนี้ เปรียบเสมือนกันถนนที่ข้อมูลจะส่งผ่านไปมาระหว่างแต่ละเครื่องได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องผ่าน ไปที่ศูนย์กลางก่อน โครงสร้างแบบนี้มีข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อ ระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก โครงสร้ำงแบบแหวน(Ring Topology) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเข้าเป็นวงแหวน ข้อมูลจะถูกส่งต่อ ๆ กันไปในวง แหวนจนกว่าจะถึงเครื่องผู้รับที่ถูกต้อง ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้คือ ใช้สายเคเบิลน้อย และ สามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ทาให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่อง