SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
จากการศึกษาชุมชนต้นแบบจานวน 32 ชุมชน และ จากการลงศึกษาภาคสนามชุมชนต้นแบบ
ในพื้นที่จริงจานวน 6 ชุมชนนั้น ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องของความมีเหตุผล สามารถสรุป
ได้ดังนี้ คือ
1. ทรัพยากรที่สาคัญภายในชุมชน
เนื่องจากมีการใช้กันในปริมาณมาก ทาให้ทรัพยากรที่มีอยู่เสื่อมโทรมและค่อยๆหมดผล และนี่
เป็นเหตุผลที่ทาให้ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มกัน เพื่อทาการคิด หาวิธีการรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัด สิ่งเหล่านี้ทาให้ชุมชนเกิดความเข็มแข็ง ความรัก ความผูกพันที่เกื้อกูลกันของชาวบ้านเพื่อที่จะทา
ให้ทรัพยากรที่กาลังจะหมดไปกลับมามีชีวิตอีกครั้งหนึ่ง ยกตัวอย่างให้เห็นภาพมากขึ้น เช่น ชุมชน
บ้านโคกพยอม อาเภอละงู จังหวัดสตูล เป็นชุมชนป่าชายเลน ที่โอบล้อมไปด้วยทะเล ซึ่งแน่นอนว่า
ทรัพยากรหลักก็คือ “ป่าชายเลน” โดยชาวบ้านได้ทามาหากินกับป่าชายเลน แต่แล้วปัญหาก็เกิดขึ้นกับ
ขึ้นกับชุมชนเมื่อเกิดสัมปทานป่าขึ้น เกิดการบุกรุกป่าชายเลน ทาให้หลายสิ่งหลายอย่างเปลี่ยนไป สัก
วันหนึ่งป่าชายเลนก็จะหมดไปจากชุมชน ส่งผลให้ชาวบ้านเกิดการรวมกลุ่มกัน เพื่อหาทางรักษาไว้ซึ่ง
ป่าชายเลน
2. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ส่งผลต่อการประกอบอาชีพเดิมของคนในชุมชน ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนอาชีพเพื่อให้เช้ากับ
สภาพปัจจุบัน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ผู้คนมากขึ้น วิถีชีวิตเดิมที่เคยเป็น ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ทาให้
เกิดการรวมกลุ่มกัน เป็นผู้นาชุมชน กลุ่มหมู่บ้านขึ้น เพื่อที่จะหาความรู้เกี่ยวกับการจัดการชุมชน
ตัวอย่างเช่น “กุดเป่ง” ป่าเพื่อการเฮ็ดอยู่-เฮ็ดกิน ของชุมชนยางคา ตาบลยางคา อาเภอโพนทาย
จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อยุคสมัยจะเปลี่ยนไป ป่าทาม ที่ที่ซึ่งแต่ก่อนเคยเป็นป่า “ส่วนรวม” ของชุมชน เริ่ม
ถูกบุกรุกจับจองเป็นเจ้าของพื้นที่ เกิดการเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดผู้นาชุมชน รวมกลุ่มกัน
ศึกษาการจัดการป่าชุมชน และนามาปรับใช้ในหมู่บ้าน เพื่อปกป้องป่ากุดเป่ง ไว้เป็นสมบัติของชุมชน
ต่อไป
3. ปัญหาจากการเกษตร
การใช้สารเคมี การขาดความรู้ ทาให้เกิดการเสื่อมโทรมในพื้นที่ เกิดปัญหาที่ตามมาคือ ดินเสีย
ปัญหาเรื่องน้าเสีย ปัญหาต่างๆ เหล่านี้เป็นสาเหตุให้ชุมชนต้องคิดหาทางแก้ไข เพื่อให้ชุมชนสามารถ
ประกอบอาชีพเกษตรได้ต่อไป หนึ่งในวิธีการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ คือ การคิดค้นหาวิธีการทาการเกษตร
แบบใหม่ เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมี ยกตัวอย่างเช่น ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัด
นครปฐม ที่รวมตัวกันก่อตั้งกลุ่มเกษตรยั่งยืนคลองจินดา เป็นกลุ่มที่ทาการปลูกผักปลอดสารพิษ ลด
การใช้สารเคมี นอกจากนี้ยังใช้วิถีธรรมชาติในการรักษาหน้าดินอีกด้วย
4. ภูมิปัญญากับวิถีชีวิตดั้งเดิม
เนื่องจากเมืองไทยเป็นเมืองเกษตรกรรม อาชีพหลักของคนส่วนใหญ่จึงหนักไปทางด้าน
เกษตรกรรม การทานา ถือเป็นอาชีพหลักที่สามารถหาเลี้ยงท้องและเลี้ยงชีพของคนในชุมชนได้ แต่เมื่อ
เวลาผ่านไป เศรษฐกิจมีการขยายตัว ราคาข้าวผันผวน บ้างราคาสูง บ้างราคาต่า ประกอบกับปัญหา
ทางด้านปัจจัยในการผลิต เทคโนโลยีต่าง ทาให้ในการทานามีต้นทุนที่สูงขึ้น นี่เป็นสาเหตุที่ทาให้ต้องหา
แนวทางในการเพิ่มผลผลิต โดยอาศัยภูมิปัญญาแต่ดั้งเดิม ตัวอย่างเช่น ชาวนาป่าภูเขียว อาเภอ
เกษตรสมบูรณ์ คอนสาน และ อาเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ เมื่อเกิดปัญหาสภาพแวดล้อม
ถูกทาลาย ชาวบ้านจึงรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหา พร้อมใจกันระดมสมองเพื่อหาแนวทางเพิ่มผลผลิตและ
เกิดการเรียนรู้ว่า การปลูกข้าวควรสอดคล้องกับวิถีธรรมชาติร่วมดูแล บารุงรักษาผืนดิน ไม่ทาลาย
สิ่งแวดล้อม เช่น เรียนรู้ว่าสภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่นาเกือบทั้งหมดอาศัยน้าฝนเป็นหลักและส่วนใหญ่
ยังประสบปัญหาฝนแล้งและฝนทิ้งช่วง
ความพอประมาณ
พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจนเกินไปโดยต้อง
ไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน
จาก โครงการวิจัยเอกสาร ชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ใน
การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน นั้น จะได้เห็นการนาหลักของความพอประมาณมาใช้ในการ
ดาเนินชีวิต เช่น
- การจัดตั้งกลุ่มในชุมชนขึ้นเพื่อฟื้นฟูกลุ่มเกษตร พัฒนาผลผลิต พัฒนาระบบในชุมชน ที่เน้น
การจัดการตลาดอย่างมีคุณธรรม การจัดการสวัสดิการ พัฒนาคน เป็นต้น ซึ่งในการพัฒนา
ต่างๆ มีแนวคิดสาคัญๆ คือ การอยู่อย่างมีความสุข โดยการพึ่งตนเอง เคารพธรรมชาติ ไม่
ทาลายสิ่งแวดล้อม เคารพศักดิ์ศรีความเป็นคน
- การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ของคนในชุมชน ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของคนใน
ชุมชน เพราะเมื่อสมาชิกมีรายได้จากการขายสินค้า เงินรายได้บางส่วนก็มีการแบ่งปันกลับมายัง
ชุมชน กลายเป็นเงินกองกลางที่นามาพัฒนาในชุมชน มีความพอประมาณไม่โลภ มีการ
แบ่งปันเกิดขึ้นภายในชุมชน
- เกษตรกรนาพืชผลจากสวนไปขายเอง ตามตลาดต่างๆ เมื่อเหลือจากการบริโภคภายใน
ชุมชน พืชผักที่นาไป ขายก็มีราคาไม่แพง เป็นผักปลอกสารพิษไม่มีการเร่งการเจริญเติบโต
เพื่อให้ได้ผลผลิตเร็ว และมีชีวิตอยู่บนความพอประมาณ
- ชาวบ้านเรียนรู้ที่จะรักษาทรัพยากรท้องถิ่นอย่างรู้ค่าและพอเพียงก่อนที่จะหมดไป เพื่อนามาใช้
ในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพ แทนที่จะไปสรรหาปัจจัยจากภายนอกชุมชน โดยเกิดเป็น
กระบวนการคิดและรวมกลุ่มกัน
- สมาชิกในชุมชนดารงชีวิตให้ผูกพันและเชื่อมโยงกับสรรพสิ่งที่อยู่รายรอบตัว ไม่ว่าจะเป็น
ครอบครัว ชุมชน สังคม เช่น เมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือ หากต้องการบาบัดรักษา ก็มักจะใช้หลัก
สร้างเสริมสิ่งที่ขาด กาจัดส่วนที่เกิน ล้างสิ่งที่เป็นพิษ เพื่อให้เกิดความสมดุลขึ้นในร่างกาย ซึ่ง
อาจจะใช้อาหาร สมุนไพร โดยใช้องค์ความรู้ คือ ภูมิปัญญา ในด้านการป้องกันดูแลและรักษา
สุขภาพพื้นบ้าน
- นาวัฒนธรรมดั้งเดิมมาใช้ร่วมกันในการดาเนินชีวิตและทานาโดยอาศัยการเกื้อกูลกันตามวัฏ
จักรของธรรมชาติ และนาความรู้ใหม่มาประยุกต์ใช้ทาให้สามารถลดต้นทุนการผลิตได้มาก
- กานันประเสริฐ ด้วยวงศ์ ที่ผ่านมาต้องพบกับปัญหาอุปสรรคมากมาย ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความ
ไม่พอประมาณ เศรษฐกิจภายนอก ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับทางครอบครัว กานันจึงหาทาง
ออกโดยการมีความพอประมาณในตัวเอง ไม่โลภ ไม่ยอมรับในสิ่งที่ยังไม่ประจักษ์แก่สายตา
อย่างชัดเจนแล้วก็จะทาให้ชีวิตเปรียบเสมือนมีเกราะที่แข็งแรงหุ้มให้ปลอดภัยตลอดเวลา
- การปลูกฝังชาวบ้านในชุมชนให้พ้นกับกระแสนิยม ไม่ฟุ้งเฟ้อ มองเห็นมรดกอันล้าค่าในชุมชน
ไม่ใช่ทรัพย์สิน ที่นาหรือสวน แต่อย่างใด แต่เป็นมรดกทางความรู้ด้านการเกษตรอันทรงคุณค่า
นามาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ไม่ต้องดิ้นรนหรือแสวงหาจากภายนอกชุมชนอีกต่อไป
- การใช้มูลไก่ มาเป็นอาหารปลา ใช้สะเดาเป็นสมุนไพรขับไล่แมลง ใช้ซังข้าวเป็นปุ๋ยชีวภาพ เพิ่ม
สารอาหารในดิน สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ใช้ภูมิปัญญาและสร้างความพอประมาณในตัวเอง ครอบครัว
ชุมชน สามารถนาไปสู่การลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ในครัวเรือน
จากตัวอย่างของความพอประมาณที่กล่าวข้างต้นนั้น พอจะสรุปๆได้ 5 ประการ คือ
1.พอดีด้านจิตใจ เข็มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์
ส่วนรวม
2.พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและ
ชุมชน
3.พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบและเกิดความยั่งยืนสูงสุด
4.พอดีด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็น
ประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนา
จากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน
5.พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควร
ตามอัตตาภาพและฐานะของตน
การมีภูมิคุ้มกัน
การดารงอยู่ของชุมชนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเรื่องความพอเพียง โดยการมีภูมิคุ้มกันนั้น ถือเป็น
ปัจจัยที่สาคัญอีก หนึ่งประการ จากสามเงื่อนไขของทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง การที่เรามีทุนเป็นของเรา
เองนั้น ก็เปรียบเสมือนกับที่เรามีภูมิคุ้มกันที่ดีที่เราจะสามารถป้องกันตัวเองได้ เฉกเช่นกับในเวลาที่
อากาศเปลี่ยนแปลง ต่อให้อากาศเปลี่ยนไป แต่ถ้าตัวเรามีภูมิคุ้มกันที่ดีแล้ว ก็เป็นการยากที่เราจะเป็น
ไข้หวัด
จากหนังสือเล่มนี้ที่ได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบที่ได้นาเอาแนวพระราชดาริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป
ใช้ พบว่ามีความเชื่อมโยงกับการเรื่องการมีภูมิคุ้ม โดย เริ่มจากการที่ชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง ซึ่งการ
พึ่งพาช่วยเหลือ หรือสามารถดูแลตัวเองได้นั้นคือการที่ชุมชนนั้นมี
1.การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี หมายถึง การที่ชุมชนมีปริมาณและคุณภาพของเทคโนโลยี
ทางวัตถุ เช่น เครื่องไม้เครื่องมือ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีทางสังคมภายในชุมชน เช่น การจัด
วางโครงการ การจัดการ เป็นต้น การรู้จักใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการนาภูมิปัญญาของชาวบ้าน
มาใช้ หรือสามารถประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
2. การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ หมายถึง การที่ชุมชนหรือชาวบ้านมีความสามารถในการทามาหา
เลี้ยงชีพ ที่มีความมั่นคงสมบูรณ์ พูนสุขพอสมควร หรือได้อย่างมีสมดุล
3. การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การที่ชุมชนนั้นสามารนา
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่นั้นให้ดารงอยู่ไม่ให้เสื่อมเสียไปจนหมดสิ้น หรือไม่ให้เสียสมดุลของธรรมชาติ
นั่นเอง
4. การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ หมายถึง การที่คนภายในชุมชนมีสภาพจิตใจที่กล้าแข็ง สามารถที่จะต่อสู้
กับปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ทั้งการหาเลี้ยงชีพ การพัฒนาชีวิตให้ก้าวหน้า การยึดมั่นปฏิบัติตนตามหลัก
ทางสายกลาง หรือหลักมัชฉิมาปฏิปทา
5. การพึ่งตนเองได้ทางสังคม หมายถึง การที่คนภายในชุมชนมีความเป็นปึกแผ่นเหนียว
แน่น มีผู้นาที่มีประสิทธิภาพสามารถนาให้คนในชุมชนสามารถดาเนินการใด ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้วย
ตนเอง หรือสามารถหาความช่วยเหลือจากภายนอกเข้ามาช่วย ทาให้ชุมชนของตนเองช่วยตนเองได้
ซึ่งต่อไปนี้จะขอกล่าวถึงการมีภูมิคุ้มกันของชุมชนต้นแบบในบางชุมชนดังนี้
 ชุมชนโคกพะยอม จังหวัดสตูล
ชุมชนที่มีภูมิคุ้มกันทั้งในเรื่องการมีทรัพยากรที่สาคัญ นั่นคือ ป่าชายเลน การที่คนภายใน
ชุมชนมีความเข้มแข็งในการรวมตัวกัน การร่วมไม้ ร่วมมือกัน ซึ่งจากเดิมประสบปัญหาป่าชาย
เลนหมด ซึ่งเท่ากับว่าภูมิคุ้มกันที่มีภายในชุมชนกาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย การร่วมมือกันของ
ชาวบ้านภายในชุมชน ได้มาร่วมคิด ร่วมทา เรียนรู้ปัญหากันและกันที่เกิดขึ้น เกิดการ
ปรึกษาหารือกันในชุมชน จนสามารถเกิดเป็นแนวคิดในการปลูกป่าทดแทนขึ้นมาได้ นอกจาก
จะเป็นทรัพยากรที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพแล้ว นั้นคือการที่ชุมชนมีปึกแผ่น สามัคคีกัน
นั่นเอง ทาให้ชุมชนโคกพยอม ใช้ภูมิคุ้มกันข้อนี้ผ่านปัญหามาได้
 ชุมชนตาบลบ้านใหม่ จังหวัด นครราชสีมา
ชุมชนที่มีหลากหลายอาชีพและมากมายฐานความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านมีการพึ่งพา
กันอย่างดี มีการสนับสนุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ภูมิคุ้มกันที่ดี
ที่ทางชุมชน บ้านใหม่มี คือการมีป่า ที่ทุกคนภายในชุมชนช่วยกันดูแลรักษา มีการพึ่งพิงใช้
ประโยชน์จากป่าชุมชนได้อย่างสมดุล การมีธนาคารแรงของชุมชน ซึ่งไม่ว่าจาทาการงานอะไร
ชาวบ้านก็จะมาช่วยกันเช่นเดียวกับการลงแขก เอาแรงกัน
 ชุมชนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิคุ้มกันที่ดีของชุมชนนี้ คือการมีสภาพพื้นที่ที่เหมาะแก่การทาเกษตร มีความสอดคล้องกับ
ธรรมชาติมาก แต่จากปัญหาเดิมที่มีปัญหาทางการเกษตร ราคาตกต่า ประสบกับต้นทุนการ
ผลิตสูง ชาวบ้านที่นี่ จึงดึงภูมิคุ้มกันที่ตัวเองมี มาใช้โดยเริ่มจากที่ชาวบ้านมีการรวมตัวกันอย่าง
ดี จนสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยถึงแม้ระยะแรกอาจจะไม่ได้มีความรู้มากเพียงพอ แต่ก็
ได้พยายามเรียนรู้และไปศึกษาดูงานจนสามารถ นาความรู้มาใช้ภายในชุมชนได้ มีการล้มแล้ว
ลุก
 ชุมชนบ้านติงไหร จังหวัดกระบี่ ที่ยึดอาชีพการเลี้ยงปูม้า โดยในตอนแรกได้ประสบสาคัญคือ
ปัญหาทรัพยากรที่กาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย ชาวบ้านก็ได้ดึงภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ คือการเป็นน้า
หนึ่งใจเดียวกัน มาร่วมมือประชุมกัน จนได้ข้อสรุปสุดท้ายว่า อาชีพที่เหมาะสมกับคนในชุมชน
คือ การเลี้ยงปูม้า เนื่องจากแต่เดิมที่นี่มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติมาก ชาวบ้านจึงได้
ช่วยกันปลูกป่า และฟื้นฟูป่าอีกครั้ง จนธรรมชาติกลับมาดีเหมือนเดิม ภูมิคุ้มกันที่เด่นของชุมชน
นี้คือ ความสามัคคีความเป็นหนึ่งเดียวกันของคนภายในชุมชน เวลาทางานจะร่วมมือกันอย่าง
ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย จริงจังและเสียสละนั่นเอง สิ่งนี้ ที่ทาให้ชุมชนบ้านติงไหรผ่านปัญหามาได้
และสามารถเป็นชุมชนที่เข้มแข็งได้จนถึงปัจจุบันนั่นเอง
มีความรู้
การมีความรู้คือหนึ่งในเงื่อนไขตามหลักแนวคิดของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขนี้จาเป็น
อย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน ซึ่งในขณะเดียวกัน
ต้องเสริมสร้างพื้นฐานทางจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก
ระดับ ให้มีสานึกต่อคุณธรรมในการนาความรู้ความสามารถของตนเองมาใช้ให้เหมาะสม
เงื่อนไขกรอบความรู้ที่จะนาไปสู่การตัดสินใจในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่อยู่ในหลัก
พอเพียงนั้น ประกอบด้วย
1. ความรอบรู้ หมายถึง การมีความรู้เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ ที่ครอบคลุมเนื้อหาที่
เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในโอกาสและเวลาต่างๆ
2. ความรอบคอบ หมายถึง ความสามารถที่จะนาความรู้และหลักวิชาการต่างๆที่
ตนเองมี มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อนาไปใช้ประกอบการวางแผน ก่อนที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในการ
ปฏิบัติขั้นต่อไป
3. ความระมัดระวัง หมายถึง การมีสติที่จะนาแผนปฏิบัติที่ตั้งอยู่บนหลักวิชาต่างๆไป
ใช้ในการปฏิบัติ เพราะในความเป็นจริงแล้ว สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึง
จาเป็นต้องรู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย
จากโครงงานวิจัย ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบและได้สังเคราะห์เอกสารจานวน 32 ชม
ชุน จึงขอยกตัวอย่างบางส่วน เกี่ยวกับคนในชุมชนที่นาความรู้มาใช้ในการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชศรีมา
จากเดิมที่ชุมชนนี้ทาการเกษตรโดยอาศัยปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูกข้าว อ้อย มันสาปะหลัง เพราะ
ได้ผลผลิตเร็ว แต่ไม่ได้คานึงถึงปัญหาทางสุขภาพ จนมาช่วง ปี พ.ศ.2543-2544 มีมูลนิธิหมู่บ้าน
เครือข่ายทางปัญญาไทเข้ามาอบรมเรื่องการทาปุ๋ยชีวภาพ โดยใช้วัตถุดิบที่หาได้ในชุมชน ทาให้คนใน
ชุมชนมีความรู้ความสามารถมากขึ้น อีกทั้งเริ่มเปลี่ยนทัศนคติ เลิกใช้ปุ๋ยเคมีในการทาการเกษตร ไม่ใช่
เป็นแค่ตัวเงินที่สามารถลดลงได้ แต่ยังมีด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของคนในชมชุนที่ดีขึ้นอีกด้วย
2. ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระยาบันลือ อาเภอบัวหลวง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
ชุมชนนี้เป็นชุมชนเกษตรกรรม และปัญหาของคนในชุมชนนี้คือ ชาวบ้านไม่มีที่ดินเป็นของ
ตนเอง เพราะถูกนายทุนคว้านซื้อจึงทาให้ต้องไปเช่าพื้นที่ในการทาการเกษตร ทาให้ถูกเอารัดเอา
เปรียบจากพ่อค้าคนกลางที่เข้ามาซื้อผลผลิต ทาให้ชาวบ้านเริ่มรวมกลุ่มกันจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์โดยให้
สมาชิกไปศึกษาดูงานให้เกิดความรู้ นามาบริหารสหกรณ์นี้ได้ โดยผู้นาจะต้องมีการศึกษาหาความรู้
อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะนาความรู้และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต มาใช้พัฒนาองค์กรต่อไป
3. ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
สภาพของชุมชนแห่งนี้เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีดิน และน้าที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกผัก
และผลไม้เป็นอย่างยิ่ง แต่ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาพบว่าสภาพแวดล้อมภายในชุมชนแย่ลง สุขภาพ
ของคนในชุมชนเริ่มถดถอย เนื่องจากการใช้สารเคมีในการทาการเกษตรในสมัยใหม่ แต่ด้วยความ
ตระหนักรู้ในปัญหาของชุมชนที่ประสบอยู่ ทาให้เกิดการรวมตัวกันสู่วิถีแห่งเกษตรปลอดสาร ซึ่งนา
ความรู้จากรุ่นปู่ย่าตายายที่เล่ากันสืบทอดต่อๆมา เกี่ยวกับการทาการเกษตรโดยการปลูกผักให้
หลากหลายชนิดเพื่อให้ธรรมชาติดูแลกันเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการลองผิดลองถูกมาเรื่อยๆ จนพบความ
สมดุลของสิ่งที่ธรรมชาติต้องการ
4. บ้านดอยจัน ตาบลโยนก อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
นายสมานได้ผันตัวเองมาเป็นเกษตรกรอย่างเต็มตัว หลังจากที่ทาอาชีพรับราชการ โดยการ
ปลูกผักที่สามารถรับประทานได้ทุกอย่าง รวมถึงการเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ไข่และไก่พื้นเมือง หรือแม้กระทั่ง
วัชพืชก็ยังนามาทาเป็นปุ๋ยชีวภาพได้ ทาให้ลุงสมานสามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือนได้มาก และ
สามารถนาส่วนที่เหลือไปขายสร้างรายได้เพิ่มอีกด้วย ลุงสมานใช้ชีวิตเป็นเกษตรกรที่ดาเนินไปอย่าง
รอบคอบและศึกษาหาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมอยู่เสมอ ทั้งเอกสารผู้รู้ เพื่อนร่วมงาน และโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการแลกเปลี่ยนความรู้กับชาวบ้านด้วยกันทั้งในชุมชนและชุมชนอื่น จากความพยายามศึกษาหา
ความรู้และปรับเปลี่ยนวิถีในการผลิตให้เป็นวิถีธรรมชาติทาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย
ต่อผู้บริโภคอีกด้วย
5. กระเจี๊ยบเขียวสร้างชุมชนเอื้ออาทร บ้านดอนขุนวิเศษ ตาบลห้วยหมอนทอง อาเภอ
กาแพงแสน จังหวัดนครปฐม
จากเดิมที่คนในหมู่บ้านทานากันเพียงอย่างเดียว เพราะมีระบบน้าการชลประทานดี แต่ต่อมา
เกิดภาวะข้าวราคาถูก ทาให้คนในชุมชนนี้เกิดปัญหาขายข้าวไม่ได้ราคา ประสบปัญหาทางการเงิน และ
ได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่แนะนาให้ปลูกพืชที่ใช้ระยะเวลาสั้น เพื่อให้ได้ผลผลิตมาเสริมรายได้ และ
พบอีกว่าในขณะนั้นมีความต้องการกระเจี๊ยบเขียวจานวนมาก ทาให้คนในชุมชนบางส่วนเริ่มหันมาปลูก
เพื่อหารายได้จุนเจือกับปัญหาที่เกิดขึ้น ต่อมาเริ่มมีชาวบ้านหันมาสนใจกันเพิ่มขึ้นทาให้ความเป็นอยู่ใน
ชุมชนเริ่มดีขึ้น โดยการปลูกกระเจี๊ยบเขียวนั้นจาเป็นต้องอาศัยความละเอียดอ่อนโดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ทาง
กลุ่มผู้นาชุมชนจึงใช้ความรู้และชักชวนให้สมาชิกนาวัชพืชที่หาได้ในชุมชนมาทาปุ๋ยหมักชีวภาพใน
การเกษตร ซึ่งนอกจากจะได้ผลผลิตที่ปลอดภัยไร้สารเคมีแล้วยังสามารถลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมีลง
อีกด้วย และถึงแม้ว่าในตอนนี้คนในชุมชนจะมีรายได้หนักจากการขายกระเจี๊ยบเขียวแล้ว ผู้นาชุมชนได้
แนะนาให้ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ เพื่อนามาบริโภคเองภายในครัวเรือน และสามารถลด
ค่าใช้จ่ายจิปาถะลงได้อีกด้วย
คุณธรรม
จากหนังสือเล่มนี้ได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบที่ได้นาเอาแนวพระราชดาริ เรื่อเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้พบว่ามีความเชื่อมโยงกับเรื่องเงื่อนไขตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือ เงื่อนไขคุณธรรม
ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านจิตใจ คุณธรรม ไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ด้านการกระทา เน้น
ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทนความเพียรเป็น เงื่อนไขที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในอันที่จะนาไปสู่ระบบ
เศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ์ ยกตัวอย่างเช่น
“โคกพยอม”…. วิถีพึ่งพา ดิน น้า ป่า ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล
เรื่องราวของหลากชีวิตบนผืนดินแนวป่าชายเลน โคกพยอมแห่งนี้ สะท้อนภาพชีวิตของวิถีพอเพียงใน
รูปแบบต่าง ๆ บนฐานสาคัญคือ การมีฐานทรัพยากรธรรมชาติในการอิงอาศัยทั้งผืนดิน น้า ป่า ที่
ผสมผสานเชื่อมโยง รวมทั้งการมีกลุ่มกิจกรรมที่มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งนี้ หากชุมชน
มีทรัพยากร พวกเขาก็จะสามารถหาอยู่หากิน อยู่ได้ และนอกจากจะอยู่ได้ยังต้องมีกระบวนการในการ
สืบสานแนวคิดของชุมชน ทาให้เกิดการขยายผลของความรู้ชุมชนที่มีคุณค่า สร้างกระบวนการให้คน
มองเห็นคุณค่าร่วมกัน “เรารู้ตัวเองว่าสิ่งไหนจาเป็น และสิ่งไหนควรทา สิ่งไหนไม่ควรทา เพราะในหลัก
ศาสนาก็มีสอนอยู่แล้ว” จากแนวคิดนาไปสู่การปรับใช้ในชีวิตชาวชุมชนมีความกระตือรือร้นตั้งใจในการ
ประกอบอาชีพ เช่น การเลี้ยงปลาในกระชัง ส่งผลให้ความเป็นอยู่ดีขึ้น และสิ่งสาคัญคือความรักสามัคคี
และเข้าใจกันระหว่างชาวบ้าน โรงเรียน มัสยิด ผ่านการพบปะพูดคุยกันทุกค่าคืน ที่ศาลาท่าน้าซึ่งสร้าง
ขึ้นด้วยน้าพักน้าแรงของชาวชุมชน ที่สาคัญชุมชนยังยึดมั่นในหลักคาสอนของศาสนาอิสลาม เป็นมุสลิม
ที่คิดดี ทาดีและไม่เบียดเบียนใครมีความเคารพในระบบอาวุโสเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนระหว่างรุ่น
ให้เกิดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างในการดารงชีวิตของชาวชุมชน
ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา
วิถีชีวิตของชาวบ้านแต่ละครอบครัวมีฐานะใกล้เคียงกัน มีความสุขกันตามอัตภาพที่แตกต่างกันไปของ
แต่ละคน มีอิสรภาพในการดาเนินชีวิตชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ต้นทุนที่สาคัญของชุมชน
ก็คือป่า วิถีบ้านใหม่ จึงเป็นวิถีของชุมชนที่มีองค์ความรู้ภูมิปัญญาดั้งเดิมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย ซึ่ง
เป็นวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันแต่สิ่งที่เหมือนกันคือ นับถือพุทธศาสนา
และเข้าทาบุญที่วัดเดียวกัน มีความหลากหลายของกลุ่มคนที่ประกอบด้วยวัฒนธรรม ไทลาว ไทเขมร
ไทส่วย ไทภาคกลาง ไทโคราช
ลุ่มแม่น้าเจ้าพระเยา พระยาบันลือ : ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระ
ยาบันลือ อาเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เคารพธรรมชาติ ทาการเกษตรแบบไม่ทาลายธรรมชาติ รักษาสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมของตาบลพระ
ยาบันลือ ชุมชนมีการพึ่งตนเอง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เคารพกติกาที่ร่วมกันสร้าง และเคารพผู้อื่น โดยไม่
แบ่งความรวย ความจน รวมทั้งเปิดโอกาสให้คนในชุมชน
เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม มีการ
จัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม วิถีชีวิตของชาวบ้านพระยาบันลือ คือภาพสะท้อนความเชื่อมโยงของ
หลักคิดศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ชุมชนประดิษฐ์โทรการ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
ในกรุงเทพมหานคร วิถีชีวิตของคนเมือง ถูกกาหนดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น ค่าครองชีพ ราคาสินค้า
อุปโภค บริโภค เงินเดือน อัตราค่าแรงเงื่อนไขเหล่านี้ได้พันธนาการชีวิตของคนเมือง จนยากที่จะมีอิสระ
ในการดารงชีวิตมีกฎกติกาของชุมชนในการตัดสิน แต่ทั้งนี้ ชาวบ้านอยู่ร่วมกันอย่างความสุข มีความ
เอื้ออาทรกัน แต่ละคนรู้จักกัน หากใครทาผิดมีการลงโทษทางสังคมอัตโนมัติ
ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
ชุมชนคลองจินดามีความซื่อสัตย์สุจริต การไม่ผลิตเกินกาลังที่ตัวเองมี โดยไม่ไปเร่งการเจริญเติบโตของ
พืชผักด้วยการใช้สารเคมี และมีชีวิตอยู่บน ความพอประมาณเพราะหากไม่มีความตระหนักว่าการใช้
สารเคมีนั้นก่ออันตรายร้ายแรงแก่ตนเองและผู้อื่นมากเพียงใด และขาดคุณธรรมจริยธรรมในการผลิต
แล้วผลเสียก็จะกลับมาที่ชาวคลองจินดาที่มีอัตราการเจ็บป่วยสูงขึ้นทุกปี ทรัพยากรเสื่อมโทรม ทั้งดิน
และแหล่งน้า
วิถีความพอเพียง ของชุมชนในพื้นที่ป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง ตาบลเนินขามกิ่งอาเภอ
เนินขาม จังหวัดชัยนาท
การจัดการป่าชุมชนและการใช้ประโยชน์จากป่าของชาวบ้านเขาราวเทียนทอง เป็นไปเพื่อการยังชีพและ
การสร้างรายได้เสริม มีการใช้ประโยชน์อย่างมีเหตุมีผล โดยอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางสังคมที่ชาวบ้าน
ร่วมกันร่างขึ้นมา เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและกระจายผลประโยชน์ให้ชาวบ้านได้รับอย่างทั่วถึง และ
ชุมชนมีจิตสานึกในการหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ มีการพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพของ
ตนเอง
พอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน บนวิถี ชีวิตบ้านทาป่าเปา ตาบลทาปลาดุก อาเภอแม่ทา
จังหวัดลาพูน
ทางกลุ่มเกษตรกรบ้านทาป่าเปาจึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มสัจธรรมชีวิตขึ้น
เพื่อดาเนินกิจกรรมตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โดยกลุ่มสตรีแม่บ้านซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสัจธรรมชีวิต มองเห็นปัญหาของชุมชนเรื่อง
ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและป่าเปามีเศรษฐกิจที่ดี มีความเขียวขจีของป่า ชุมชนมีความรู้รักสามัคคี
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่มีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของชุมชนร่วมมือแก้ไขไม่ขัดแย้ง ทั้ง
กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมทางสังคม
จะเห็นได้ว่าเงื่อนไขคุณธรรม คือมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความ
อดทน มีความอดทน ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ฉะนั้นคุณธรรมจึงเป็นปัจจัยสาคัญพื้นฐานในการ
สร้างคน สร้างสังคม และ ประเทศชาติให้ขับเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างสมบูรณ์แบบ

More Related Content

Similar to บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...CDD Pathum Thani
 
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงางานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงาYumisnow Manoratch
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
จุดเน้น 4
จุดเน้น  4จุดเน้น  4
จุดเน้น 4kruchaily
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรParichart Ampon
 

Similar to บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงางานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
จุดเน้น 4
จุดเน้น  4จุดเน้น  4
จุดเน้น 4
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก

  • 1.
  • 2. จากการศึกษาชุมชนต้นแบบจานวน 32 ชุมชน และ จากการลงศึกษาภาคสนามชุมชนต้นแบบ ในพื้นที่จริงจานวน 6 ชุมชนนั้น ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องของความมีเหตุผล สามารถสรุป ได้ดังนี้ คือ 1. ทรัพยากรที่สาคัญภายในชุมชน เนื่องจากมีการใช้กันในปริมาณมาก ทาให้ทรัพยากรที่มีอยู่เสื่อมโทรมและค่อยๆหมดผล และนี่ เป็นเหตุผลที่ทาให้ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มกัน เพื่อทาการคิด หาวิธีการรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จากัด สิ่งเหล่านี้ทาให้ชุมชนเกิดความเข็มแข็ง ความรัก ความผูกพันที่เกื้อกูลกันของชาวบ้านเพื่อที่จะทา ให้ทรัพยากรที่กาลังจะหมดไปกลับมามีชีวิตอีกครั้งหนึ่ง ยกตัวอย่างให้เห็นภาพมากขึ้น เช่น ชุมชน บ้านโคกพยอม อาเภอละงู จังหวัดสตูล เป็นชุมชนป่าชายเลน ที่โอบล้อมไปด้วยทะเล ซึ่งแน่นอนว่า ทรัพยากรหลักก็คือ “ป่าชายเลน” โดยชาวบ้านได้ทามาหากินกับป่าชายเลน แต่แล้วปัญหาก็เกิดขึ้นกับ ขึ้นกับชุมชนเมื่อเกิดสัมปทานป่าขึ้น เกิดการบุกรุกป่าชายเลน ทาให้หลายสิ่งหลายอย่างเปลี่ยนไป สัก วันหนึ่งป่าชายเลนก็จะหมดไปจากชุมชน ส่งผลให้ชาวบ้านเกิดการรวมกลุ่มกัน เพื่อหาทางรักษาไว้ซึ่ง ป่าชายเลน 2. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ส่งผลต่อการประกอบอาชีพเดิมของคนในชุมชน ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนอาชีพเพื่อให้เช้ากับ สภาพปัจจุบัน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ผู้คนมากขึ้น วิถีชีวิตเดิมที่เคยเป็น ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ทาให้ เกิดการรวมกลุ่มกัน เป็นผู้นาชุมชน กลุ่มหมู่บ้านขึ้น เพื่อที่จะหาความรู้เกี่ยวกับการจัดการชุมชน ตัวอย่างเช่น “กุดเป่ง” ป่าเพื่อการเฮ็ดอยู่-เฮ็ดกิน ของชุมชนยางคา ตาบลยางคา อาเภอโพนทาย จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อยุคสมัยจะเปลี่ยนไป ป่าทาม ที่ที่ซึ่งแต่ก่อนเคยเป็นป่า “ส่วนรวม” ของชุมชน เริ่ม ถูกบุกรุกจับจองเป็นเจ้าของพื้นที่ เกิดการเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดผู้นาชุมชน รวมกลุ่มกัน ศึกษาการจัดการป่าชุมชน และนามาปรับใช้ในหมู่บ้าน เพื่อปกป้องป่ากุดเป่ง ไว้เป็นสมบัติของชุมชน ต่อไป 3. ปัญหาจากการเกษตร การใช้สารเคมี การขาดความรู้ ทาให้เกิดการเสื่อมโทรมในพื้นที่ เกิดปัญหาที่ตามมาคือ ดินเสีย ปัญหาเรื่องน้าเสีย ปัญหาต่างๆ เหล่านี้เป็นสาเหตุให้ชุมชนต้องคิดหาทางแก้ไข เพื่อให้ชุมชนสามารถ ประกอบอาชีพเกษตรได้ต่อไป หนึ่งในวิธีการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ คือ การคิดค้นหาวิธีการทาการเกษตร แบบใหม่ เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมี ยกตัวอย่างเช่น ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม ที่รวมตัวกันก่อตั้งกลุ่มเกษตรยั่งยืนคลองจินดา เป็นกลุ่มที่ทาการปลูกผักปลอดสารพิษ ลด การใช้สารเคมี นอกจากนี้ยังใช้วิถีธรรมชาติในการรักษาหน้าดินอีกด้วย
  • 3. 4. ภูมิปัญญากับวิถีชีวิตดั้งเดิม เนื่องจากเมืองไทยเป็นเมืองเกษตรกรรม อาชีพหลักของคนส่วนใหญ่จึงหนักไปทางด้าน เกษตรกรรม การทานา ถือเป็นอาชีพหลักที่สามารถหาเลี้ยงท้องและเลี้ยงชีพของคนในชุมชนได้ แต่เมื่อ เวลาผ่านไป เศรษฐกิจมีการขยายตัว ราคาข้าวผันผวน บ้างราคาสูง บ้างราคาต่า ประกอบกับปัญหา ทางด้านปัจจัยในการผลิต เทคโนโลยีต่าง ทาให้ในการทานามีต้นทุนที่สูงขึ้น นี่เป็นสาเหตุที่ทาให้ต้องหา แนวทางในการเพิ่มผลผลิต โดยอาศัยภูมิปัญญาแต่ดั้งเดิม ตัวอย่างเช่น ชาวนาป่าภูเขียว อาเภอ เกษตรสมบูรณ์ คอนสาน และ อาเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ เมื่อเกิดปัญหาสภาพแวดล้อม ถูกทาลาย ชาวบ้านจึงรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหา พร้อมใจกันระดมสมองเพื่อหาแนวทางเพิ่มผลผลิตและ เกิดการเรียนรู้ว่า การปลูกข้าวควรสอดคล้องกับวิถีธรรมชาติร่วมดูแล บารุงรักษาผืนดิน ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม เช่น เรียนรู้ว่าสภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่นาเกือบทั้งหมดอาศัยน้าฝนเป็นหลักและส่วนใหญ่ ยังประสบปัญหาฝนแล้งและฝนทิ้งช่วง ความพอประมาณ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจนเกินไปโดยต้อง ไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน จาก โครงการวิจัยเอกสาร ชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ใน การแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน นั้น จะได้เห็นการนาหลักของความพอประมาณมาใช้ในการ ดาเนินชีวิต เช่น - การจัดตั้งกลุ่มในชุมชนขึ้นเพื่อฟื้นฟูกลุ่มเกษตร พัฒนาผลผลิต พัฒนาระบบในชุมชน ที่เน้น การจัดการตลาดอย่างมีคุณธรรม การจัดการสวัสดิการ พัฒนาคน เป็นต้น ซึ่งในการพัฒนา ต่างๆ มีแนวคิดสาคัญๆ คือ การอยู่อย่างมีความสุข โดยการพึ่งตนเอง เคารพธรรมชาติ ไม่ ทาลายสิ่งแวดล้อม เคารพศักดิ์ศรีความเป็นคน - การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ของคนในชุมชน ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของคนใน ชุมชน เพราะเมื่อสมาชิกมีรายได้จากการขายสินค้า เงินรายได้บางส่วนก็มีการแบ่งปันกลับมายัง ชุมชน กลายเป็นเงินกองกลางที่นามาพัฒนาในชุมชน มีความพอประมาณไม่โลภ มีการ แบ่งปันเกิดขึ้นภายในชุมชน - เกษตรกรนาพืชผลจากสวนไปขายเอง ตามตลาดต่างๆ เมื่อเหลือจากการบริโภคภายใน ชุมชน พืชผักที่นาไป ขายก็มีราคาไม่แพง เป็นผักปลอกสารพิษไม่มีการเร่งการเจริญเติบโต เพื่อให้ได้ผลผลิตเร็ว และมีชีวิตอยู่บนความพอประมาณ
  • 4. - ชาวบ้านเรียนรู้ที่จะรักษาทรัพยากรท้องถิ่นอย่างรู้ค่าและพอเพียงก่อนที่จะหมดไป เพื่อนามาใช้ ในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพ แทนที่จะไปสรรหาปัจจัยจากภายนอกชุมชน โดยเกิดเป็น กระบวนการคิดและรวมกลุ่มกัน - สมาชิกในชุมชนดารงชีวิตให้ผูกพันและเชื่อมโยงกับสรรพสิ่งที่อยู่รายรอบตัว ไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว ชุมชน สังคม เช่น เมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือ หากต้องการบาบัดรักษา ก็มักจะใช้หลัก สร้างเสริมสิ่งที่ขาด กาจัดส่วนที่เกิน ล้างสิ่งที่เป็นพิษ เพื่อให้เกิดความสมดุลขึ้นในร่างกาย ซึ่ง อาจจะใช้อาหาร สมุนไพร โดยใช้องค์ความรู้ คือ ภูมิปัญญา ในด้านการป้องกันดูแลและรักษา สุขภาพพื้นบ้าน - นาวัฒนธรรมดั้งเดิมมาใช้ร่วมกันในการดาเนินชีวิตและทานาโดยอาศัยการเกื้อกูลกันตามวัฏ จักรของธรรมชาติ และนาความรู้ใหม่มาประยุกต์ใช้ทาให้สามารถลดต้นทุนการผลิตได้มาก - กานันประเสริฐ ด้วยวงศ์ ที่ผ่านมาต้องพบกับปัญหาอุปสรรคมากมาย ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความ ไม่พอประมาณ เศรษฐกิจภายนอก ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับทางครอบครัว กานันจึงหาทาง ออกโดยการมีความพอประมาณในตัวเอง ไม่โลภ ไม่ยอมรับในสิ่งที่ยังไม่ประจักษ์แก่สายตา อย่างชัดเจนแล้วก็จะทาให้ชีวิตเปรียบเสมือนมีเกราะที่แข็งแรงหุ้มให้ปลอดภัยตลอดเวลา - การปลูกฝังชาวบ้านในชุมชนให้พ้นกับกระแสนิยม ไม่ฟุ้งเฟ้อ มองเห็นมรดกอันล้าค่าในชุมชน ไม่ใช่ทรัพย์สิน ที่นาหรือสวน แต่อย่างใด แต่เป็นมรดกทางความรู้ด้านการเกษตรอันทรงคุณค่า นามาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ไม่ต้องดิ้นรนหรือแสวงหาจากภายนอกชุมชนอีกต่อไป - การใช้มูลไก่ มาเป็นอาหารปลา ใช้สะเดาเป็นสมุนไพรขับไล่แมลง ใช้ซังข้าวเป็นปุ๋ยชีวภาพ เพิ่ม สารอาหารในดิน สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ใช้ภูมิปัญญาและสร้างความพอประมาณในตัวเอง ครอบครัว ชุมชน สามารถนาไปสู่การลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ในครัวเรือน
  • 5. จากตัวอย่างของความพอประมาณที่กล่าวข้างต้นนั้น พอจะสรุปๆได้ 5 ประการ คือ 1.พอดีด้านจิตใจ เข็มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ ส่วนรวม 2.พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและ ชุมชน 3.พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบและเกิดความยั่งยืนสูงสุด 4.พอดีด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็น ประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนา จากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน 5.พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควร ตามอัตตาภาพและฐานะของตน การมีภูมิคุ้มกัน การดารงอยู่ของชุมชนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเรื่องความพอเพียง โดยการมีภูมิคุ้มกันนั้น ถือเป็น ปัจจัยที่สาคัญอีก หนึ่งประการ จากสามเงื่อนไขของทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง การที่เรามีทุนเป็นของเรา เองนั้น ก็เปรียบเสมือนกับที่เรามีภูมิคุ้มกันที่ดีที่เราจะสามารถป้องกันตัวเองได้ เฉกเช่นกับในเวลาที่ อากาศเปลี่ยนแปลง ต่อให้อากาศเปลี่ยนไป แต่ถ้าตัวเรามีภูมิคุ้มกันที่ดีแล้ว ก็เป็นการยากที่เราจะเป็น ไข้หวัด จากหนังสือเล่มนี้ที่ได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบที่ได้นาเอาแนวพระราชดาริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ พบว่ามีความเชื่อมโยงกับการเรื่องการมีภูมิคุ้ม โดย เริ่มจากการที่ชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง ซึ่งการ พึ่งพาช่วยเหลือ หรือสามารถดูแลตัวเองได้นั้นคือการที่ชุมชนนั้นมี 1.การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี หมายถึง การที่ชุมชนมีปริมาณและคุณภาพของเทคโนโลยี ทางวัตถุ เช่น เครื่องไม้เครื่องมือ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีทางสังคมภายในชุมชน เช่น การจัด วางโครงการ การจัดการ เป็นต้น การรู้จักใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการนาภูมิปัญญาของชาวบ้าน มาใช้ หรือสามารถประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 2. การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ หมายถึง การที่ชุมชนหรือชาวบ้านมีความสามารถในการทามาหา เลี้ยงชีพ ที่มีความมั่นคงสมบูรณ์ พูนสุขพอสมควร หรือได้อย่างมีสมดุล 3. การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การที่ชุมชนนั้นสามารนา
  • 6. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถรักษา ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่นั้นให้ดารงอยู่ไม่ให้เสื่อมเสียไปจนหมดสิ้น หรือไม่ให้เสียสมดุลของธรรมชาติ นั่นเอง 4. การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ หมายถึง การที่คนภายในชุมชนมีสภาพจิตใจที่กล้าแข็ง สามารถที่จะต่อสู้ กับปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ทั้งการหาเลี้ยงชีพ การพัฒนาชีวิตให้ก้าวหน้า การยึดมั่นปฏิบัติตนตามหลัก ทางสายกลาง หรือหลักมัชฉิมาปฏิปทา 5. การพึ่งตนเองได้ทางสังคม หมายถึง การที่คนภายในชุมชนมีความเป็นปึกแผ่นเหนียว แน่น มีผู้นาที่มีประสิทธิภาพสามารถนาให้คนในชุมชนสามารถดาเนินการใด ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้วย ตนเอง หรือสามารถหาความช่วยเหลือจากภายนอกเข้ามาช่วย ทาให้ชุมชนของตนเองช่วยตนเองได้ ซึ่งต่อไปนี้จะขอกล่าวถึงการมีภูมิคุ้มกันของชุมชนต้นแบบในบางชุมชนดังนี้  ชุมชนโคกพะยอม จังหวัดสตูล ชุมชนที่มีภูมิคุ้มกันทั้งในเรื่องการมีทรัพยากรที่สาคัญ นั่นคือ ป่าชายเลน การที่คนภายใน ชุมชนมีความเข้มแข็งในการรวมตัวกัน การร่วมไม้ ร่วมมือกัน ซึ่งจากเดิมประสบปัญหาป่าชาย เลนหมด ซึ่งเท่ากับว่าภูมิคุ้มกันที่มีภายในชุมชนกาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย การร่วมมือกันของ ชาวบ้านภายในชุมชน ได้มาร่วมคิด ร่วมทา เรียนรู้ปัญหากันและกันที่เกิดขึ้น เกิดการ ปรึกษาหารือกันในชุมชน จนสามารถเกิดเป็นแนวคิดในการปลูกป่าทดแทนขึ้นมาได้ นอกจาก จะเป็นทรัพยากรที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพแล้ว นั้นคือการที่ชุมชนมีปึกแผ่น สามัคคีกัน นั่นเอง ทาให้ชุมชนโคกพยอม ใช้ภูมิคุ้มกันข้อนี้ผ่านปัญหามาได้  ชุมชนตาบลบ้านใหม่ จังหวัด นครราชสีมา ชุมชนที่มีหลากหลายอาชีพและมากมายฐานความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านมีการพึ่งพา กันอย่างดี มีการสนับสนุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ภูมิคุ้มกันที่ดี ที่ทางชุมชน บ้านใหม่มี คือการมีป่า ที่ทุกคนภายในชุมชนช่วยกันดูแลรักษา มีการพึ่งพิงใช้ ประโยชน์จากป่าชุมชนได้อย่างสมดุล การมีธนาคารแรงของชุมชน ซึ่งไม่ว่าจาทาการงานอะไร ชาวบ้านก็จะมาช่วยกันเช่นเดียวกับการลงแขก เอาแรงกัน  ชุมชนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภูมิคุ้มกันที่ดีของชุมชนนี้ คือการมีสภาพพื้นที่ที่เหมาะแก่การทาเกษตร มีความสอดคล้องกับ ธรรมชาติมาก แต่จากปัญหาเดิมที่มีปัญหาทางการเกษตร ราคาตกต่า ประสบกับต้นทุนการ ผลิตสูง ชาวบ้านที่นี่ จึงดึงภูมิคุ้มกันที่ตัวเองมี มาใช้โดยเริ่มจากที่ชาวบ้านมีการรวมตัวกันอย่าง ดี จนสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยถึงแม้ระยะแรกอาจจะไม่ได้มีความรู้มากเพียงพอ แต่ก็
  • 7. ได้พยายามเรียนรู้และไปศึกษาดูงานจนสามารถ นาความรู้มาใช้ภายในชุมชนได้ มีการล้มแล้ว ลุก  ชุมชนบ้านติงไหร จังหวัดกระบี่ ที่ยึดอาชีพการเลี้ยงปูม้า โดยในตอนแรกได้ประสบสาคัญคือ ปัญหาทรัพยากรที่กาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย ชาวบ้านก็ได้ดึงภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ คือการเป็นน้า หนึ่งใจเดียวกัน มาร่วมมือประชุมกัน จนได้ข้อสรุปสุดท้ายว่า อาชีพที่เหมาะสมกับคนในชุมชน คือ การเลี้ยงปูม้า เนื่องจากแต่เดิมที่นี่มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติมาก ชาวบ้านจึงได้ ช่วยกันปลูกป่า และฟื้นฟูป่าอีกครั้ง จนธรรมชาติกลับมาดีเหมือนเดิม ภูมิคุ้มกันที่เด่นของชุมชน นี้คือ ความสามัคคีความเป็นหนึ่งเดียวกันของคนภายในชุมชน เวลาทางานจะร่วมมือกันอย่าง ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย จริงจังและเสียสละนั่นเอง สิ่งนี้ ที่ทาให้ชุมชนบ้านติงไหรผ่านปัญหามาได้ และสามารถเป็นชุมชนที่เข้มแข็งได้จนถึงปัจจุบันนั่นเอง มีความรู้ การมีความรู้คือหนึ่งในเงื่อนไขตามหลักแนวคิดของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขนี้จาเป็น อย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน ซึ่งในขณะเดียวกัน ต้องเสริมสร้างพื้นฐานทางจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก ระดับ ให้มีสานึกต่อคุณธรรมในการนาความรู้ความสามารถของตนเองมาใช้ให้เหมาะสม เงื่อนไขกรอบความรู้ที่จะนาไปสู่การตัดสินใจในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่อยู่ในหลัก พอเพียงนั้น ประกอบด้วย 1. ความรอบรู้ หมายถึง การมีความรู้เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ ที่ครอบคลุมเนื้อหาที่ เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในโอกาสและเวลาต่างๆ 2. ความรอบคอบ หมายถึง ความสามารถที่จะนาความรู้และหลักวิชาการต่างๆที่ ตนเองมี มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อนาไปใช้ประกอบการวางแผน ก่อนที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติขั้นต่อไป 3. ความระมัดระวัง หมายถึง การมีสติที่จะนาแผนปฏิบัติที่ตั้งอยู่บนหลักวิชาต่างๆไป ใช้ในการปฏิบัติ เพราะในความเป็นจริงแล้ว สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึง จาเป็นต้องรู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย
  • 8. จากโครงงานวิจัย ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบและได้สังเคราะห์เอกสารจานวน 32 ชม ชุน จึงขอยกตัวอย่างบางส่วน เกี่ยวกับคนในชุมชนที่นาความรู้มาใช้ในการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 1. ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชศรีมา จากเดิมที่ชุมชนนี้ทาการเกษตรโดยอาศัยปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูกข้าว อ้อย มันสาปะหลัง เพราะ ได้ผลผลิตเร็ว แต่ไม่ได้คานึงถึงปัญหาทางสุขภาพ จนมาช่วง ปี พ.ศ.2543-2544 มีมูลนิธิหมู่บ้าน เครือข่ายทางปัญญาไทเข้ามาอบรมเรื่องการทาปุ๋ยชีวภาพ โดยใช้วัตถุดิบที่หาได้ในชุมชน ทาให้คนใน ชุมชนมีความรู้ความสามารถมากขึ้น อีกทั้งเริ่มเปลี่ยนทัศนคติ เลิกใช้ปุ๋ยเคมีในการทาการเกษตร ไม่ใช่ เป็นแค่ตัวเงินที่สามารถลดลงได้ แต่ยังมีด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของคนในชมชุนที่ดีขึ้นอีกด้วย 2. ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระยาบันลือ อาเภอบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ชุมชนนี้เป็นชุมชนเกษตรกรรม และปัญหาของคนในชุมชนนี้คือ ชาวบ้านไม่มีที่ดินเป็นของ ตนเอง เพราะถูกนายทุนคว้านซื้อจึงทาให้ต้องไปเช่าพื้นที่ในการทาการเกษตร ทาให้ถูกเอารัดเอา เปรียบจากพ่อค้าคนกลางที่เข้ามาซื้อผลผลิต ทาให้ชาวบ้านเริ่มรวมกลุ่มกันจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์โดยให้ สมาชิกไปศึกษาดูงานให้เกิดความรู้ นามาบริหารสหกรณ์นี้ได้ โดยผู้นาจะต้องมีการศึกษาหาความรู้ อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะนาความรู้และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต มาใช้พัฒนาองค์กรต่อไป 3. ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม สภาพของชุมชนแห่งนี้เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีดิน และน้าที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกผัก และผลไม้เป็นอย่างยิ่ง แต่ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาพบว่าสภาพแวดล้อมภายในชุมชนแย่ลง สุขภาพ ของคนในชุมชนเริ่มถดถอย เนื่องจากการใช้สารเคมีในการทาการเกษตรในสมัยใหม่ แต่ด้วยความ ตระหนักรู้ในปัญหาของชุมชนที่ประสบอยู่ ทาให้เกิดการรวมตัวกันสู่วิถีแห่งเกษตรปลอดสาร ซึ่งนา ความรู้จากรุ่นปู่ย่าตายายที่เล่ากันสืบทอดต่อๆมา เกี่ยวกับการทาการเกษตรโดยการปลูกผักให้ หลากหลายชนิดเพื่อให้ธรรมชาติดูแลกันเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการลองผิดลองถูกมาเรื่อยๆ จนพบความ สมดุลของสิ่งที่ธรรมชาติต้องการ 4. บ้านดอยจัน ตาบลโยนก อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นายสมานได้ผันตัวเองมาเป็นเกษตรกรอย่างเต็มตัว หลังจากที่ทาอาชีพรับราชการ โดยการ ปลูกผักที่สามารถรับประทานได้ทุกอย่าง รวมถึงการเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ไข่และไก่พื้นเมือง หรือแม้กระทั่ง
  • 9. วัชพืชก็ยังนามาทาเป็นปุ๋ยชีวภาพได้ ทาให้ลุงสมานสามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือนได้มาก และ สามารถนาส่วนที่เหลือไปขายสร้างรายได้เพิ่มอีกด้วย ลุงสมานใช้ชีวิตเป็นเกษตรกรที่ดาเนินไปอย่าง รอบคอบและศึกษาหาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมอยู่เสมอ ทั้งเอกสารผู้รู้ เพื่อนร่วมงาน และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการแลกเปลี่ยนความรู้กับชาวบ้านด้วยกันทั้งในชุมชนและชุมชนอื่น จากความพยายามศึกษาหา ความรู้และปรับเปลี่ยนวิถีในการผลิตให้เป็นวิถีธรรมชาติทาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย ต่อผู้บริโภคอีกด้วย 5. กระเจี๊ยบเขียวสร้างชุมชนเอื้ออาทร บ้านดอนขุนวิเศษ ตาบลห้วยหมอนทอง อาเภอ กาแพงแสน จังหวัดนครปฐม จากเดิมที่คนในหมู่บ้านทานากันเพียงอย่างเดียว เพราะมีระบบน้าการชลประทานดี แต่ต่อมา เกิดภาวะข้าวราคาถูก ทาให้คนในชุมชนนี้เกิดปัญหาขายข้าวไม่ได้ราคา ประสบปัญหาทางการเงิน และ ได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่แนะนาให้ปลูกพืชที่ใช้ระยะเวลาสั้น เพื่อให้ได้ผลผลิตมาเสริมรายได้ และ พบอีกว่าในขณะนั้นมีความต้องการกระเจี๊ยบเขียวจานวนมาก ทาให้คนในชุมชนบางส่วนเริ่มหันมาปลูก เพื่อหารายได้จุนเจือกับปัญหาที่เกิดขึ้น ต่อมาเริ่มมีชาวบ้านหันมาสนใจกันเพิ่มขึ้นทาให้ความเป็นอยู่ใน ชุมชนเริ่มดีขึ้น โดยการปลูกกระเจี๊ยบเขียวนั้นจาเป็นต้องอาศัยความละเอียดอ่อนโดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ทาง กลุ่มผู้นาชุมชนจึงใช้ความรู้และชักชวนให้สมาชิกนาวัชพืชที่หาได้ในชุมชนมาทาปุ๋ยหมักชีวภาพใน การเกษตร ซึ่งนอกจากจะได้ผลผลิตที่ปลอดภัยไร้สารเคมีแล้วยังสามารถลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมีลง อีกด้วย และถึงแม้ว่าในตอนนี้คนในชุมชนจะมีรายได้หนักจากการขายกระเจี๊ยบเขียวแล้ว ผู้นาชุมชนได้ แนะนาให้ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ เพื่อนามาบริโภคเองภายในครัวเรือน และสามารถลด ค่าใช้จ่ายจิปาถะลงได้อีกด้วย คุณธรรม จากหนังสือเล่มนี้ได้ทาการศึกษาชุมชนต้นแบบที่ได้นาเอาแนวพระราชดาริ เรื่อเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้พบว่ามีความเชื่อมโยงกับเรื่องเงื่อนไขตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือ เงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านจิตใจ คุณธรรม ไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่น ด้านการกระทา เน้น ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทนความเพียรเป็น เงื่อนไขที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในอันที่จะนาไปสู่ระบบ เศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ์ ยกตัวอย่างเช่น “โคกพยอม”…. วิถีพึ่งพา ดิน น้า ป่า ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล เรื่องราวของหลากชีวิตบนผืนดินแนวป่าชายเลน โคกพยอมแห่งนี้ สะท้อนภาพชีวิตของวิถีพอเพียงใน รูปแบบต่าง ๆ บนฐานสาคัญคือ การมีฐานทรัพยากรธรรมชาติในการอิงอาศัยทั้งผืนดิน น้า ป่า ที่ ผสมผสานเชื่อมโยง รวมทั้งการมีกลุ่มกิจกรรมที่มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งนี้ หากชุมชน
  • 10. มีทรัพยากร พวกเขาก็จะสามารถหาอยู่หากิน อยู่ได้ และนอกจากจะอยู่ได้ยังต้องมีกระบวนการในการ สืบสานแนวคิดของชุมชน ทาให้เกิดการขยายผลของความรู้ชุมชนที่มีคุณค่า สร้างกระบวนการให้คน มองเห็นคุณค่าร่วมกัน “เรารู้ตัวเองว่าสิ่งไหนจาเป็น และสิ่งไหนควรทา สิ่งไหนไม่ควรทา เพราะในหลัก ศาสนาก็มีสอนอยู่แล้ว” จากแนวคิดนาไปสู่การปรับใช้ในชีวิตชาวชุมชนมีความกระตือรือร้นตั้งใจในการ ประกอบอาชีพ เช่น การเลี้ยงปลาในกระชัง ส่งผลให้ความเป็นอยู่ดีขึ้น และสิ่งสาคัญคือความรักสามัคคี และเข้าใจกันระหว่างชาวบ้าน โรงเรียน มัสยิด ผ่านการพบปะพูดคุยกันทุกค่าคืน ที่ศาลาท่าน้าซึ่งสร้าง ขึ้นด้วยน้าพักน้าแรงของชาวชุมชน ที่สาคัญชุมชนยังยึดมั่นในหลักคาสอนของศาสนาอิสลาม เป็นมุสลิม ที่คิดดี ทาดีและไม่เบียดเบียนใครมีความเคารพในระบบอาวุโสเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนระหว่างรุ่น ให้เกิดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างในการดารงชีวิตของชาวชุมชน ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา วิถีชีวิตของชาวบ้านแต่ละครอบครัวมีฐานะใกล้เคียงกัน มีความสุขกันตามอัตภาพที่แตกต่างกันไปของ แต่ละคน มีอิสรภาพในการดาเนินชีวิตชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ต้นทุนที่สาคัญของชุมชน ก็คือป่า วิถีบ้านใหม่ จึงเป็นวิถีของชุมชนที่มีองค์ความรู้ภูมิปัญญาดั้งเดิมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย ซึ่ง เป็นวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันแต่สิ่งที่เหมือนกันคือ นับถือพุทธศาสนา และเข้าทาบุญที่วัดเดียวกัน มีความหลากหลายของกลุ่มคนที่ประกอบด้วยวัฒนธรรม ไทลาว ไทเขมร ไทส่วย ไทภาคกลาง ไทโคราช ลุ่มแม่น้าเจ้าพระเยา พระยาบันลือ : ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระ ยาบันลือ อาเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เคารพธรรมชาติ ทาการเกษตรแบบไม่ทาลายธรรมชาติ รักษาสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมของตาบลพระ ยาบันลือ ชุมชนมีการพึ่งตนเอง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เคารพกติกาที่ร่วมกันสร้าง และเคารพผู้อื่น โดยไม่ แบ่งความรวย ความจน รวมทั้งเปิดโอกาสให้คนในชุมชน เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม มีการ จัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม วิถีชีวิตของชาวบ้านพระยาบันลือ คือภาพสะท้อนความเชื่อมโยงของ หลักคิดศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนประดิษฐ์โทรการ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ในกรุงเทพมหานคร วิถีชีวิตของคนเมือง ถูกกาหนดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น ค่าครองชีพ ราคาสินค้า อุปโภค บริโภค เงินเดือน อัตราค่าแรงเงื่อนไขเหล่านี้ได้พันธนาการชีวิตของคนเมือง จนยากที่จะมีอิสระ ในการดารงชีวิตมีกฎกติกาของชุมชนในการตัดสิน แต่ทั้งนี้ ชาวบ้านอยู่ร่วมกันอย่างความสุข มีความ เอื้ออาทรกัน แต่ละคนรู้จักกัน หากใครทาผิดมีการลงโทษทางสังคมอัตโนมัติ ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ชุมชนคลองจินดามีความซื่อสัตย์สุจริต การไม่ผลิตเกินกาลังที่ตัวเองมี โดยไม่ไปเร่งการเจริญเติบโตของ พืชผักด้วยการใช้สารเคมี และมีชีวิตอยู่บน ความพอประมาณเพราะหากไม่มีความตระหนักว่าการใช้ สารเคมีนั้นก่ออันตรายร้ายแรงแก่ตนเองและผู้อื่นมากเพียงใด และขาดคุณธรรมจริยธรรมในการผลิต
  • 11. แล้วผลเสียก็จะกลับมาที่ชาวคลองจินดาที่มีอัตราการเจ็บป่วยสูงขึ้นทุกปี ทรัพยากรเสื่อมโทรม ทั้งดิน และแหล่งน้า วิถีความพอเพียง ของชุมชนในพื้นที่ป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง ตาบลเนินขามกิ่งอาเภอ เนินขาม จังหวัดชัยนาท การจัดการป่าชุมชนและการใช้ประโยชน์จากป่าของชาวบ้านเขาราวเทียนทอง เป็นไปเพื่อการยังชีพและ การสร้างรายได้เสริม มีการใช้ประโยชน์อย่างมีเหตุมีผล โดยอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ทางสังคมที่ชาวบ้าน ร่วมกันร่างขึ้นมา เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและกระจายผลประโยชน์ให้ชาวบ้านได้รับอย่างทั่วถึง และ ชุมชนมีจิตสานึกในการหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ มีการพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพของ ตนเอง พอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน บนวิถี ชีวิตบ้านทาป่าเปา ตาบลทาปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน ทางกลุ่มเกษตรกรบ้านทาป่าเปาจึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มสัจธรรมชีวิตขึ้น เพื่อดาเนินกิจกรรมตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยกลุ่มสตรีแม่บ้านซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสัจธรรมชีวิต มองเห็นปัญหาของชุมชนเรื่อง ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและป่าเปามีเศรษฐกิจที่ดี มีความเขียวขจีของป่า ชุมชนมีความรู้รักสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่มีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของชุมชนร่วมมือแก้ไขไม่ขัดแย้ง ทั้ง กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมทางสังคม จะเห็นได้ว่าเงื่อนไขคุณธรรม คือมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความ อดทน มีความอดทน ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ฉะนั้นคุณธรรมจึงเป็นปัจจัยสาคัญพื้นฐานในการ สร้างคน สร้างสังคม และ ประเทศชาติให้ขับเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างสมบูรณ์แบบ