SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี
โดย สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของตาบล
(สภาพทั่วไป สภาพสังคม สภาพทางเศรษฐกิจ)
1. สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
หมู่บ้านคลองสิบสอง หมู่ 9 เป็นหมู่บ้านที่ 9 ของตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัด
ปทุมธานีมีคลองสิบสองสายกลางไหลผ่านกลางหมู่บ้าน สภาพของหมู่บ้านแต่เดิมเป็นป่า ทุ่งหญ้าขึ้นปกคลุมรวมทั้ง
ต้นไม้เล็ก ต้นไม้ใหญ่ กระจายอยู่ทั่วไป เริ่มก่อตั้งประมาณ 100 ปี เป็นหมู่บ้านที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ประชาชนตั้ง
บ้านเรือนอยู่สองฝั่งของวัดโสภณาราม คนกลุ่มแรกที่เข้ามาอยู่ในหมู่บ้าน ได้แก่ ตระกูลคุ้มแก้ว ตระกูลพวงผล
ตระกูลมั่นสุข ซึ่งเข้ามาจับจองที่ดินทากินตั้งแต่สมัยรัชการที่ 5 ประมาณ พ.ศ.2545 ปัจจุบันอยู่ในเขตปกครอง
ขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห โดยมี นายชาตรี น้อยฉวี เป็นผู้ใหญ่บ้าน
1.2 สภาพภูมิศาสตร์
พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเกษตร มีลาคลองไหลผ่านกลางหมู่บ้าน มีคลองส่งน้าคลอง
ปลายแดนส่งเข้าถึงพื้นที่การเกษตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 10 ตาบลบึงคอไห
ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 ตาบลบึงคอไห
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงคอไห
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 11,12 ตาบลบึงคอไห
2. สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม
2.1 การศึกษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระเมตตาโปรดเกล้าฯ ให้
โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ โครงการพระราชดาริ “โครงการด้วยรักและห่วงใย” เพื่อจัด
การศึกษาให้เด็ก เยาวชน รวมถึงแหล่งเรียนรู้ที่สร้างวินัย การออม การสืบสานอนุรักษ์ภูมิปัญญา ประเพณี
วัฒนธรรม และมีการดาเนินการตามแนวทางเกษตรพอเพียง
2.2 ศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย
คนในหมู่บ้านจะดาเนินชีวิตโดยนาเอาหลักการทางศาสนามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ นามาปรับใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ทาให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข มีการช่วยเหลือแบ่งปันซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริม
อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของหมู่บ้าน ศาสนสถานต่างๆที่สาคัญ วัดโสภณาราม
2.3 วัฒนธรรม
สภาวัฒนธรรมตาบลบึงคอไหเกิดจากประชาชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการดาเนินงานวัฒนธรรม
ท้องถิ่น ของตนเองอย่างเต็มที่โดยกลุ่มเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน (สภาวัฒนธรรม) จะเป็นผู้กาหนดแนวทางในการ
ดาเนินงานวัฒนธรรมชุมชน เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น สร้างความสามัคคีในชุมชน ให้
ประชาชนได้มีวิถีชีวิตในการอยู่ร่วมกัน 2 ศาสนา โดยมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น ศาสนาอิสลาม โครงการละศีล
อดในเดือนรอมฎอน ของทุกปี เข้าค่ายอบรมจริยธรรมคุณธรรมภาคฤดูร้อน สนับสนุนงานมัสยิด และทางด้าน
ศาสนาพุทธ ประเพณีสงกรานต์ วันผู้สูงอายุ และการอนุรักษ์อาหารพื้นบ้านให้คงอยู่ เช่น แกงบอน แกงขี้เหล็ก
แกงเลียง กะปิคั่ว เป็นต้น
3. สภาพทางเศรษฐกิจ
3.1 การประกอบอาชีพ
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ อาชีพรับจ้าง รองลงมาคือ การทาการเกษตร และ
อาชีพค้าขาย และอาชีพเสริมหรืออาชีพรอง ได้แก่ อาชีพค้าขาย โดยหากจาแนกรายละเอียดเป็นครัวเรือน
สามารถสรุปได้ดังนี้
3.1.1 อาชีพหลักของครัวเรือน
1. อาชีพทาการเกษตร (ทานา ทาสวน เลี้ยงสัตว์) จานวน 38 ครัวเรือน
2. อาชีพรับจ้าง จานวน 80 ครัวเรือน
3. อาชีพค้าขาย จานวน 10 ครัวเรือน
3.1.1 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง
1. อาชีพค้าขาย จานวน 10 ครัวเรือน
3.2 ผู้ว่างาน มีจานวนทั้งสิ้น 63 คน โดยหากแบ่งตามช่วงอายุสามารถแบ่งออกได้ ดังนี้
กลุ่มอายุ 13-18 ปี จานวน 2 คน
กลุ่มอายุ 19-24 ปี จานวน 30 คน
กลุ่มอายุ 25 ปีขึ้นไป จานวน 31 คน
3.3 หมู่บ้านมี รายได้ 24,513.57 บาท/ปี
รายจ่าย 49,471.68 บาท/ปี
หนี้สิน - บาท/ปี
3.4 กองทุนชุมชนในหมู่บ้าน มีจานวน 3 กองทุน ดังนี้
1. กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน
2. กองทุนหมู่บ้าน
3. กองทุนปลูกพืชผักสวนครัว
4. แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ
4.1 หน่วยงาน
1 องค์การบริหารส่วนตาบล
บึงคอไห
บริหารและจัดการ การแก้ไขปัญหาความเป็นอยู่ของประชาชนใน
ชุมชน ในทุกด้าน
2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลบึงคอไห
เป็นสถานพยาบาลประจาตาบล มีการให้บริการสาธารณสุขที่
หลากหลาย ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ
รักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค
3 โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นสถานศึกษา ระดับอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียน
วัดโสภณาราม
เป็นสถานที่ดูแลเด็กเล็กก่อนวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กมี
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่าง
เหมาะสม
5 ศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.)
เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
และมีคุณภาพ
4.2 แหล่งประโยชน์
1 วัดโสภณาราม เป็นสถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาพุทธ เมื่อมีประเพณี
การทาบุญต่างๆ และเป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุกเทศกาล
2 ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ใช้เป็นที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 และที่เก็บของกองทุนพัฒนา
ศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)
3 ศาลาประชาคมหมู่บ้าน ใช้เป็นสถานที่จัดการประชุมและกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน
4 คลองชลประทานที่ 12 เป็นคลองที่ตัดผ่าน หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตาบลบึง
คอไห ขนาดกว้างประมาณ 40 เมตร ยาวประมาณ 4,870 เมตร
เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้าเมื่อ
เกิดอุทกภัย
5 คลองปลายแดน เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้าเมื่อ
เกิดอุทกภัย มี 2 แห่ง อยู่ทางทิศตะวันออกของ ม.9 ติดกับ ม.5 และ
อยู่ทางทิศตะวันตกของ ม.9ติดกับ ม.12
6 ระบบประปาบาดาลหมู่บ้าน เป็นแหล่งน้าบาดาลสาธารณะ ให้ประชาชนมีน้าสะอาดใช้ในการ
อุปโภคบริโภค
7 ลานอเนกประสงค์
(หลังวัดโสภณาราม)
ใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
4.3 งาน/กิจกรรม
1 กองทุนพัฒนาศักยภา พ
หมู่บ้านและชุมชน (SML)
จัดซื้อเครื่องฉีดยา ประจาหมู่บ้าน เพื่อใช้ในการเกษตร ไว้สาหรับ
บริการประชาชนในหมู่บ้าน
2 กองทุนหมู่บ้าน ให้สมาชิกยืมเงินประกอบอาชีพ มีสวัสดิการให้สมาชิก เช่น เงินปันผล
ตามยอดหุ้น ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์
3 กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายาเสพ
ติด รวมถึงปัญหาอื่นๆ ในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นกองทุนช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน โดยไม่มีการให้กู้ยืมและไม่มีดอกเบี้ยให้ชุมชนรู้จักพึ่งพา
ตนเอง
4 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.)
ให้ความรู้ คาแนะนา และส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด
ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง เฝ้าระวัง ป้องกัน
ควบคุมโรคไข้เลือดออก
5.ทุนและศักยภาพพื้นที่
จากข้อมูลตาบล ทาให้ทราบว่า บ้านคลองสิบสอง หมู่ที่ 9 มีจานวนประชากรทั้งหมด 1,090 คน ชาย
529 คน หญิง 561 คน จานวน 969 ครัวเรือน และประชากรมีจานวนมากที่สุดอยู่ในช่วงวัย 50-54 ปี มี
จานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 11.70 รองลงมาคือวัย 55-59 ปี มีจานวน 49 คิดเป็นร้อยละ 9.55 และน้อย
ที่สุดคือ วัย90-94 จานวน 1 คิดเป็นร้อยละ 0.19 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป รองลงมา คือ
พนักงานเอกชน บริษัท และ ค้าขาย มีนายชาตรี น้อยฉวี เป็นผู้ใหญ่บ้าน มีนางวรายุภัสร์ ละมัยจันทร์ ปลัด อบต.
บึงคอไห มีนายชัยสิงห์ พราหมณ์วงษ์ และ นายโชคชัย พลักแตง เป็น สมาชิก อบต.หมู่ที่ 9
มีทุนทางสังคมจาแนกได้ดังนี้ 1.ทุนบุคคล จานวน 40 คน 2. หน่วยงาน จานวน 5 แห่ง 3.แหล่ง
ประโยชน์ จานวน 7 แหล่ง 4.กลุ่มระดับหมู่บ้าน จานวน 4 กลุ่ม 5. กลุ่มระดับตาบล จานวน 7 กลุ่ม 6.
กลุ่มระดับเครือข่าย จานวน 1 กลุ่ม โดยมีรายละเอียดตามตาราง
ลาดับ ทุนทางสังคม ความเชี่ยวชาญกิจกรรมเด่น งานเด่นหรือเรื่องเด่น
1. ระดับบุคคลและครอบครัว
1 พระครูอาทร ธัญญานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดโสภณาราม / เจ้าคณะตาบลลาไทร /คณะกรรมการ
โรงเรียนวัดโสภณาราม / เป็นผู้มอบทุนการศึกษาให้เด็กยากจน
และเยาวชน
2 นางวรายุภัสร์ ละมัยจันทร์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห / ประธานกลุ่มเห็ดเปลี่ยน
ชีวิต / คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห /
คณะกรรมการชมรมกลองยาว / ที่ปรึกษาศูนย์พัฒนาครอบครัวใน
ชุมชนตาบลบึงคอไห /ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์อาสาสมัครป้องกัน
ภัยฝ่ายพลเรือน
3 นายชาตรี น้อยฉวี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 / ประธานกรรมการหมู่บ้าน / รองประธานชุด
รักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน / คณะกรรมการศูนย์พัฒนา
ครอบครัวในชุมชนตาบลบึงคอไห /ประธานคณะกรรมการกองทุน
แม่ของแผ่นดิน/ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.
บึงคอไห /คณะกรรมการวัดโสภณาราม
4 นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน / คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการ
กองทุนแม่ของแผ่นดิน
5 นายอุดม คุ้มแก้ว ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน / รองประธานกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการ
กองทุนแม่ของแผ่นดิน / คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
6 นายชัยสิงห์ พราหมณ์วงษ์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห /คณะกรรมการ
หมู่บ้าน หมู่ที่ 9 / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
7 นายโชคชัย พลักแตง สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห / รองประธาน
กรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
อบต.บึงคอไห / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน /
คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก / คณะกรรมการชมรม
กลองยาว
8 นายสาราญ ช้างเชื้อวงษ์ ปราชญ์ด้านการทาการเกษตรแบบผสมผสาน / หมอดินในตาบล/
ประธานกลุ่มเกษตรใบเขียว/คณะกรรมกา รหมู่บ้าน /
คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/คณะกรรมการกองทุน
พัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)
9 นางสาวจีรวรรณ ใจกล้า คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
10 นายไพบูลย์ วรางกูร คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
11 นายสาเริง ขวัญอยู่ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
12 นายเรืองฤทธิ์ กลิ่นสุคนธ์ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
13 นางจิราพร คุ้มแก้ว คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน
ประธานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
(SML)
14 นางนิธินันท์ สิมสวัสดิ์ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)
/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /ชุดรักษาความปลอดภัย
หมู่บ้าน
15 นางสาววิภาวดี อุดม คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
(SML)/ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านหมู่ที่9 /
คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ
16 นายเฉลียว สร้อยระย้า ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
17 นายนิพนธ์ สมประสงค์ รองประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
18 นางสุรีย์ทิพย์ ทองศรี คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
19 นายกมล ศิริมานพเลิศ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
20 นางสาวไพจิตร กลางคาร อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุน
หมู่บ้าน
21 นางวราภรณ์ ผมน้อย คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
22 นายวัลลภ โพธิ์แก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
23 นายปรีชาญ ปัญญากดแก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
24 นายสมเขต คุ้มแก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
25 นายไพโรจน์ เชิงหอม รองประธานกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
26 นายอาทิตย์ ช้างเชื้อวงษ์ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)
27 นางพนาวรรณ โพธิ์คง คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
(SML)/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห / คณะกรรมการชมรม
ผู้สูงอายุ
28 นางสาราญ ถิมัง คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน
(SML)/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการ
ชมรมผู้สูงอายุ
29 นางสุมาลี สวงท่าไม้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
30 นายวิริยะ รัตนไพโรจน์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
31 นายสมพร ละมัยจันทร์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการกลุ่มเห็ด
เปลี่ยนชีวิต / คณะกรรมการกลุ่มเกษตรใบเขียว
32 นางสมปอง คุ้มแก้ว อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
33 นางขวัญใจ คุ้มแก้ว อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย
พลเรือน
34 นางอริสา พลักแตง อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย
พลเรือน - คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ
35 นางสาวบัวขาว พุทธบรรจง อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
36 นางสงวน รุ่งวัฒนสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
37 นางสาวปัทมาภรณ์ แสนเขื่อน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการชมรม
ผู้สูงอายุ
38 นายเอื้อม ทองเกษร ปราชญ์ผู้มีความรู้ด้านพิธีกรรมทางศาสนา และพิธีการตั้งศาล
ไวยาวัจกรของวัด / คณะกรรมการกลุ่มเกษตรใบเขียว /
คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ คณะกรรมการ
วัดโสภณาราม
39 นางสอิ้ง ช้างเชื้อวงษ์ หมอภูมิปัญญาพื้นบ้าน
40 นายคุณาวุฒิ แสงสาย รองประธานกลุ่มเห็ดเปลี่ยนชีวิต
2. ระดับกลุ่มทางสังคม/กลุ่มกิจกรรม
3. ระดับหน่วยงาน /แหล่งประโยชน์
๓.๑ หน่วยงาน
1 องค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอ
ไห
บริหารและจัดการ การแก้ไขปัญหาความเป็นอยู่ของประชาชนใน
ชุมชน ในทุกด้าน
2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลบึงคอไห
เป็นสถานพยาบาลประจาตาบล มีการให้บริการสาธารณสุขที่
หลากหลาย ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ
รักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค
3 โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นสถานศึกษา ระดับอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานที่ดูแลเด็กเล็กก่อนวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็ก
มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
อย่างเหมาะสม
5 ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
และมีคุณภาพ
๓.๒ แหล่งประโยชน์
1 วัดโสภณาราม เป็นสถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาพุทธ เมื่อมี
ประเพณีการทาบุญต่างๆ และเป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุก
เทศกาล
2 ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ใช้เป็นที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 และที่เก็บของกองทุนพัฒนา
ศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)
3 ศาลาประชาคมหมู่บ้าน ใช้เป็นสถานที่จัดการประชุมและกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน
4 คลองชลประทานที่ 12 เป็นคลองที่ตัดผ่าน หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตาบล
บึงคอไห ขนาดกว้างประมาณ 40 เมตร ยาวประมาณ 4,870
เมตร เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถ
ระบายน้าเมื่อเกิดอุทกภัย
5 คลองปลายแดน เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้า
เมื่อเกิดอุทกภัย มี 2 แห่ง อยู่ทางทิศตะวันออกของ ม.9 ติดกับ ม.
5 และอยู่ทางทิศตะวันตกของ ม.9ติดกับ ม.12
6 ระบบประปาบาดาลหมู่บ้าน เป็นแหล่งน้าบาดาลสาธารณะ สาหรับให้ประชาชนมีน้าสะอาดใช้
ในการอุปโภคบริโภค
7 ลานอเนกประสงค์(หลังวัดโสภณา
ราม)
ใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
4.ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน(งาน/กิจกรรม)
1 กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้าน
และชุมชน (SML)
จัดซื้อเครื่องฉีดยา ประจาหมู่บ้าน เพื่อใช้ในการเกษตร ไว้สาหรับ
บริการประชาชนในหมู่บ้าน
2 กองทุนหมู่บ้าน ให้สมาชิกยืมเงินประกอบอาชีพ มีสวัสดิการให้สมาชิก เช่น เงินปัน
ผลตามยอดหุ้น ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์
3 กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายา
เสพติด รวมถึงปัญหาอื่นๆ ในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นกองทุน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการให้กู้ยืมและไม่มีดอกเบี้ยให้
ชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเอง
4 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.)
ให้ความรู้ คาแนะนา และส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรก
เกิด ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง เฝ้าระวัง
ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
๕.ระดับตาบล(ระบุหมู่บ้านที่เกี่ยวข้อง)
1 กลุ่มเห็ดเปลี่ยนชีวิต เป็นกลุ่มส่งเสริมอาชีพด้านการเพาะปลูกเห็ด และเป็นศูนย์การ
เรียนรู้
2 สภาวัฒนธรรมตาบลบึงคอไห เป็นองค์กรส่งเสริม และประสานการร่วมมือในการดาเนินงาน
วัฒนธรรมเพื่อนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิป้ญญาท้องถิ่น
ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น
3 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
ตาบลบึงคอไห
ดูแล ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับครอบครัวในชุมชน
4 ศูนย์ยุติธรรมชุมชนตาบลบึงคอ
ไห
เพื่อไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทหรือการจัดการความขัดแย้ง ตาม
หลักยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ช่วยลดความเหลี่ยมล้าใน
กระบวนการยุติธรรม ให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้
อย่างสะดวกและรวดเร็ว
5 ชมรมผู้สูงอายุ เป็นการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุเพื่อทากิจกรรมที่ส่งเสริมด้านสุขภาพ
ร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม
6 ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย
พลเรือน (อปพร.)
เป็นศูนย์ช่วยเหลือ สนับสนุนภาคราชการในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย โดยมิได้หวังผลประโยชน์ตอบแทน เป็นผู้
เสียสละทั้งเวลาและกาลังกาย
7 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
อบต.บึงคอไห
สนับสนุนงบประมาณให้องค์กรหรือกลุ่มประชาชน ในการจัดทา
กิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคหรือการฟื้นฟู
สมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่
๖.ระดับเครือข่าย(ระบุตาบลที่เกี่ยวข้อง)
1 ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน
(ชรบ)
ป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา จับกุม
ผู้กระทาความผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิอาญาฯ ป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยอยู่เวรยามรักษาความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้าน ตรวจ
ตระเวนรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวนหาข่าว เฝ้าระวัง
สถานการณ์สาคัญ รายงานการเกิดเหตุหรือภัยต่างๆ
ส่วนที่ 2 แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศชุมชน
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
1. การบริหารจัดการ สถานที่/วัสดุอุปกรณ์/คณะทางาน
1.1 สถานที่ดาเนินการ
ที่ทาว่าการผู้ใหญ่บ้าน บ้านคลองสิบสอง หมู่ 9 ต.บึงคอไห อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี โดยมีภาคี
เครือข่ายร่วมดาเนินการ คือ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอลาลูกกา สานักงานเกษตรอาเภอลาลูกกา กศน.
อาเภอลาลูกกา รพ.สต.บึงคอไห
1.2 บุคลากรผู้ดูแลรับผิดชอบ
บุคลากรผู้ดูแลรับผิดชอบประจา ได้แก่
1. นายชาตรี น้อยฉวี
2. นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์
3. นายอุดม คุ้มแก้ว
ภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ
หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ต.บึงคอไห
1.3 อุปกรณ์เทคโนโลยีสื่อ
- อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการดาเนินการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้แก่
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต สัญญาณ Wi-Fi เป็นต้น
- สื่อที่ใช้สาหรับการดาเนินการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้แก่ เว็บไซต์ วีดีทัศน์ ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) Facebook แผ่นพับประชาสัมพันธ์ YouTube เป็นต้น
1.4 คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บ้านคลองสิบสองหมู่ 9 ตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี
คณะทำงำนขับเคลื่อนหมู่บ้ำนสำรสนเทศชุมชนเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต
บ้ำนคลองสิบสอง ม.9 ต.บึงคอไห อ.ลำลูกกำ จ.ปทุมธำนี
1. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการพัฒนาด้านอาชีพ
- นางชนก น้อยฉวี
- นางจิราพร คุ้มแก้ว
- นางสาววิภาวดี อุดม
2. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
- นายชาตรี น้อยฉวี
- นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์
- นายอุดม คุ้มแก้ว
3. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการจัดการทุนชุมชน
- นายสาราญ ช้างเชื้อวงศ์
- นางกรรณิกา อยู่สุข
- นางสาราญ ถิมัง
4.คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อจัดการความเสี่ยงของชุมชน
- นายบรรเจิด เวรุวรรณ์
- นางสีมุก มูลเมือง
- นางขวัญใจ คุ้มแก้ว
5.คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการบริหารจัดการ
- นางสุรามาศเชิงหอม
- นางบัวผัน นันทเขต
- นางสาวพิมประไพ สิทธิเวช
2. การดาเนินงาน การวิเคราะห์ข้อมูล (CIA)
2.1. การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน
คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯและประชาชนของ หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ต.บึง
คอไห จานวน 35 คน ได้รับการฝึกอบรมการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อพัฒนาสารสนเทศชุมชน โดยใช้โปรแกรม
Community Information Radar Analysis (CIA Program) เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน วิเคราะห์
สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต และการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตได้ โดยสามารถสรุปผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา
คุณภาพชีวิต (Radar Diagram) และการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) ได้ดังนี้
วิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย
1. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีน้าเงิน (ข้อมูล จปฐ.)
อันดับสภาพปัญหาทั้ง 5 ด้านเท่ากัน (จุดมีค่า = 3)
2. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีแดง (ข้อมูล กชช.2ค)
อันดับที่ 1 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71)
อันดับที่ 3 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88)
อันดับที่ 4 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89)
อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13)
3.การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีเขียว (ข้อมูลอื่นๆ)
อันดับที่ 1 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71)
อันดับที่ 3 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89)
อันดับที่ 4 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13)
อันดับที่ 5 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44)
วิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย
อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความ (จุดมีค่า = 2.19)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24)
อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34)
อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44)
อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46)
ภาพแสดงการบันทึกข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนใน CIA Program
(ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช.2ค และข้อมูลอื่นๆ)
ภาพแสดงผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram)
ภาพแสดงผลการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis)
ภาพกิจกรรมการฝึกอบรมการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อพัฒนาสารสนเทศชุมชน
ด้วยโปรแกรม Community Information Radar Analysis (CIA Program)
2.2 การนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในระดับหมู่บ้าน
จากการวิเคราะห์ข้อมูลของ ม.9 บ้านคลองสิบสอง โดยใช้โปรแกรม CIA และการจัดทา
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้นแก่คนในหมู่บ้าน ในวันที่ 6 มีนาคม 2561 ซึ่งเป็นวันที่ดาเนินการอบรม ให้ความรู้
เรื่องการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนในชุมชน โดยหลังจากเวทีเสนอผลเบื้องต้น
ดังกล่าว ทางคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาข้อมูลปรับปรุงให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และนา
ผลการวิเคราะห์ที่ได้ดังกล่าวเสนอต่อคนในชุมชนในเวทีการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน รวมทั้งเวทีประชาคม
ในเรื่องต่างๆ ตามโอกาสที่เหมาะสม
3. การจัดทาสารสนเทศภูมศาสตร์ (GIS)
3.1 การวาดขอบเขตแผนที่หมู่บ้าน
คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้ดาเนินการวาดขอบเขตของบ้านคลองสิบสอง หมู่
9 ด้วย Google map เพื่อแสดงของเขตของหมู่บ้าน โดยได้ดาเนินการวาดขอบเขตแสดงตาบลที่มีอยู่ทั้งหมดของ
อาเภอลาลูกกา และลงรายละเอียดแสดงขอบเขตของหมู่บ้านทั้ง 12 หมู่ เพื่อแสดงให้เห็นอาณาเขตการติดต่อและ
ขนาดพื้นที่ของหมู่ 9 กับ หมู่อื่นๆที่มีทั้ง 11 หมู่ของตาบลบึงคอไห
ภาพแสดงการวาดขอบเขตแผนที่ หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง
3.2 การปักหมุดกิจกรรมหรือสถานที่สาคัญพร้อมรายละเอียด
คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯได้ดาเนินการปักหมุดกิจกรรมและสถานที่สาคัญๆ
ของหมู่บ้าน เช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP โรงเรียน วัด ที่ทาการกองทุนหมู่บ้าน เป็นต้น รวมทั้งกิจกรรมการ
ดาเนินงานภายในหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมอาสาสมัครสาธารณะสุขประจาหมู่บ้าน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
เป็นต้น โดยในแต่ละสถานที่และทุกกิจกรรมจะแสดงรายละเอียดข้องข้อมูลรวมทั้งรูปประกอบที่เกี่ยวข้อง
ภาพแสดงการปักหมุดกิจกรรมหรือสถานที่สาคัญพร้อมรายละเอียด
3.3 การนาเสนอสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อที่ประชุม
ให้เห็นถึงคุณภาพชีวิตที่สาคัญของคนในชุมชน
จากการวิเคราะห์ข้อมูลของ ม.9 บ้านคลองสิบสอง โดยใช้โปรแกรม CIA และการจัดทา
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้นแก่คนในหมู่บ้าน ในวันที่ 6 มีนาคม 2561 ซึ่งเป็นวันที่ดาเนินการอบรม ให้ความรู้
เรื่องการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนในชุมชน โดยหลังจากเวทีเสนอผลเบื้องต้น
ดังกล่าว ทางคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาข้อมูลปรับปรุงให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และนา
ผลการวิเคราะห์ที่ได้ดังกล่าวเสนอต่อคนในชุมชนในเวทีการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน รวมทั้งเวทีประชาคม
ในเรื่องต่างๆ ตามโอกาสที่เหมาะสม
4. การมีส่วนร่วม กิจกรรม/โครงการ มีภาคีสนับ/งบประมาณ
4.1 การลงมติเลือกกิจกรรมและจัดทาแผน
- จากการประชุมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อนามาพัฒนาสารสนเทศชุมชนให้สามารถพัฒนา
คุณภาพชีวิตทั้ง 5 ด้าน หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ในเวทีประชาคม
ของหมู่บ้าน โดยการใช้เครื่องมือ Community Information Radar Analysis (CIA Program) มีผลการจัดลาดับ
ปัญหาจาการวิเคราะห์ ได้ดังนี้
วิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย ได้ดังนี้
1. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีน้าเงิน (ข้อมูล จปฐ.)
อันดับสภาพปัญหาทั้ง 5 ด้านเท่ากัน (จุดมีค่า = 3)
2. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีแดง (ข้อมูล กชช.2ค)
อันดับที่ 1 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71)
อันดับที่ 3 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88)
อันดับที่ 4 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89)
อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13)
3.การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีเขียว (ข้อมูลอื่นๆ)
อันดับที่ 1 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71)
อันดับที่ 3 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89)
อันดับที่ 4 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13)
อันดับที่ 5 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44)
วิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย ได้ดังนี้
อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความ (จุดมีค่า = 2.19)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24)
อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34)
อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44)
อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46)
โดยมติจากที่ประชุมลงความเห็นให้นาผลจากการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar
Analysis) มาใช้เป็นประเด็นของการพัฒนาสารสนเทศของหมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง โดยมีอันดับปัญหาที่
ต้องเร่งดาเนินการแก้ไขตามลาดับ ดังนี้
อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 2.19)
อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24)
อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34)
อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44)
อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46)
ภาพแสดงการบันทึกข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนใน CIA Program
(ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช.2ค และข้อมูลอื่นๆ)
ภาพแสดงผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram)
ภาพแสดงผลการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis)
- จากผลการจัดลาดับปัญหาจาการวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน อันดับที่ 1 คือด้านการ
แก้ปัญหาความความยากจน (จุดมีค่า = 2.19) ซึ่งมาประเด็นที่ต้องพิจารณาเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ดังกล่าว คือ "การอ่าน เขียน ภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้, “การมีอาชีพและรายได้” และ “ผู้สูงอายุ มีอาชีพ
และมีรายได้” โดยที่ประชุมได้มีมติเลือกกิจกรรมที่สามารถแก้ไขปัญหาความยากจน ดังนี้
1. กิจกรรมการส่งเสริมอาชีพและรายได้แก่คนในชุมชน
- การพัฒนาอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีด
- การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการทากระเป๋าหนังแฮนด์เมด
- การพัฒนาอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก
2. กิจกรรมจัดสรรที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย มั่นคงและถาวร
3. กิจกรรมบริหารจัดการน้าเพื่อการเกษตร
- หลังจากเวทีการประชุมกาหนดกิจกรรมในการพัฒนาสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาด้านความ
ยากจน ทางคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ และประชาชนได้ร่วมกันกาหนดโครงการโดยจัดลาดับความสาคัญก่อนหลัง
ได้ดังนี้
1. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อสร้างรายได้แก่คนในชุมชน
2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด
3. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก
4. โครงการบริหารจัดการการแบ่งที่อยู่อาศัยวัดโสภณาราม
5. โครงการบริหารจัดการน้าเพื่อการเกษตร
ภาพกิจกรรมการร่วมกันทาแผน/โครงการ
หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง
ต.บึงคอไห อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี
4.2 การแสวงหางบประมาณและภาคีเพื่อดาเนินการ
จากเวทีการประชาคมของหมู่บ้าน พบว่า มีโครงการจานวน 5 โครงการ เพื่อนามาแก้ปัญหาด้านความ
ยากจนของคนในหมู่บ้าน โดยทางคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ได้ดาเนินการจัดทาแผนบูรณาการให้สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยมีภาคีให้การสนับสนุนและมีงบประมาณในการดาเนินการ ดังนี้
5. การดาเนินกิจกรรม/โครงการเชิงบูรณการ (ดาเนินการแล้วประสบความสาเร็จ)
5.1 คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ สามารถดาเนินโครงการ/
กิจกรรมจากการจัดทาแผนบูรณาการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับหมู่บ้าน
ได้จริงตามแผน
คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ สามารถดาเนินการขับเคลื่อนโครงการจากแผนบูรณา
การให้เกิดขึ้นได้จริงจานวน 5 โครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อสร้างรายได้แก่คนในชุมชน
เป็นโครงการที่เกิดจากการรวมกลุ่มของคนในหมู่บ้าน โดยมีสมาชิกทั้งสิ้นจานวน 30
คน มีนายชาตรี น้อยฉวี ผู้ใหญ่บ้าน ม.9 บ้านคลองสิบสอง เป็นประธาน โดยจากผลการดาเนินงาน สามารถสร้าง
งาน สร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน โดยเฉลี่ยหมู่บ้านมีรายได้จากการดาเนินการของกลุ่มประมาณ
90,000 บาท/เดือน มีช่องทางการตลาดทั้งสิ้น 3 ช่องทาง คือ 1.การส่งออกต่างประเทศ 2.พ่อค้าคนกลาง 3.
การแปรรูปสินค้าจากจิ้งหรีด
ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีดอย่างยั่งยืน
(กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงจิ้งหรีดบ้านคลองสิบสอง)
2.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด
โครงการได้รับการสนับสนุนในการดาเนินงานจากโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชมตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง กรมการพัฒนาชุมชน และโครงการพัฒนาอาชีพบ้านคลองสิบสอง ของ กศน.อาเภอลาลูกกา โดย
มีสมาชิกเป็นแม่บ้านในหมู่ 9 คลองสิบสอง จานวน 35 คน
ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด
3.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก
โครงการได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการดาเนินจาก กศน.อาเภอลาลูกกา โดยมีการฝึกอบบรม
ให้แก่ผู้ที่สนใจในหมู่บ้าน จานวน25 คน ซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านของบ้านสิบสอง ซึ่งหลังจากได้มีการอบรม พัฒนาจาก
ทาง กศน. สมาชิกของกลุ่มสามารถความรู้นาไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างงาน สร้างรายได้
ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก
6. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
6.1 แผ่นพับประชาสัมพันธ์
6.2 Facebook: หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านคลอง 12
6.3 Website:
https://sites.google.com/site/m9khlongsipsong/
6.4 วีดีทัศน์
YouTube Channel: khlongsipsong
6.5 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
ส่วนที่ 3 ภาคผนวก

More Related Content

What's hot

กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59riders
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pageภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนPrasit Chanarat
 
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัยPuPea-_-zaza
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงางานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงาYumisnow Manoratch
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้Kannicha Ponjidasin
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพัน พัน
 

What's hot (18)

กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pageภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
 
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
Ec ม1
Ec ม1Ec ม1
Ec ม1
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัย
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงางานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
งานนำเสนอประสบการณ์การจัดการเรียนรู้การสืบสานภูมิปัญญาเพื่อสุขภาวะข้าวแดกงา
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 

Similar to สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง

โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔weskaew yodmongkol
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขNontaporn Pilawut
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 

Similar to สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง (20)

Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
1234
12341234
1234
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 

สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง

  • 1. หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดย สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี
  • 2. ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของตาบล (สภาพทั่วไป สภาพสังคม สภาพทางเศรษฐกิจ) 1. สภาพทั่วไป 1.1 ประวัติความเป็นมา หมู่บ้านคลองสิบสอง หมู่ 9 เป็นหมู่บ้านที่ 9 ของตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัด ปทุมธานีมีคลองสิบสองสายกลางไหลผ่านกลางหมู่บ้าน สภาพของหมู่บ้านแต่เดิมเป็นป่า ทุ่งหญ้าขึ้นปกคลุมรวมทั้ง ต้นไม้เล็ก ต้นไม้ใหญ่ กระจายอยู่ทั่วไป เริ่มก่อตั้งประมาณ 100 ปี เป็นหมู่บ้านที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ประชาชนตั้ง บ้านเรือนอยู่สองฝั่งของวัดโสภณาราม คนกลุ่มแรกที่เข้ามาอยู่ในหมู่บ้าน ได้แก่ ตระกูลคุ้มแก้ว ตระกูลพวงผล ตระกูลมั่นสุข ซึ่งเข้ามาจับจองที่ดินทากินตั้งแต่สมัยรัชการที่ 5 ประมาณ พ.ศ.2545 ปัจจุบันอยู่ในเขตปกครอง ขององค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห โดยมี นายชาตรี น้อยฉวี เป็นผู้ใหญ่บ้าน 1.2 สภาพภูมิศาสตร์ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเกษตร มีลาคลองไหลผ่านกลางหมู่บ้าน มีคลองส่งน้าคลอง ปลายแดนส่งเข้าถึงพื้นที่การเกษตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 10 ตาบลบึงคอไห ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 ตาบลบึงคอไห ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงคอไห ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 11,12 ตาบลบึงคอไห
  • 3. 2. สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม 2.1 การศึกษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระเมตตาโปรดเกล้าฯ ให้ โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ โครงการพระราชดาริ “โครงการด้วยรักและห่วงใย” เพื่อจัด การศึกษาให้เด็ก เยาวชน รวมถึงแหล่งเรียนรู้ที่สร้างวินัย การออม การสืบสานอนุรักษ์ภูมิปัญญา ประเพณี วัฒนธรรม และมีการดาเนินการตามแนวทางเกษตรพอเพียง 2.2 ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย คนในหมู่บ้านจะดาเนินชีวิตโดยนาเอาหลักการทางศาสนามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ นามาปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน ทาให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข มีการช่วยเหลือแบ่งปันซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริม อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของหมู่บ้าน ศาสนสถานต่างๆที่สาคัญ วัดโสภณาราม 2.3 วัฒนธรรม สภาวัฒนธรรมตาบลบึงคอไหเกิดจากประชาชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการดาเนินงานวัฒนธรรม ท้องถิ่น ของตนเองอย่างเต็มที่โดยกลุ่มเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน (สภาวัฒนธรรม) จะเป็นผู้กาหนดแนวทางในการ ดาเนินงานวัฒนธรรมชุมชน เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น สร้างความสามัคคีในชุมชน ให้ ประชาชนได้มีวิถีชีวิตในการอยู่ร่วมกัน 2 ศาสนา โดยมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น ศาสนาอิสลาม โครงการละศีล อดในเดือนรอมฎอน ของทุกปี เข้าค่ายอบรมจริยธรรมคุณธรรมภาคฤดูร้อน สนับสนุนงานมัสยิด และทางด้าน ศาสนาพุทธ ประเพณีสงกรานต์ วันผู้สูงอายุ และการอนุรักษ์อาหารพื้นบ้านให้คงอยู่ เช่น แกงบอน แกงขี้เหล็ก แกงเลียง กะปิคั่ว เป็นต้น 3. สภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 การประกอบอาชีพ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ อาชีพรับจ้าง รองลงมาคือ การทาการเกษตร และ อาชีพค้าขาย และอาชีพเสริมหรืออาชีพรอง ได้แก่ อาชีพค้าขาย โดยหากจาแนกรายละเอียดเป็นครัวเรือน สามารถสรุปได้ดังนี้ 3.1.1 อาชีพหลักของครัวเรือน 1. อาชีพทาการเกษตร (ทานา ทาสวน เลี้ยงสัตว์) จานวน 38 ครัวเรือน 2. อาชีพรับจ้าง จานวน 80 ครัวเรือน 3. อาชีพค้าขาย จานวน 10 ครัวเรือน 3.1.1 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง 1. อาชีพค้าขาย จานวน 10 ครัวเรือน 3.2 ผู้ว่างาน มีจานวนทั้งสิ้น 63 คน โดยหากแบ่งตามช่วงอายุสามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ กลุ่มอายุ 13-18 ปี จานวน 2 คน กลุ่มอายุ 19-24 ปี จานวน 30 คน กลุ่มอายุ 25 ปีขึ้นไป จานวน 31 คน 3.3 หมู่บ้านมี รายได้ 24,513.57 บาท/ปี
  • 4. รายจ่าย 49,471.68 บาท/ปี หนี้สิน - บาท/ปี 3.4 กองทุนชุมชนในหมู่บ้าน มีจานวน 3 กองทุน ดังนี้ 1. กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน 2. กองทุนหมู่บ้าน 3. กองทุนปลูกพืชผักสวนครัว 4. แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ 4.1 หน่วยงาน 1 องค์การบริหารส่วนตาบล บึงคอไห บริหารและจัดการ การแก้ไขปัญหาความเป็นอยู่ของประชาชนใน ชุมชน ในทุกด้าน 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบึงคอไห เป็นสถานพยาบาลประจาตาบล มีการให้บริการสาธารณสุขที่ หลากหลาย ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ รักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค 3 โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นสถานศึกษา ระดับอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียน วัดโสภณาราม เป็นสถานที่ดูแลเด็กเล็กก่อนวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กมี พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่าง เหมาะสม 5 ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ 4.2 แหล่งประโยชน์ 1 วัดโสภณาราม เป็นสถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาพุทธ เมื่อมีประเพณี
  • 5. การทาบุญต่างๆ และเป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุกเทศกาล 2 ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ใช้เป็นที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 และที่เก็บของกองทุนพัฒนา ศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) 3 ศาลาประชาคมหมู่บ้าน ใช้เป็นสถานที่จัดการประชุมและกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน 4 คลองชลประทานที่ 12 เป็นคลองที่ตัดผ่าน หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตาบลบึง คอไห ขนาดกว้างประมาณ 40 เมตร ยาวประมาณ 4,870 เมตร เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้าเมื่อ เกิดอุทกภัย 5 คลองปลายแดน เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้าเมื่อ เกิดอุทกภัย มี 2 แห่ง อยู่ทางทิศตะวันออกของ ม.9 ติดกับ ม.5 และ อยู่ทางทิศตะวันตกของ ม.9ติดกับ ม.12 6 ระบบประปาบาดาลหมู่บ้าน เป็นแหล่งน้าบาดาลสาธารณะ ให้ประชาชนมีน้าสะอาดใช้ในการ อุปโภคบริโภค 7 ลานอเนกประสงค์ (หลังวัดโสภณาราม) ใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 4.3 งาน/กิจกรรม 1 กองทุนพัฒนาศักยภา พ หมู่บ้านและชุมชน (SML) จัดซื้อเครื่องฉีดยา ประจาหมู่บ้าน เพื่อใช้ในการเกษตร ไว้สาหรับ บริการประชาชนในหมู่บ้าน 2 กองทุนหมู่บ้าน ให้สมาชิกยืมเงินประกอบอาชีพ มีสวัสดิการให้สมาชิก เช่น เงินปันผล ตามยอดหุ้น ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ 3 กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติด รวมถึงปัญหาอื่นๆ ในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นกองทุนช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน โดยไม่มีการให้กู้ยืมและไม่มีดอกเบี้ยให้ชุมชนรู้จักพึ่งพา ตนเอง 4 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้ความรู้ คาแนะนา และส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
  • 7. จากข้อมูลตาบล ทาให้ทราบว่า บ้านคลองสิบสอง หมู่ที่ 9 มีจานวนประชากรทั้งหมด 1,090 คน ชาย 529 คน หญิง 561 คน จานวน 969 ครัวเรือน และประชากรมีจานวนมากที่สุดอยู่ในช่วงวัย 50-54 ปี มี จานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 11.70 รองลงมาคือวัย 55-59 ปี มีจานวน 49 คิดเป็นร้อยละ 9.55 และน้อย ที่สุดคือ วัย90-94 จานวน 1 คิดเป็นร้อยละ 0.19 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป รองลงมา คือ พนักงานเอกชน บริษัท และ ค้าขาย มีนายชาตรี น้อยฉวี เป็นผู้ใหญ่บ้าน มีนางวรายุภัสร์ ละมัยจันทร์ ปลัด อบต. บึงคอไห มีนายชัยสิงห์ พราหมณ์วงษ์ และ นายโชคชัย พลักแตง เป็น สมาชิก อบต.หมู่ที่ 9 มีทุนทางสังคมจาแนกได้ดังนี้ 1.ทุนบุคคล จานวน 40 คน 2. หน่วยงาน จานวน 5 แห่ง 3.แหล่ง ประโยชน์ จานวน 7 แหล่ง 4.กลุ่มระดับหมู่บ้าน จานวน 4 กลุ่ม 5. กลุ่มระดับตาบล จานวน 7 กลุ่ม 6. กลุ่มระดับเครือข่าย จานวน 1 กลุ่ม โดยมีรายละเอียดตามตาราง
  • 8. ลาดับ ทุนทางสังคม ความเชี่ยวชาญกิจกรรมเด่น งานเด่นหรือเรื่องเด่น 1. ระดับบุคคลและครอบครัว 1 พระครูอาทร ธัญญานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดโสภณาราม / เจ้าคณะตาบลลาไทร /คณะกรรมการ โรงเรียนวัดโสภณาราม / เป็นผู้มอบทุนการศึกษาให้เด็กยากจน และเยาวชน 2 นางวรายุภัสร์ ละมัยจันทร์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห / ประธานกลุ่มเห็ดเปลี่ยน ชีวิต / คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห / คณะกรรมการชมรมกลองยาว / ที่ปรึกษาศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชนตาบลบึงคอไห /ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์อาสาสมัครป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือน 3 นายชาตรี น้อยฉวี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 / ประธานกรรมการหมู่บ้าน / รองประธานชุด รักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน / คณะกรรมการศูนย์พัฒนา ครอบครัวในชุมชนตาบลบึงคอไห /ประธานคณะกรรมการกองทุน แม่ของแผ่นดิน/ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. บึงคอไห /คณะกรรมการวัดโสภณาราม 4 นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน / คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน 5 นายอุดม คุ้มแก้ว ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน / รองประธานกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน / คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 6 นายชัยสิงห์ พราหมณ์วงษ์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห /คณะกรรมการ หมู่บ้าน หมู่ที่ 9 / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน 7 นายโชคชัย พลักแตง สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอไห / รองประธาน กรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน / คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก / คณะกรรมการชมรม กลองยาว 8 นายสาราญ ช้างเชื้อวงษ์ ปราชญ์ด้านการทาการเกษตรแบบผสมผสาน / หมอดินในตาบล/ ประธานกลุ่มเกษตรใบเขียว/คณะกรรมกา รหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/คณะกรรมการกองทุน พัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) 9 นางสาวจีรวรรณ ใจกล้า คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน 10 นายไพบูลย์ วรางกูร คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน 11 นายสาเริง ขวัญอยู่ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน 12 นายเรืองฤทธิ์ กลิ่นสุคนธ์ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน 13 นางจิราพร คุ้มแก้ว คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประธานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) 14 นางนิธินันท์ สิมสวัสดิ์ คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/
  • 9. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) /อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /ชุดรักษาความปลอดภัย หมู่บ้าน 15 นางสาววิภาวดี อุดม คณะกรรมการหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน/ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)/ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านหมู่ที่9 / คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 16 นายเฉลียว สร้อยระย้า ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 17 นายนิพนธ์ สมประสงค์ รองประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 18 นางสุรีย์ทิพย์ ทองศรี คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 19 นายกมล ศิริมานพเลิศ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 20 นางสาวไพจิตร กลางคาร อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน 21 นางวราภรณ์ ผมน้อย คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 22 นายวัลลภ โพธิ์แก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 23 นายปรีชาญ ปัญญากดแก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 24 นายสมเขต คุ้มแก้ว คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 25 นายไพโรจน์ เชิงหอม รองประธานกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน 26 นายอาทิตย์ ช้างเชื้อวงษ์ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) 27 นางพนาวรรณ โพธิ์คง คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห / คณะกรรมการชมรม ผู้สูงอายุ 28 นางสาราญ ถิมัง คณะกรรมการกองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML)/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการ ชมรมผู้สูงอายุ 29 นางสุมาลี สวงท่าไม้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 30 นายวิริยะ รัตนไพโรจน์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 31 นายสมพร ละมัยจันทร์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการกลุ่มเห็ด เปลี่ยนชีวิต / คณะกรรมการกลุ่มเกษตรใบเขียว 32 นางสมปอง คุ้มแก้ว อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 33 นางขวัญใจ คุ้มแก้ว อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน 34 นางอริสา พลักแตง อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน /อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน - คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 35 นางสาวบัวขาว พุทธบรรจง อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 36 นางสงวน รุ่งวัฒนสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 37 นางสาวปัทมาภรณ์ แสนเขื่อน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน / คณะกรรมการชมรม ผู้สูงอายุ
  • 10. 38 นายเอื้อม ทองเกษร ปราชญ์ผู้มีความรู้ด้านพิธีกรรมทางศาสนา และพิธีการตั้งศาล ไวยาวัจกรของวัด / คณะกรรมการกลุ่มเกษตรใบเขียว / คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ คณะกรรมการ วัดโสภณาราม 39 นางสอิ้ง ช้างเชื้อวงษ์ หมอภูมิปัญญาพื้นบ้าน 40 นายคุณาวุฒิ แสงสาย รองประธานกลุ่มเห็ดเปลี่ยนชีวิต 2. ระดับกลุ่มทางสังคม/กลุ่มกิจกรรม 3. ระดับหน่วยงาน /แหล่งประโยชน์ ๓.๑ หน่วยงาน 1 องค์การบริหารส่วนตาบลบึงคอ ไห บริหารและจัดการ การแก้ไขปัญหาความเป็นอยู่ของประชาชนใน ชุมชน ในทุกด้าน 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบึงคอไห เป็นสถานพยาบาลประจาตาบล มีการให้บริการสาธารณสุขที่ หลากหลาย ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ รักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค 3 โรงเรียนวัดโสภณาราม เป็นสถานศึกษา ระดับอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานที่ดูแลเด็กเล็กก่อนวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็ก มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา อย่างเหมาะสม 5 ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ๓.๒ แหล่งประโยชน์ 1 วัดโสภณาราม เป็นสถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาพุทธ เมื่อมี ประเพณีการทาบุญต่างๆ และเป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุก เทศกาล 2 ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ใช้เป็นที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 และที่เก็บของกองทุนพัฒนา ศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) 3 ศาลาประชาคมหมู่บ้าน ใช้เป็นสถานที่จัดการประชุมและกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน 4 คลองชลประทานที่ 12 เป็นคลองที่ตัดผ่าน หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตาบล บึงคอไห ขนาดกว้างประมาณ 40 เมตร ยาวประมาณ 4,870 เมตร เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถ ระบายน้าเมื่อเกิดอุทกภัย 5 คลองปลายแดน เป็นคลองส่งน้าให้กับพื้นที่ที่ทาการเกษตร และสามารถระบายน้า เมื่อเกิดอุทกภัย มี 2 แห่ง อยู่ทางทิศตะวันออกของ ม.9 ติดกับ ม. 5 และอยู่ทางทิศตะวันตกของ ม.9ติดกับ ม.12 6 ระบบประปาบาดาลหมู่บ้าน เป็นแหล่งน้าบาดาลสาธารณะ สาหรับให้ประชาชนมีน้าสะอาดใช้ ในการอุปโภคบริโภค 7 ลานอเนกประสงค์(หลังวัดโสภณา ราม) ใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
  • 11. 4.ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน(งาน/กิจกรรม) 1 กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้าน และชุมชน (SML) จัดซื้อเครื่องฉีดยา ประจาหมู่บ้าน เพื่อใช้ในการเกษตร ไว้สาหรับ บริการประชาชนในหมู่บ้าน 2 กองทุนหมู่บ้าน ให้สมาชิกยืมเงินประกอบอาชีพ มีสวัสดิการให้สมาชิก เช่น เงินปัน ผลตามยอดหุ้น ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ 3 กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายา เสพติด รวมถึงปัญหาอื่นๆ ในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นกองทุน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการให้กู้ยืมและไม่มีดอกเบี้ยให้ ชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเอง 4 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน (อสม.) ให้ความรู้ คาแนะนา และส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรก เกิด ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ๕.ระดับตาบล(ระบุหมู่บ้านที่เกี่ยวข้อง) 1 กลุ่มเห็ดเปลี่ยนชีวิต เป็นกลุ่มส่งเสริมอาชีพด้านการเพาะปลูกเห็ด และเป็นศูนย์การ เรียนรู้ 2 สภาวัฒนธรรมตาบลบึงคอไห เป็นองค์กรส่งเสริม และประสานการร่วมมือในการดาเนินงาน วัฒนธรรมเพื่อนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิป้ญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น 3 ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ตาบลบึงคอไห ดูแล ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับครอบครัวในชุมชน 4 ศูนย์ยุติธรรมชุมชนตาบลบึงคอ ไห เพื่อไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทหรือการจัดการความขัดแย้ง ตาม หลักยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ช่วยลดความเหลี่ยมล้าใน กระบวนการยุติธรรม ให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว 5 ชมรมผู้สูงอายุ เป็นการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุเพื่อทากิจกรรมที่ส่งเสริมด้านสุขภาพ ร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม 6 ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน (อปพร.) เป็นศูนย์ช่วยเหลือ สนับสนุนภาคราชการในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย โดยมิได้หวังผลประโยชน์ตอบแทน เป็นผู้ เสียสละทั้งเวลาและกาลังกาย 7 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บึงคอไห สนับสนุนงบประมาณให้องค์กรหรือกลุ่มประชาชน ในการจัดทา กิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคหรือการฟื้นฟู สมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ๖.ระดับเครือข่าย(ระบุตาบลที่เกี่ยวข้อง) 1 ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ) ป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา จับกุม ผู้กระทาความผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิอาญาฯ ป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยอยู่เวรยามรักษาความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้าน ตรวจ ตระเวนรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวนหาข่าว เฝ้าระวัง สถานการณ์สาคัญ รายงานการเกิดเหตุหรือภัยต่างๆ
  • 13. 1. การบริหารจัดการ สถานที่/วัสดุอุปกรณ์/คณะทางาน 1.1 สถานที่ดาเนินการ ที่ทาว่าการผู้ใหญ่บ้าน บ้านคลองสิบสอง หมู่ 9 ต.บึงคอไห อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี โดยมีภาคี เครือข่ายร่วมดาเนินการ คือ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอลาลูกกา สานักงานเกษตรอาเภอลาลูกกา กศน. อาเภอลาลูกกา รพ.สต.บึงคอไห 1.2 บุคลากรผู้ดูแลรับผิดชอบ บุคลากรผู้ดูแลรับผิดชอบประจา ได้แก่ 1. นายชาตรี น้อยฉวี
  • 14. 2. นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์ 3. นายอุดม คุ้มแก้ว ภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ต.บึงคอไห
  • 15.
  • 16. 1.3 อุปกรณ์เทคโนโลยีสื่อ - อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการดาเนินการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต สัญญาณ Wi-Fi เป็นต้น - สื่อที่ใช้สาหรับการดาเนินการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้แก่ เว็บไซต์ วีดีทัศน์ ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) Facebook แผ่นพับประชาสัมพันธ์ YouTube เป็นต้น
  • 17.
  • 18. 1.4 คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านคลองสิบสองหมู่ 9 ตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี คณะทำงำนขับเคลื่อนหมู่บ้ำนสำรสนเทศชุมชนเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต บ้ำนคลองสิบสอง ม.9 ต.บึงคอไห อ.ลำลูกกำ จ.ปทุมธำนี 1. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการพัฒนาด้านอาชีพ - นางชนก น้อยฉวี - นางจิราพร คุ้มแก้ว - นางสาววิภาวดี อุดม 2. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน - นายชาตรี น้อยฉวี - นางศรีสมร วุฒิสมบูรณ์ - นายอุดม คุ้มแก้ว 3. คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการจัดการทุนชุมชน - นายสาราญ ช้างเชื้อวงศ์ - นางกรรณิกา อยู่สุข - นางสาราญ ถิมัง 4.คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อจัดการความเสี่ยงของชุมชน - นายบรรเจิด เวรุวรรณ์ - นางสีมุก มูลเมือง - นางขวัญใจ คุ้มแก้ว 5.คณะกรรมการสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการบริหารจัดการ - นางสุรามาศเชิงหอม - นางบัวผัน นันทเขต - นางสาวพิมประไพ สิทธิเวช
  • 19. 2. การดาเนินงาน การวิเคราะห์ข้อมูล (CIA) 2.1. การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯและประชาชนของ หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ต.บึง คอไห จานวน 35 คน ได้รับการฝึกอบรมการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อพัฒนาสารสนเทศชุมชน โดยใช้โปรแกรม Community Information Radar Analysis (CIA Program) เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน วิเคราะห์ สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต และการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตได้ โดยสามารถสรุปผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา คุณภาพชีวิต (Radar Diagram) และการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) ได้ดังนี้ วิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย 1. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีน้าเงิน (ข้อมูล จปฐ.) อันดับสภาพปัญหาทั้ง 5 ด้านเท่ากัน (จุดมีค่า = 3) 2. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีแดง (ข้อมูล กชช.2ค) อันดับที่ 1 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71) อันดับที่ 3 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88) อันดับที่ 4 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89) อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13) 3.การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีเขียว (ข้อมูลอื่นๆ) อันดับที่ 1 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71) อันดับที่ 3 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89) อันดับที่ 4 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13) อันดับที่ 5 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44) วิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความ (จุดมีค่า = 2.19) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24) อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34) อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44) อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46)
  • 20. ภาพแสดงการบันทึกข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนใน CIA Program (ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช.2ค และข้อมูลอื่นๆ) ภาพแสดงผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram)
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. 2.2 การนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในระดับหมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ข้อมูลของ ม.9 บ้านคลองสิบสอง โดยใช้โปรแกรม CIA และการจัดทา สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาผลการ วิเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้นแก่คนในหมู่บ้าน ในวันที่ 6 มีนาคม 2561 ซึ่งเป็นวันที่ดาเนินการอบรม ให้ความรู้ เรื่องการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนในชุมชน โดยหลังจากเวทีเสนอผลเบื้องต้น ดังกล่าว ทางคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาข้อมูลปรับปรุงให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และนา ผลการวิเคราะห์ที่ได้ดังกล่าวเสนอต่อคนในชุมชนในเวทีการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน รวมทั้งเวทีประชาคม ในเรื่องต่างๆ ตามโอกาสที่เหมาะสม
  • 26.
  • 27.
  • 28. 3. การจัดทาสารสนเทศภูมศาสตร์ (GIS) 3.1 การวาดขอบเขตแผนที่หมู่บ้าน คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้ดาเนินการวาดขอบเขตของบ้านคลองสิบสอง หมู่ 9 ด้วย Google map เพื่อแสดงของเขตของหมู่บ้าน โดยได้ดาเนินการวาดขอบเขตแสดงตาบลที่มีอยู่ทั้งหมดของ อาเภอลาลูกกา และลงรายละเอียดแสดงขอบเขตของหมู่บ้านทั้ง 12 หมู่ เพื่อแสดงให้เห็นอาณาเขตการติดต่อและ ขนาดพื้นที่ของหมู่ 9 กับ หมู่อื่นๆที่มีทั้ง 11 หมู่ของตาบลบึงคอไห ภาพแสดงการวาดขอบเขตแผนที่ หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง
  • 29.
  • 30. 3.2 การปักหมุดกิจกรรมหรือสถานที่สาคัญพร้อมรายละเอียด คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯได้ดาเนินการปักหมุดกิจกรรมและสถานที่สาคัญๆ ของหมู่บ้าน เช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP โรงเรียน วัด ที่ทาการกองทุนหมู่บ้าน เป็นต้น รวมทั้งกิจกรรมการ ดาเนินงานภายในหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมอาสาสมัครสาธารณะสุขประจาหมู่บ้าน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เป็นต้น โดยในแต่ละสถานที่และทุกกิจกรรมจะแสดงรายละเอียดข้องข้อมูลรวมทั้งรูปประกอบที่เกี่ยวข้อง ภาพแสดงการปักหมุดกิจกรรมหรือสถานที่สาคัญพร้อมรายละเอียด
  • 31.
  • 32. 3.3 การนาเสนอสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อที่ประชุม ให้เห็นถึงคุณภาพชีวิตที่สาคัญของคนในชุมชน จากการวิเคราะห์ข้อมูลของ ม.9 บ้านคลองสิบสอง โดยใช้โปรแกรม CIA และการจัดทา สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาผลการ วิเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้นแก่คนในหมู่บ้าน ในวันที่ 6 มีนาคม 2561 ซึ่งเป็นวันที่ดาเนินการอบรม ให้ความรู้ เรื่องการจัดทาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนในชุมชน โดยหลังจากเวทีเสนอผลเบื้องต้น ดังกล่าว ทางคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ได้นาข้อมูลปรับปรุงให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และนา ผลการวิเคราะห์ที่ได้ดังกล่าวเสนอต่อคนในชุมชนในเวทีการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน รวมทั้งเวทีประชาคม ในเรื่องต่างๆ ตามโอกาสที่เหมาะสม
  • 33.
  • 34. 4. การมีส่วนร่วม กิจกรรม/โครงการ มีภาคีสนับ/งบประมาณ 4.1 การลงมติเลือกกิจกรรมและจัดทาแผน - จากการประชุมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อนามาพัฒนาสารสนเทศชุมชนให้สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตทั้ง 5 ด้าน หมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง ตาบลบึงคอไห อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ในเวทีประชาคม ของหมู่บ้าน โดยการใช้เครื่องมือ Community Information Radar Analysis (CIA Program) มีผลการจัดลาดับ ปัญหาจาการวิเคราะห์ ได้ดังนี้ วิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต (Radar Diagram) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย ได้ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีน้าเงิน (ข้อมูล จปฐ.) อันดับสภาพปัญหาทั้ง 5 ด้านเท่ากัน (จุดมีค่า = 3) 2. การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีแดง (ข้อมูล กชช.2ค) อันดับที่ 1 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71) อันดับที่ 3 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88) อันดับที่ 4 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89) อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13) 3.การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงสีเขียว (ข้อมูลอื่นๆ) อันดับที่ 1 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 1.88) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 1.71) อันดับที่ 3 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 1.89) อันดับที่ 4 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.13) อันดับที่ 5 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 1.44) วิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) เรียงจากปัญหามาก ไปหาปัญหาน้อย ได้ดังนี้ อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความ (จุดมีค่า = 2.19) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24) อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34) อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44) อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46) โดยมติจากที่ประชุมลงความเห็นให้นาผลจากการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต (Radar Analysis) มาใช้เป็นประเด็นของการพัฒนาสารสนเทศของหมู่ 9 บ้านคลองสิบสอง โดยมีอันดับปัญหาที่ ต้องเร่งดาเนินการแก้ไขตามลาดับ ดังนี้ อันดับที่ 1 ด้านการแก้ปัญหาความยากจน (จุดมีค่า = 2.19) อันดับที่ 2 ด้านการจัดการทุนชุมชน (จุดมีค่า = 2.24) อันดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการชุมชน (จุดมีค่า = 2.34) อันดับที่ 4 ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน (จุดมีค่า = 2.44) อันดับที่ 5 ด้านการพัฒนาอาชีพ (จุดมีค่า = 2.46)
  • 37. - จากผลการจัดลาดับปัญหาจาการวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน อันดับที่ 1 คือด้านการ แก้ปัญหาความความยากจน (จุดมีค่า = 2.19) ซึ่งมาประเด็นที่ต้องพิจารณาเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ดังกล่าว คือ "การอ่าน เขียน ภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้, “การมีอาชีพและรายได้” และ “ผู้สูงอายุ มีอาชีพ และมีรายได้” โดยที่ประชุมได้มีมติเลือกกิจกรรมที่สามารถแก้ไขปัญหาความยากจน ดังนี้ 1. กิจกรรมการส่งเสริมอาชีพและรายได้แก่คนในชุมชน - การพัฒนาอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีด - การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการทากระเป๋าหนังแฮนด์เมด - การพัฒนาอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก 2. กิจกรรมจัดสรรที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย มั่นคงและถาวร 3. กิจกรรมบริหารจัดการน้าเพื่อการเกษตร - หลังจากเวทีการประชุมกาหนดกิจกรรมในการพัฒนาสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาด้านความ ยากจน ทางคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ และประชาชนได้ร่วมกันกาหนดโครงการโดยจัดลาดับความสาคัญก่อนหลัง ได้ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อสร้างรายได้แก่คนในชุมชน 2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด 3. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก 4. โครงการบริหารจัดการการแบ่งที่อยู่อาศัยวัดโสภณาราม 5. โครงการบริหารจัดการน้าเพื่อการเกษตร
  • 39.
  • 40. 4.2 การแสวงหางบประมาณและภาคีเพื่อดาเนินการ จากเวทีการประชาคมของหมู่บ้าน พบว่า มีโครงการจานวน 5 โครงการ เพื่อนามาแก้ปัญหาด้านความ ยากจนของคนในหมู่บ้าน โดยทางคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ได้ดาเนินการจัดทาแผนบูรณาการให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยมีภาคีให้การสนับสนุนและมีงบประมาณในการดาเนินการ ดังนี้
  • 41. 5. การดาเนินกิจกรรม/โครงการเชิงบูรณการ (ดาเนินการแล้วประสบความสาเร็จ) 5.1 คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ สามารถดาเนินโครงการ/ กิจกรรมจากการจัดทาแผนบูรณาการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับหมู่บ้าน ได้จริงตามแผน คณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ สามารถดาเนินการขับเคลื่อนโครงการจากแผนบูรณา การให้เกิดขึ้นได้จริงจานวน 5 โครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อสร้างรายได้แก่คนในชุมชน เป็นโครงการที่เกิดจากการรวมกลุ่มของคนในหมู่บ้าน โดยมีสมาชิกทั้งสิ้นจานวน 30 คน มีนายชาตรี น้อยฉวี ผู้ใหญ่บ้าน ม.9 บ้านคลองสิบสอง เป็นประธาน โดยจากผลการดาเนินงาน สามารถสร้าง งาน สร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน โดยเฉลี่ยหมู่บ้านมีรายได้จากการดาเนินการของกลุ่มประมาณ 90,000 บาท/เดือน มีช่องทางการตลาดทั้งสิ้น 3 ช่องทาง คือ 1.การส่งออกต่างประเทศ 2.พ่อค้าคนกลาง 3. การแปรรูปสินค้าจากจิ้งหรีด ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีดอย่างยั่งยืน (กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงจิ้งหรีดบ้านคลองสิบสอง)
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. 2.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด โครงการได้รับการสนับสนุนในการดาเนินงานจากโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชมตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง กรมการพัฒนาชุมชน และโครงการพัฒนาอาชีพบ้านคลองสิบสอง ของ กศน.อาเภอลาลูกกา โดย มีสมาชิกเป็นแม่บ้านในหมู่ 9 คลองสิบสอง จานวน 35 คน ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าหนังแฮนด์เมด
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49. 3.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก โครงการได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการดาเนินจาก กศน.อาเภอลาลูกกา โดยมีการฝึกอบบรม ให้แก่ผู้ที่สนใจในหมู่บ้าน จานวน25 คน ซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านของบ้านสิบสอง ซึ่งหลังจากได้มีการอบรม พัฒนาจาก ทาง กศน. สมาชิกของกลุ่มสามารถความรู้นาไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ ภาพการดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพกระเป๋าสานพลาสติก
  • 50.
  • 51. 6. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 6.1 แผ่นพับประชาสัมพันธ์ 6.2 Facebook: หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านคลอง 12