SlideShare a Scribd company logo
แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ปีฉบับที่ 13
 1.แผนพัฒนาประเทศของจีน
 2.กระบวนการทาแผนฯ
 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
 4.ความสาคัญของแผนฯ13
 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
1.แผนพัฒนาประเทศของจีน
 ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมตามแผน กล่าวคือมี
 1. แผนยุทธศาสตร์และ
 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ปี
1. แผนยุทธศาสตร์
 1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”
 แผนยุทธศาสตร์เสนอขึ้นอย่างเป็นทางการโดยท่าน เติ้ง เสี่ยวผิง อดีตรองนายกรัฐมนตรีของ
จีน ที่ประชุมคณะกรรมการกลางเต็มคณะครั้งที่ 13 ของพรรคคอมิวนิสต์จีนเมื่อเดือนตุลาคม
ปี 1982 ท่านเติ้ง เสี่ยวผิง กาหนดแผนยุทธศาสตร์ของการพัฒนาประเทศจีนไว้ดังต่อไปนี้
1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”
 1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”
 ก้าวแรก คือ จากปี 1981ถึงปี 1990 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือ GDP จะเพิ่มขึ้น
เป็นเท่าตัวของปี 1980 เพื่อแก้ปัญหาปากท้องของประชาชนให้ประชาชนพอกินพอใช
 ก้าวที่สอง จากปี 1991-2000 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือ GDP จะเพิ่มขึ้นเป็น
เท่าตัวของปี 1990 ทาให้ประเทศจีนบรรลุสังคมมีกินมีใช้
 ก้าวที่สามจากปี 2001-2010 GDP ต่อหัวเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเท่าตัวจากปี 2000 ทาให้
ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บรรลุเป้ าหมายมีกินมีใช้อย่างทั่วถึง
 ปี 1980 GDP ต่อหัวแค่ 250 เหรียญสหรัฐฯ พอถึงปี 1990 GDP ต่อหัวเพิ่มเป็น
500 เหรียญสหรัฐฯ ปี 2000 ซึ่งเป็นปีที่สิ้นสุดก้าวที่สอง GDP ต่อหัวของจีนอยู่ที่ 848
เหรียญสหรัฐฯ เมื่อสิ้นสุดก้าวที่สามในปี 2010 GDP ต่อหัวอยู่ที่ 4380 เหรียญสหรัฐฯ
1. แผนยุทธศาสตร์
 ยุทธศาสตร์ สามก้าวใหม่
 ก่อนปี 2010 เป็นก้าวที่หนึ่ง
 ก้าวที่สอง ปี 2010-2020 เป็นก้าวที่สอง เมื่อประเทศจีนบรรลุเป้ าหมาย 3 ก้าวในปี 2010
ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนจีนมีกินมีใช้อย่างทั่วถึง GDP ต่อหัวอยู่ที่ 4380 เหรียญ
สหรัฐฯแล้ว รัฐบาลจีนโดยมีประธานาธิบดี หู จิ่นเทาถือว่าประเทศจีนสาเร็จยุทธศาสตร์ก้าว
ใหญ่ก้าวที่หนึ่ง และได้กาหนดว่าตั้งแต่ปี 2010-2020 เป็นก้าวที่สอง เป้ าหมายยุทธศาสตร์คือ
GDP ต่อหัว เป็น 4 เท่าตัวของปี 2000 ตามสถิติล่าสุด GDP ต่อหัวของจีนในปี
2013 อยู่ที่ 6747 เหรียญสหรัฐฯ (nominal GDP) หรือ 9844 เหรียญสหรัฐฯ (
PPP GDP)
 จากปี 2020-2050 เป็นก้าวที่สามบรรลุสังคมอยู่ดีมีสุขอย่างทั่วถึง ซึ่งมีนัยสาคัญว่าประเทศจีน
ใหม่หรือสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาเมื่อปี 1949 จะครบ 100 ปีในปี 2049 ประจวบ
เหมาะกับปี 2050
1. แผนยุทธศาสตร์
22.8.1904—
19.2.1997
1. แผนยุทธศาสตร์
12.1942--
ประธานาธิบดี 2003-2013.3
2.กระบวนการทาแผนฯ
 1. ประเทศจีนมีการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ปีมาตั้งแต่ เมื่อปี 1953
ระหว่างปี 1953-1957 เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ฉบับแรก หลังจากนั้นมีการทาแผน
และปฏิบัติตามแผนฯมาเรื่อยกระทั่งจนทุกวันนี้ ซึ่งกาลังปฏิบัติตามแผนฯ ฉบับที่ 12 อยู่ (ปี
2011-2015) ขณะนี้แผนฯ ฉบับ 12 ได้มีการปฏิบัติมาครึ่งทางแล้ว รัฐบาลจีนกาลังวาง
แผนการประเมินแผนฯฉบับ 12 ระยะทาง เพื่อเป็นการประเมินผลและเป็นแนวทางในการ
กาหนดแผนฯฉบับที่ 13 (ปี 2016-2020)
 นายกรัฐมนตรีกาหนดแนวทาง
 คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและปฏิรูปเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนฯ
 มีอนุกรรมการ 25 ชุด 2000 กว่าคนร่วมกันทาแผนฯ
 ใช้เวลา 2 ปี
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ปี 2013 ที่ประชุมครั้งที่ 6
คณะกรรมการถาวรประจาสมัชชาผู้แทนประชาชนจีนสมัยที่ 12
ได้รับฟังรายงานของ ประธานคณะกรรมการการพัฒนาและ
ปฏิรูปแห่งชาติจีน
ภาพรวมของรายงานทั้งฉบับ ระบุว่า ตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ
ล้าหน้า แต่ตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมล้าหลัง ในตัวชี้วัด
ทั้งหมด 24 ตัวนั้น มีตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อม 4 ตัวซึ่งเป็น
ตัวชี้วัดที่มีลักษณะเชิงบังคับไม่บรรลุเป้ าประสงค์
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ในรายงานระบุว่า อัตราเติบโตทาง GDP ในปี 2011 คือ
9.3% ปี 2012 คือ 7.7% และครึ่งปีแรกของปี2013 คือ
7.6% ดังนั้น คาดว่าสามารถบรรลุเป้าหมายอัตราการ
เติบโต 7% ต่อปีโดยเฉลี่ย การจ้างงาน ราคาสินค้า
รายรับรายจ่ายระหว่างประเทศก็น่าจะบรรลุเป้าหมาย
สามปีแรก อัตราเติบโตอยู่ที่ 8% ขอให้สองปีหลังไม่ต่า
กว่า 5.3% ก็สามารถบรรลุเป้าหมายได้
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
จากปี 2011 ถึง ครึ่งปีแรกของปี 2013 เพิ่มการจ้างงานในเมือง 32
ล้านคน อัตราการว่างงานที่ จดทะเบียนไว้ในเมืองคงที่ อยู่ที่ ร้อยละ
4.1
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ความต้องการบริโภคภายในเพิ่มสูงขึ้น จากปี 2011 ถึงปี 2012
อัตราส่วนที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มาจากความต้องการ
ภายในประเทศเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว ครึ่งปีแรก การค้าระหว่าง
ประเทศในรายการที่เป็นสินค้าเกินดุลเล็กน้อย มีมูลค่าประมาณ
ร้อยละ 2.5 ของ GDP
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ในปี 2012 สามารถรักษาพื้นที่เพาะปลูกไว้ที่ 1800 ล้านโหม่ว ปลูก
ธัญพืชด้วยพันธุ์ดีครอบคลุมร้อยละ 96 อัตราส่วนในการใช้เครื่องจักร
การเกษตรในการดานา เก็บเกี่ยวถึงร้อยละ 57 ดัชนีประสิทธิภาพของ
การรดน้าชลประทานถึง 0.516 ผลผลิตทางการเกษตรมีการเพิ่มขึ้น
ติดต่อกันเป็นปีที่ 11
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
โครงสร้างเศรษฐกิจมีการปรับเปลี่ยนดีขึ้น สัดส่วนของภาค
บริการเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 43.2 ในปี 2010 เป็นร้อยละ 44.6 ในปี
2012 ครึ่งปีแรกของปี 2013 เพิ่มเป็นร้อยละ 45.3
จนถึงสิ้นปี 2012 ระยะทางรถไฟความเร็วสูง 2.6 หมื่นกิโลเมตร
กาลังก่อสร้าง 1.6 หมื่นกิโลเมตร ระยะทางด่วน 9.6 หมืน
กิโลเมตร เพิ่มขึ้น 2.2 หมื่นกิโลเมตรเทียบกับปี 2010 ระยะทาง
บินเที่ยวบินประจา 4.95 ล้านกิโลเมตร
การใช้เน็ทความเร็วสูง Fiber optic broadband และ 3G ครอบคลุม
ทุกพื้นที่ ร้อยละ88ของหมู่บ้านมี Fiber optic broadband
อัตราส่วนของประชากรมีการใช้อินเตอร์เน็ตถึงร้อยละ 44
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
Urbanization จากร้อยละ 49.95 ในปี 2010 เพิ่มเป็นร้อยละ 52.57ในปี
2012
ความเหลื่อมล้ารายได้ระหว่างคนในเมืองกับคนในชนบทจาก 3.23:1
ในปี2010 แคบลงเป็น 3.10:1 ในปี 2012
แก้ไขปัญหาน้าดื่มอย่างปลอดภัยแก่ประชากร 160 ล้านคน สร้างก๊าซ
ชีวภาพใหม่ 5.05 ล้านครัวเรือน
ปรับปรุงที่อยู่อาศัยสาหรับบ้านเรือนที่ทรุดโทรมกว่า 8 ล้านครัวเรือน
ลดความเหลื่อมล้า GDP Per capita ระหว่างตะวันออก ภาคกลาง ภาค
ตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากปี 2010 เป็น 2.1:1.5 :1.0‫1.1׃‬
เป็น 1.8:1.5 :1.0‫0.1׃‬ ในปี 2012
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ปี2012 งบประมาณเพื่อ R &D มากกว่า 1 ล้านล้านหยวน คิดเป็น
ร้อยละ 1.98 ของ GDP ในจานวนนี้งบประมาณเพื่อ R &D ที่มา
จากบริษัทเอกชนคิดเป็นร้อยละ 74 ของงบทั้งหมด
จนสิ้นเดือนมิถุนายน ที่จดสิทธิบัตรของจีน (ไม่รวมฮ่องกง มาเก๊า
ไต้หวัน) 4.9 แสนชิ้น คิดเป็น 3.64 ชิ้นต่อประชากรทุกหมื่นคน
งบประมาณเพื่อการศึกษาในปี 2012 มากกว่า 2.2 ล้านล้านหยวน
เป็นครั้งแรกเกินร้อยละ 4 ของ GDP
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
อัตราส่วนในการตรวจสอบ พยากรณ์ภัยพิบัติมากกว่าร้อย
ละ 80 ในปี 2012 เพิ่มทรัพยากรน้า 5 หมื่นตันจากฝนเทียม
หิมะเทียม
จากปี 2011 ถึงปี 2012 พื้นที่ป่าไม้เพิ่ม 7.5 ล้านเฮกาตาร์
ปริมาณรวมมากกว่า 600 ล้านลูกบาศก์เมตร
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ปี 2012 อัตราส่วนการตายของหญิงตั้งครรภ์และคลอดลูก
อยู่ที่ 24.5 ต่อ 1 แสนคนลดลงเป็นร้อยละ 18 เทียบกับปี
2010 อัตราการตายของทารถเป็นร้อยละ 1.03
จนสิ้นเดือนมิถุนายนปี 2013 Premier Care unit 2.13 แห่ง
มีคนเข้าร่วมโครงการประกันสุขภาพชนิดต่างๆ 1320 ล้าน
คน
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ปี 2012 การนาเข้า ส่งออกสินค้า 3.87 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ
เป็นที่สองของโลก สัดส่วนการส่งออกจากร้อยละ 10.4 ในปี 2010
เพิ่มเป็นร้อยละ 11.2 ของการส่งออกรวมทุกประเทศทั่วโลกในปี
2012
จนสิ้นเดือนมิถุนายน ปี 2013 Non-financial In-bound FDI
สะสมเป็น 289,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Non-financial Out-bound
FDI สะสมเป็น 191,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
 ในรายงานยังระบุว่า 4 ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมล้าหลัง
 Energy consumption intensity,
 Carbon dioxide emissions intensity,
 Energy consumption structure,
 Nitrogen oxide emissions
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
ยกตัวอย่างว่า Nitrogen oxide emissions
ในแผนฯ 12 กาหนดว่าต้องลดลงร้อยละ 10 2015 ทั่วทั้งประเทศ
จีนต้องควบคุมการปริมาณการปล่อย Nitrogen oxide อยู่ที่
20.462 ล้านตัน ลดลงไปร้อยละ 10 จาก 22.736 ล้านตันในปี 2010
แต่รายงานระบุว่า ปริมาณการปล่อย Nitrogen oxide ในปี 2011
ไม่ลดกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.74 แม่ดัชนีตัวนี้ลดลงไปร้อยละ 2.77
ในปี 2012 ก็ตาม คานวณแล้ว สองปีแรกยังสูงว่าปี 2010 ถึงร้อย
ละ 2.82
ดังนั้นให้สามปีหลังต้องลดไปร้อยละ 4.3 ต่อปีเป็นเรื่องยาก
3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
Energy consumption intensity
สองปีแรกลดลงไปร้อยละ 5.5 ถ้าจะบรรลุเป้าหมายร้อยละ 16 สามปีหลัง
ต้องลดลงไปร้อยละ 3.84 ต่อปีโดยเฉลี่ย
Carbon dioxide emissions intensity
เป้าหมายคือลดลงไปร้อยละ 17 สองปีแรกลดลงไปเพียงร้อยละ 6.6
Energy consumption structure
ปี 2012Energy consumption structureอยู่ที่ร้อยละ9 สองปีแรกแค่
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 บรรลุเป้าหมาย Energy consumption structure ร้อยละ
11.4 สามปีหลังต้องเพิ่มร้อยละ2
 นอกจากนี้ คุณภาพอากาศของร้อยละ 60 ของเมืองทั้งหมดไม่ถึงระดับ
มาตรฐาน
4.ความสาคัญของแผนฯ13
 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2014 นาย หลี่ เค่อเฉียน นายกรัฐมนตรีจีนได้เรียกกระทรวง ทบวง
กรมที่สังกัดคณะรัฐมนตรีประชุมเพื่อวางแผนกาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมฉบับที่ 13 ถือ
ว่าเป็นการเปิดฉากของการทาแผนฯฉบับที่ 13
4.ความสาคัญของแผนฯ13
 ความสาคัญของแผนฯฉบับที่ 13 แผนฯ ฉบับที่ 13 ตั้งแต่ปี 2016 ถึง 2020 ปี 2020
สาหรับประเทศจีนมีนัยสาคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ
 1.ตามแผนยุทธศาสตร์ของจีน GDP ต่อหัวในปี 2020จะเพิ่มอีกหนึ่งเท่าตัวจากปี 2010 ถึง
8760 เหรียญสหรัฐฯ ทาให้ประชาชนอยู่ดีกินดีอย่างทั่วถึง ระบบต่างๆ ของสังคมมีความ
สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น มีเสถียรภาพ
 2.ปี 2020 ตามแผนยุทธศาสตร์ใหม่ที่เสนอโดยประธานาธิบดี หู จิ่นเทาถือว่าเป็นก้าวใหญ่ก้าว
ที่สอง ทาให้ประเทศจีนเข้าไปอยู่ในระดับปานกลางของประเทศพัฒนาแล้วให้ได้
 3.ปี 2020 อยู่ในช่วง 30 ปีของระยะที่สาม 30 ปี ระยะที่หนึ่งคือจากปี 1949 ถึง ปี 1980
และ 30ปีระยะที่สองคือ จากปี 1980 ถึงปี 2010 และ 30 ปีระยะที่สามคือจากปี 2010-2040
ประเทศจีนจะครบ 100 ปีในปี 2049 ประเทศจีนต้องทาให้ความฝันของจีนหรือ Chinese
Dreams กลายเป็นจริงให้ได้ นั่นคือความเจริญรุ่งเรือง ความอยู่ดีมีสุขของจีน
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 1.สร้างระบบควบคุมเชิงมหาภาคอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ปฏิรูประบบราชการเชิงลึกและเชิง
กว้างอย่างต่อเนื่อง กาหนดบทบาทของภาครัฐอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นเน้นบทบาทของภาครัฐ
คือเป็นการควบคุมเชิงมหาภาค ให้บริการสาธารณะ ควบคุมการตลาด บริหารสังคม อนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมตามวิถีความเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีลักษณะมองการณ์ไกล ครบด้าน ประสานทุกฝ่าย
มีความเสถียรภาพและคาดการณ์
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 2.สร้างระบบราคาปัจจัยการผลิตที่เป็นธรรม มีความก้าวหน้าในบางสาขาอุตสาหกรรม ต้องมี
การตัดสินและควบคุมราคาปัจจัยการผลิตตามกฎธรรมชาติของระบบเศรษฐกิจและ
สภาพแวดล้อมทั้งและในประเทศ ขณะเดียวกันต้องรับฟังเสียงประชาชนด้วยโดยเฉพาะในเรื่อง
ทุน ที่ดิน เทคโนโลยี ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์กรมนุษย์ และทรัพย์กรธรรมชาติ ต้องหา
วิธีแก้ไขปัญหาเหล่านี้ซึ่งไม่ได้รับการแก้ไขมาเป็นเวลายาวนาน ผลักดันอัตราดอกเบี้ยตาม
กลไกการตลาด อัตราแลกเปลี่ยนตามหลักสากล การซื้อขาย โอนสิทธิ์ที่ดินต้องเป็นไปตาม
กฎระเบียบ
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 3.เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถของการ
แข่งขันในเทวีโลก ทุกวันนี้ พลังงาน ข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศ วัสดุ การผลิตชั้นสูง
เทคโนโลยีชีวภาพมีการพัฒนารวดเร็ว สาขาอุตสาหกรรมเหล่านี้ในอนาคตนี้ยังคงมี
ความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศต่อไป
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 4.พยายามผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจแบบรวมกลุ่มเขตพื้นที่หรือ Cluster เพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันในระดับโลก ทาลายการกีดกันระหว่างแต่ละมณฑล แต่ละพื้นที่ ถือ
เขตการค้าเสรีเซี่ยงไฮ้เป็นตัวแบบในการพัฒนาและขยายผลสู่เมืองใหญ่ และใช้แนวคิด “สอง
เส้นทางหนึ่งสาย” (สองเส้นทางหมายถึงเส้นทางเศรษฐกิจแม่น้าแยงซีเกียงเชื่อมโยงเมืองต่างๆ
สองฝั่งแม่น้าและเส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางบกเชื่อมโยงกับตะวันออกกลาง ยุโรป และและ
เส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางทะเล)ขยายการค้าและความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เพิ่มขีด
ความสามารถของการแข่งขัน
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 5.ปฏิรูปและสร้างนวัตกรรมกิจการสังคม เสริมสร้างพื้นฐานแห่งระบบที่เป็นธรรมของสังคม
สร้างหลักประกันการจ้างงาน การศึกษา การรักษาพยาบาล กระจายรายได้และประกันสังคม
บริการสาธารณะ ผลักดันการปฏิรูปสามะโนครัว ปฏิรูปหน่วยงานรัฐ ระบบรักษาพยาบาล
และอสังหาริมทรัพย์เป็นต้น สร้างความสมดุลระหว่างกลุ่มคนทุกชนชั้น ให้แสงสว่างแห่งความ
เป็นธรรมของสังคมส่องไปทุกมุมของสังคม
4.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 พยายามอีก 30 ปีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเศรษฐกิจจีน และเพื่อความรุ่งโรจน์ของ
อนาคตจีน การกระทาเช่นนี้ ต้องอยู่บนพื้นฐานที่จัดการความสัมพันธ์ 3 คู่ให้ดี ซึ่งได้แก่
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 1.จัดการความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากับความมั่นคงให้ดี การแก้ไขปัญหาที่จีนเผชิญหน้า
อยู่ขณะนี้ต้องอาศัยการพัฒนา การปฏิรูปก็คือการพัฒนา ดังนั้น แผนฯฉบับที่ 13 ยังคงต้อง
ดาเนินการปฏิรูปเพื่อการพัฒนา แต่การปฏิรูปและการพัฒนาต้องคานึงถึงความมั่นคงของ
สังคม ความมั่นคงของสังคมเป็นสิ่งสาคัญมากที่สุด เมื่อสังคมมีความมั่นคง การพัฒนาจึง
สามารถขับเคลื่อนไปได้ การปฏิรูปถึงจะได้รับการสนับสนุน
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 2.ต้องจัดการความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความเร็วกับผลสาเร็จด้านคุณภาพ หลังจากประเทศ
จีนเข้าสู่การพัฒนาในภาวะปกติแล้ว จีนต้องตระหนักว่าในฐานะประเทศใหญ่ประเทศหนึ่ง ต้อง
มีการพัฒนาเศรษฐกิจในอัตราที่เหมาะสม ยังต้องอาศัยการพัฒนาเศรษฐกิจมาค้าจุนเศรษฐกิจ
ขนาดใหญ่ของจีน แต่ในขณะเดียวกันต้องรักษาสัดส่วนระหว่างการลงทุน การบริโภค การ
ส่งออก การนาเข้าให้ในระดับที่เหมาะสม เพื่อได้มาซึ่งการพัฒนาที่มีคุณภาพ ได้ผลสาเร็จทั้ง
ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม
5.สาระสาคัญของแผนฯ 13
 3.จัดความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและสังคมกับมนุษย์และธรรมชาติ จากประสบการณ์ เรา
สามารถสรุปได้ว่ามีเพียงแต่ปฏิบัติตามกฎแห่งเศรษฐกิจ ถึงได้มีการพัฒนาอย่างเป็น
วิทยาศาสตร์ มีเพียงแต่ปฏิบัติตามกฎแห่งธรรมชาติ ถึงได้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีเพียงแต่
ปฏิบัติตามกฎแห่งสังคม ถึงได้มีการพัฒนาอย่างมั่นคง ถ้าหากเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจโดย
มองข้ามสิ่งแวดล้อม จะลดดัชนีความสุขของประชาชนและสร้างความไม่เป็นธรรมต่อลูกหลาน
ในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาอย่างยั่งยืน อย่างมั่นคงกลายเป็นจุดเน้นของแผนฯฉบับที่ 13
6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
 1.ผู้นาที่ดีที่มีวิสัยทัศน์มีความสาคัญต่อประเทศชาติ ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการพัฒนา
อย่างรวดเร็วและสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น เราจะเห็นได้ว่าผู้นาสาคัญต่อประเทศชาติ
การมีผู้นาที่ดีที่มีวิสัยทัศน์สามารถนาประเทศชาติก้าวหน้า ประธานเหมาเจ๋อตุงสร้างประเทศ
จีนใหม่ เติ้ง เสี่ยวผิงวางยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศจีนใหม่ และผู้นารุ่นต่อๆมาทุกคนมิ
วิสัยทัศน์และมีความสามารถในการพัฒนาประเทศชาติภายใต้สถานการณ์ผันผวน
6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
 2.การพัฒนาประเทศต้องมีแผนยุทธศาสตร์ และมีแผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว และมี
การปฏิบัติตามแผนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากประเทศจีนเป็นพรรคเดียว รัฐบาลมีเสถียรภาพ
ซึ่งแตกต่างกันกับประเทศไทย มีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อยครั้ง นโยบายไม่ต่อเนื่อง ขาดแผน
ยุทธศาสตร์ที่ดี และขาดแผนระยะยาวหรือมีแผนระยะยาวแต่ไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลแผนเก่าก็ชะงักไป เปลี่ยน นโยบายใหม่และแผนดาเนินการใหม่
5.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
 3.เนื้อหาที่แผนฯฉบับที่ 13 ที่เสนอมีแนวคิดหลายประการมีคุณค่าต่อการศึกษาเพื่อนาไป
ประยุกต์ในการกาหนดแผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปีฉบับที่ 12
ของไทย แนวคิดที่ดีๆเช่นการควบคุมมหาภาค การควบคุมราคาปัจจัยการผลิต ซึ่งประเทศ
ไทยตอนนี้ก็ประสบปัญหาผลิตการปัจจัยโดยเฉพาะปัจจัยการผลิตทางการเกษตรศาสตร์แพง
จนมีชาวนาพูดว่ายิ่งปลุกข้าวมาก ยิ่งขาดทุนมาก
5.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
 4.ประเทศไทยสามารถคว้าประโยชน์จากแผนฯฉบับที่ 13 ของจีนได้ประการหนึ่ง จีนยังคง
สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ ประเทศไทยเป็นเป้ าหมายที่สาคัญในกลุ่มประเทศอาเซียน
ที่จีนสนใจมาลงทุน ดังนั้น ประเทศไทยต้องคว้าโอกาสนี้ให้ได้ ประการที่สอง ประธานาธิบดีได้
เสนอ “สองเส้นทางหนึ่งสาย ” ประเทศไทยต้องศึกษาเส้นทางสายไหมทางทะเลหรือเส้นทาง
สายไหมศตวรรษที่ 21 ให้ดี ประเทศจีนหวังที่จะฟื้นฟูและพัฒนาความสัมพันธ์ของการค้าทาง
ทะเลกับกลุ่มประเทศอาเซียนและแอฟริกาตามลอยเส้นทางสายไหมโบราณ ประเทศไทยมีภูมิ
ทาเลที่ได้เปรียบทั้งทางน้าและทางบก ประเทศไทยสามารถตักตวงผลประโยชน์ได้ถ้าหากว่ามี
CHINESE DREAM : จีนฝันอะไร ไทยเรียนรู้อะไร
 โดย : ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น และดร.หลี่ เหรินเหลียง
 http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politic
s/opinion/aksornsri/20140605/586296/Chinese-
Dream
 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2012 ท่านสี จิ้นผิง ในฐานะผู้นาคนใหม่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้
ไปเยี่ยมชมนิทรรศการ “หนทางสู่ความเจริญรุ่งเรือง” ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีนในกรุงปักกิ่ง
และได้เอ่ยถึงคาว่า “ความฝันของจีน” โดยกล่าวว่า “ขณะนี้ ทุกคนกาลังถกเถียงถึงความฝัน
ของจีน ผมเห็นว่า ชนชาติจีนฟื้นฟูความเจริญรุ่งเรืองที่ยิ่งใหญ่ ก็คือ ความฝันที่ยิ่งใหญ่ของชน
ชาติจีน”

More Related Content

What's hot

ศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
ศักยภาพการลงทุนในเวียดนามศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
ศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
Thammasat University
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kowin Butdawong
 

What's hot (16)

ศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
ศักยภาพการลงทุนในเวียดนามศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
ศักยภาพการลงทุนในเวียดนาม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปีบทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1
 

Similar to อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี

The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
FURD_RSU
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kowin Butdawong
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
Vilaiwun Bunya
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
Nus Venus
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
taohumdeeg
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
Pannatut Pakphichai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ชญานิษฐ์ ทบวัน
 

Similar to อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี (10)

The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 

More from Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี

  • 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ปีฉบับที่ 13  1.แผนพัฒนาประเทศของจีน  2.กระบวนการทาแผนฯ  3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12  4.ความสาคัญของแผนฯ13  5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย
  • 3. 1. แผนยุทธศาสตร์  1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”  แผนยุทธศาสตร์เสนอขึ้นอย่างเป็นทางการโดยท่าน เติ้ง เสี่ยวผิง อดีตรองนายกรัฐมนตรีของ จีน ที่ประชุมคณะกรรมการกลางเต็มคณะครั้งที่ 13 ของพรรคคอมิวนิสต์จีนเมื่อเดือนตุลาคม ปี 1982 ท่านเติ้ง เสี่ยวผิง กาหนดแผนยุทธศาสตร์ของการพัฒนาประเทศจีนไว้ดังต่อไปนี้
  • 4. 1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”  1. แผนยุทธศาสตร์ “สามก้าว”  ก้าวแรก คือ จากปี 1981ถึงปี 1990 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือ GDP จะเพิ่มขึ้น เป็นเท่าตัวของปี 1980 เพื่อแก้ปัญหาปากท้องของประชาชนให้ประชาชนพอกินพอใช  ก้าวที่สอง จากปี 1991-2000 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือ GDP จะเพิ่มขึ้นเป็น เท่าตัวของปี 1990 ทาให้ประเทศจีนบรรลุสังคมมีกินมีใช้  ก้าวที่สามจากปี 2001-2010 GDP ต่อหัวเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเท่าตัวจากปี 2000 ทาให้ ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บรรลุเป้ าหมายมีกินมีใช้อย่างทั่วถึง  ปี 1980 GDP ต่อหัวแค่ 250 เหรียญสหรัฐฯ พอถึงปี 1990 GDP ต่อหัวเพิ่มเป็น 500 เหรียญสหรัฐฯ ปี 2000 ซึ่งเป็นปีที่สิ้นสุดก้าวที่สอง GDP ต่อหัวของจีนอยู่ที่ 848 เหรียญสหรัฐฯ เมื่อสิ้นสุดก้าวที่สามในปี 2010 GDP ต่อหัวอยู่ที่ 4380 เหรียญสหรัฐฯ
  • 5. 1. แผนยุทธศาสตร์  ยุทธศาสตร์ สามก้าวใหม่  ก่อนปี 2010 เป็นก้าวที่หนึ่ง  ก้าวที่สอง ปี 2010-2020 เป็นก้าวที่สอง เมื่อประเทศจีนบรรลุเป้ าหมาย 3 ก้าวในปี 2010 ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนจีนมีกินมีใช้อย่างทั่วถึง GDP ต่อหัวอยู่ที่ 4380 เหรียญ สหรัฐฯแล้ว รัฐบาลจีนโดยมีประธานาธิบดี หู จิ่นเทาถือว่าประเทศจีนสาเร็จยุทธศาสตร์ก้าว ใหญ่ก้าวที่หนึ่ง และได้กาหนดว่าตั้งแต่ปี 2010-2020 เป็นก้าวที่สอง เป้ าหมายยุทธศาสตร์คือ GDP ต่อหัว เป็น 4 เท่าตัวของปี 2000 ตามสถิติล่าสุด GDP ต่อหัวของจีนในปี 2013 อยู่ที่ 6747 เหรียญสหรัฐฯ (nominal GDP) หรือ 9844 เหรียญสหรัฐฯ ( PPP GDP)  จากปี 2020-2050 เป็นก้าวที่สามบรรลุสังคมอยู่ดีมีสุขอย่างทั่วถึง ซึ่งมีนัยสาคัญว่าประเทศจีน ใหม่หรือสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาเมื่อปี 1949 จะครบ 100 ปีในปี 2049 ประจวบ เหมาะกับปี 2050
  • 8. 2.กระบวนการทาแผนฯ  1. ประเทศจีนมีการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ปีมาตั้งแต่ เมื่อปี 1953 ระหว่างปี 1953-1957 เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 5 ฉบับแรก หลังจากนั้นมีการทาแผน และปฏิบัติตามแผนฯมาเรื่อยกระทั่งจนทุกวันนี้ ซึ่งกาลังปฏิบัติตามแผนฯ ฉบับที่ 12 อยู่ (ปี 2011-2015) ขณะนี้แผนฯ ฉบับ 12 ได้มีการปฏิบัติมาครึ่งทางแล้ว รัฐบาลจีนกาลังวาง แผนการประเมินแผนฯฉบับ 12 ระยะทาง เพื่อเป็นการประเมินผลและเป็นแนวทางในการ กาหนดแผนฯฉบับที่ 13 (ปี 2016-2020)  นายกรัฐมนตรีกาหนดแนวทาง  คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและปฏิรูปเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนฯ  มีอนุกรรมการ 25 ชุด 2000 กว่าคนร่วมกันทาแผนฯ  ใช้เวลา 2 ปี
  • 9. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ปี 2013 ที่ประชุมครั้งที่ 6 คณะกรรมการถาวรประจาสมัชชาผู้แทนประชาชนจีนสมัยที่ 12 ได้รับฟังรายงานของ ประธานคณะกรรมการการพัฒนาและ ปฏิรูปแห่งชาติจีน ภาพรวมของรายงานทั้งฉบับ ระบุว่า ตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ ล้าหน้า แต่ตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมล้าหลัง ในตัวชี้วัด ทั้งหมด 24 ตัวนั้น มีตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อม 4 ตัวซึ่งเป็น ตัวชี้วัดที่มีลักษณะเชิงบังคับไม่บรรลุเป้ าประสงค์
  • 10. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ในรายงานระบุว่า อัตราเติบโตทาง GDP ในปี 2011 คือ 9.3% ปี 2012 คือ 7.7% และครึ่งปีแรกของปี2013 คือ 7.6% ดังนั้น คาดว่าสามารถบรรลุเป้าหมายอัตราการ เติบโต 7% ต่อปีโดยเฉลี่ย การจ้างงาน ราคาสินค้า รายรับรายจ่ายระหว่างประเทศก็น่าจะบรรลุเป้าหมาย สามปีแรก อัตราเติบโตอยู่ที่ 8% ขอให้สองปีหลังไม่ต่า กว่า 5.3% ก็สามารถบรรลุเป้าหมายได้
  • 11. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 จากปี 2011 ถึง ครึ่งปีแรกของปี 2013 เพิ่มการจ้างงานในเมือง 32 ล้านคน อัตราการว่างงานที่ จดทะเบียนไว้ในเมืองคงที่ อยู่ที่ ร้อยละ 4.1
  • 12. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ความต้องการบริโภคภายในเพิ่มสูงขึ้น จากปี 2011 ถึงปี 2012 อัตราส่วนที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มาจากความต้องการ ภายในประเทศเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว ครึ่งปีแรก การค้าระหว่าง ประเทศในรายการที่เป็นสินค้าเกินดุลเล็กน้อย มีมูลค่าประมาณ ร้อยละ 2.5 ของ GDP
  • 13. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ในปี 2012 สามารถรักษาพื้นที่เพาะปลูกไว้ที่ 1800 ล้านโหม่ว ปลูก ธัญพืชด้วยพันธุ์ดีครอบคลุมร้อยละ 96 อัตราส่วนในการใช้เครื่องจักร การเกษตรในการดานา เก็บเกี่ยวถึงร้อยละ 57 ดัชนีประสิทธิภาพของ การรดน้าชลประทานถึง 0.516 ผลผลิตทางการเกษตรมีการเพิ่มขึ้น ติดต่อกันเป็นปีที่ 11
  • 14. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 โครงสร้างเศรษฐกิจมีการปรับเปลี่ยนดีขึ้น สัดส่วนของภาค บริการเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 43.2 ในปี 2010 เป็นร้อยละ 44.6 ในปี 2012 ครึ่งปีแรกของปี 2013 เพิ่มเป็นร้อยละ 45.3 จนถึงสิ้นปี 2012 ระยะทางรถไฟความเร็วสูง 2.6 หมื่นกิโลเมตร กาลังก่อสร้าง 1.6 หมื่นกิโลเมตร ระยะทางด่วน 9.6 หมืน กิโลเมตร เพิ่มขึ้น 2.2 หมื่นกิโลเมตรเทียบกับปี 2010 ระยะทาง บินเที่ยวบินประจา 4.95 ล้านกิโลเมตร การใช้เน็ทความเร็วสูง Fiber optic broadband และ 3G ครอบคลุม ทุกพื้นที่ ร้อยละ88ของหมู่บ้านมี Fiber optic broadband อัตราส่วนของประชากรมีการใช้อินเตอร์เน็ตถึงร้อยละ 44
  • 15. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 Urbanization จากร้อยละ 49.95 ในปี 2010 เพิ่มเป็นร้อยละ 52.57ในปี 2012 ความเหลื่อมล้ารายได้ระหว่างคนในเมืองกับคนในชนบทจาก 3.23:1 ในปี2010 แคบลงเป็น 3.10:1 ในปี 2012 แก้ไขปัญหาน้าดื่มอย่างปลอดภัยแก่ประชากร 160 ล้านคน สร้างก๊าซ ชีวภาพใหม่ 5.05 ล้านครัวเรือน ปรับปรุงที่อยู่อาศัยสาหรับบ้านเรือนที่ทรุดโทรมกว่า 8 ล้านครัวเรือน ลดความเหลื่อมล้า GDP Per capita ระหว่างตะวันออก ภาคกลาง ภาค ตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากปี 2010 เป็น 2.1:1.5 :1.0‫1.1׃‬ เป็น 1.8:1.5 :1.0‫0.1׃‬ ในปี 2012
  • 16. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ปี2012 งบประมาณเพื่อ R &D มากกว่า 1 ล้านล้านหยวน คิดเป็น ร้อยละ 1.98 ของ GDP ในจานวนนี้งบประมาณเพื่อ R &D ที่มา จากบริษัทเอกชนคิดเป็นร้อยละ 74 ของงบทั้งหมด จนสิ้นเดือนมิถุนายน ที่จดสิทธิบัตรของจีน (ไม่รวมฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน) 4.9 แสนชิ้น คิดเป็น 3.64 ชิ้นต่อประชากรทุกหมื่นคน งบประมาณเพื่อการศึกษาในปี 2012 มากกว่า 2.2 ล้านล้านหยวน เป็นครั้งแรกเกินร้อยละ 4 ของ GDP
  • 17. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 อัตราส่วนในการตรวจสอบ พยากรณ์ภัยพิบัติมากกว่าร้อย ละ 80 ในปี 2012 เพิ่มทรัพยากรน้า 5 หมื่นตันจากฝนเทียม หิมะเทียม จากปี 2011 ถึงปี 2012 พื้นที่ป่าไม้เพิ่ม 7.5 ล้านเฮกาตาร์ ปริมาณรวมมากกว่า 600 ล้านลูกบาศก์เมตร
  • 18. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ปี 2012 อัตราส่วนการตายของหญิงตั้งครรภ์และคลอดลูก อยู่ที่ 24.5 ต่อ 1 แสนคนลดลงเป็นร้อยละ 18 เทียบกับปี 2010 อัตราการตายของทารถเป็นร้อยละ 1.03 จนสิ้นเดือนมิถุนายนปี 2013 Premier Care unit 2.13 แห่ง มีคนเข้าร่วมโครงการประกันสุขภาพชนิดต่างๆ 1320 ล้าน คน
  • 19. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ปี 2012 การนาเข้า ส่งออกสินค้า 3.87 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ เป็นที่สองของโลก สัดส่วนการส่งออกจากร้อยละ 10.4 ในปี 2010 เพิ่มเป็นร้อยละ 11.2 ของการส่งออกรวมทุกประเทศทั่วโลกในปี 2012 จนสิ้นเดือนมิถุนายน ปี 2013 Non-financial In-bound FDI สะสมเป็น 289,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Non-financial Out-bound FDI สะสมเป็น 191,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
  • 20. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12  ในรายงานยังระบุว่า 4 ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมล้าหลัง  Energy consumption intensity,  Carbon dioxide emissions intensity,  Energy consumption structure,  Nitrogen oxide emissions
  • 21. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ยกตัวอย่างว่า Nitrogen oxide emissions ในแผนฯ 12 กาหนดว่าต้องลดลงร้อยละ 10 2015 ทั่วทั้งประเทศ จีนต้องควบคุมการปริมาณการปล่อย Nitrogen oxide อยู่ที่ 20.462 ล้านตัน ลดลงไปร้อยละ 10 จาก 22.736 ล้านตันในปี 2010 แต่รายงานระบุว่า ปริมาณการปล่อย Nitrogen oxide ในปี 2011 ไม่ลดกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.74 แม่ดัชนีตัวนี้ลดลงไปร้อยละ 2.77 ในปี 2012 ก็ตาม คานวณแล้ว สองปีแรกยังสูงว่าปี 2010 ถึงร้อย ละ 2.82 ดังนั้นให้สามปีหลังต้องลดไปร้อยละ 4.3 ต่อปีเป็นเรื่องยาก
  • 22. 3.ประเมินแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 Energy consumption intensity สองปีแรกลดลงไปร้อยละ 5.5 ถ้าจะบรรลุเป้าหมายร้อยละ 16 สามปีหลัง ต้องลดลงไปร้อยละ 3.84 ต่อปีโดยเฉลี่ย Carbon dioxide emissions intensity เป้าหมายคือลดลงไปร้อยละ 17 สองปีแรกลดลงไปเพียงร้อยละ 6.6 Energy consumption structure ปี 2012Energy consumption structureอยู่ที่ร้อยละ9 สองปีแรกแค่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 บรรลุเป้าหมาย Energy consumption structure ร้อยละ 11.4 สามปีหลังต้องเพิ่มร้อยละ2  นอกจากนี้ คุณภาพอากาศของร้อยละ 60 ของเมืองทั้งหมดไม่ถึงระดับ มาตรฐาน
  • 23. 4.ความสาคัญของแผนฯ13  เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2014 นาย หลี่ เค่อเฉียน นายกรัฐมนตรีจีนได้เรียกกระทรวง ทบวง กรมที่สังกัดคณะรัฐมนตรีประชุมเพื่อวางแผนกาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมฉบับที่ 13 ถือ ว่าเป็นการเปิดฉากของการทาแผนฯฉบับที่ 13
  • 24. 4.ความสาคัญของแผนฯ13  ความสาคัญของแผนฯฉบับที่ 13 แผนฯ ฉบับที่ 13 ตั้งแต่ปี 2016 ถึง 2020 ปี 2020 สาหรับประเทศจีนมีนัยสาคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ  1.ตามแผนยุทธศาสตร์ของจีน GDP ต่อหัวในปี 2020จะเพิ่มอีกหนึ่งเท่าตัวจากปี 2010 ถึง 8760 เหรียญสหรัฐฯ ทาให้ประชาชนอยู่ดีกินดีอย่างทั่วถึง ระบบต่างๆ ของสังคมมีความ สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น มีเสถียรภาพ  2.ปี 2020 ตามแผนยุทธศาสตร์ใหม่ที่เสนอโดยประธานาธิบดี หู จิ่นเทาถือว่าเป็นก้าวใหญ่ก้าว ที่สอง ทาให้ประเทศจีนเข้าไปอยู่ในระดับปานกลางของประเทศพัฒนาแล้วให้ได้  3.ปี 2020 อยู่ในช่วง 30 ปีของระยะที่สาม 30 ปี ระยะที่หนึ่งคือจากปี 1949 ถึง ปี 1980 และ 30ปีระยะที่สองคือ จากปี 1980 ถึงปี 2010 และ 30 ปีระยะที่สามคือจากปี 2010-2040 ประเทศจีนจะครบ 100 ปีในปี 2049 ประเทศจีนต้องทาให้ความฝันของจีนหรือ Chinese Dreams กลายเป็นจริงให้ได้ นั่นคือความเจริญรุ่งเรือง ความอยู่ดีมีสุขของจีน
  • 25. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  1.สร้างระบบควบคุมเชิงมหาภาคอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ปฏิรูประบบราชการเชิงลึกและเชิง กว้างอย่างต่อเนื่อง กาหนดบทบาทของภาครัฐอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นเน้นบทบาทของภาครัฐ คือเป็นการควบคุมเชิงมหาภาค ให้บริการสาธารณะ ควบคุมการตลาด บริหารสังคม อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมตามวิถีความเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีลักษณะมองการณ์ไกล ครบด้าน ประสานทุกฝ่าย มีความเสถียรภาพและคาดการณ์
  • 26. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  2.สร้างระบบราคาปัจจัยการผลิตที่เป็นธรรม มีความก้าวหน้าในบางสาขาอุตสาหกรรม ต้องมี การตัดสินและควบคุมราคาปัจจัยการผลิตตามกฎธรรมชาติของระบบเศรษฐกิจและ สภาพแวดล้อมทั้งและในประเทศ ขณะเดียวกันต้องรับฟังเสียงประชาชนด้วยโดยเฉพาะในเรื่อง ทุน ที่ดิน เทคโนโลยี ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์กรมนุษย์ และทรัพย์กรธรรมชาติ ต้องหา วิธีแก้ไขปัญหาเหล่านี้ซึ่งไม่ได้รับการแก้ไขมาเป็นเวลายาวนาน ผลักดันอัตราดอกเบี้ยตาม กลไกการตลาด อัตราแลกเปลี่ยนตามหลักสากล การซื้อขาย โอนสิทธิ์ที่ดินต้องเป็นไปตาม กฎระเบียบ
  • 27. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  3.เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถของการ แข่งขันในเทวีโลก ทุกวันนี้ พลังงาน ข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศ วัสดุ การผลิตชั้นสูง เทคโนโลยีชีวภาพมีการพัฒนารวดเร็ว สาขาอุตสาหกรรมเหล่านี้ในอนาคตนี้ยังคงมี ความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศต่อไป
  • 28. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  4.พยายามผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจแบบรวมกลุ่มเขตพื้นที่หรือ Cluster เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันในระดับโลก ทาลายการกีดกันระหว่างแต่ละมณฑล แต่ละพื้นที่ ถือ เขตการค้าเสรีเซี่ยงไฮ้เป็นตัวแบบในการพัฒนาและขยายผลสู่เมืองใหญ่ และใช้แนวคิด “สอง เส้นทางหนึ่งสาย” (สองเส้นทางหมายถึงเส้นทางเศรษฐกิจแม่น้าแยงซีเกียงเชื่อมโยงเมืองต่างๆ สองฝั่งแม่น้าและเส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางบกเชื่อมโยงกับตะวันออกกลาง ยุโรป และและ เส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางทะเล)ขยายการค้าและความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เพิ่มขีด ความสามารถของการแข่งขัน
  • 29. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  5.ปฏิรูปและสร้างนวัตกรรมกิจการสังคม เสริมสร้างพื้นฐานแห่งระบบที่เป็นธรรมของสังคม สร้างหลักประกันการจ้างงาน การศึกษา การรักษาพยาบาล กระจายรายได้และประกันสังคม บริการสาธารณะ ผลักดันการปฏิรูปสามะโนครัว ปฏิรูปหน่วยงานรัฐ ระบบรักษาพยาบาล และอสังหาริมทรัพย์เป็นต้น สร้างความสมดุลระหว่างกลุ่มคนทุกชนชั้น ให้แสงสว่างแห่งความ เป็นธรรมของสังคมส่องไปทุกมุมของสังคม
  • 30. 4.สาระสาคัญของแผนฯ 13  พยายามอีก 30 ปีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเศรษฐกิจจีน และเพื่อความรุ่งโรจน์ของ อนาคตจีน การกระทาเช่นนี้ ต้องอยู่บนพื้นฐานที่จัดการความสัมพันธ์ 3 คู่ให้ดี ซึ่งได้แก่
  • 31. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  1.จัดการความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากับความมั่นคงให้ดี การแก้ไขปัญหาที่จีนเผชิญหน้า อยู่ขณะนี้ต้องอาศัยการพัฒนา การปฏิรูปก็คือการพัฒนา ดังนั้น แผนฯฉบับที่ 13 ยังคงต้อง ดาเนินการปฏิรูปเพื่อการพัฒนา แต่การปฏิรูปและการพัฒนาต้องคานึงถึงความมั่นคงของ สังคม ความมั่นคงของสังคมเป็นสิ่งสาคัญมากที่สุด เมื่อสังคมมีความมั่นคง การพัฒนาจึง สามารถขับเคลื่อนไปได้ การปฏิรูปถึงจะได้รับการสนับสนุน
  • 32. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  2.ต้องจัดการความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความเร็วกับผลสาเร็จด้านคุณภาพ หลังจากประเทศ จีนเข้าสู่การพัฒนาในภาวะปกติแล้ว จีนต้องตระหนักว่าในฐานะประเทศใหญ่ประเทศหนึ่ง ต้อง มีการพัฒนาเศรษฐกิจในอัตราที่เหมาะสม ยังต้องอาศัยการพัฒนาเศรษฐกิจมาค้าจุนเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่ของจีน แต่ในขณะเดียวกันต้องรักษาสัดส่วนระหว่างการลงทุน การบริโภค การ ส่งออก การนาเข้าให้ในระดับที่เหมาะสม เพื่อได้มาซึ่งการพัฒนาที่มีคุณภาพ ได้ผลสาเร็จทั้ง ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม
  • 33. 5.สาระสาคัญของแผนฯ 13  3.จัดความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและสังคมกับมนุษย์และธรรมชาติ จากประสบการณ์ เรา สามารถสรุปได้ว่ามีเพียงแต่ปฏิบัติตามกฎแห่งเศรษฐกิจ ถึงได้มีการพัฒนาอย่างเป็น วิทยาศาสตร์ มีเพียงแต่ปฏิบัติตามกฎแห่งธรรมชาติ ถึงได้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีเพียงแต่ ปฏิบัติตามกฎแห่งสังคม ถึงได้มีการพัฒนาอย่างมั่นคง ถ้าหากเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจโดย มองข้ามสิ่งแวดล้อม จะลดดัชนีความสุขของประชาชนและสร้างความไม่เป็นธรรมต่อลูกหลาน ในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาอย่างยั่งยืน อย่างมั่นคงกลายเป็นจุดเน้นของแผนฯฉบับที่ 13
  • 34. 6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย  1.ผู้นาที่ดีที่มีวิสัยทัศน์มีความสาคัญต่อประเทศชาติ ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการพัฒนา อย่างรวดเร็วและสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น เราจะเห็นได้ว่าผู้นาสาคัญต่อประเทศชาติ การมีผู้นาที่ดีที่มีวิสัยทัศน์สามารถนาประเทศชาติก้าวหน้า ประธานเหมาเจ๋อตุงสร้างประเทศ จีนใหม่ เติ้ง เสี่ยวผิงวางยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศจีนใหม่ และผู้นารุ่นต่อๆมาทุกคนมิ วิสัยทัศน์และมีความสามารถในการพัฒนาประเทศชาติภายใต้สถานการณ์ผันผวน
  • 35. 6.นัยสาคัญต่อประเทศไทย  2.การพัฒนาประเทศต้องมีแผนยุทธศาสตร์ และมีแผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว และมี การปฏิบัติตามแผนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากประเทศจีนเป็นพรรคเดียว รัฐบาลมีเสถียรภาพ ซึ่งแตกต่างกันกับประเทศไทย มีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อยครั้ง นโยบายไม่ต่อเนื่อง ขาดแผน ยุทธศาสตร์ที่ดี และขาดแผนระยะยาวหรือมีแผนระยะยาวแต่ไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลแผนเก่าก็ชะงักไป เปลี่ยน นโยบายใหม่และแผนดาเนินการใหม่
  • 36. 5.นัยสาคัญต่อประเทศไทย  3.เนื้อหาที่แผนฯฉบับที่ 13 ที่เสนอมีแนวคิดหลายประการมีคุณค่าต่อการศึกษาเพื่อนาไป ประยุกต์ในการกาหนดแผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปีฉบับที่ 12 ของไทย แนวคิดที่ดีๆเช่นการควบคุมมหาภาค การควบคุมราคาปัจจัยการผลิต ซึ่งประเทศ ไทยตอนนี้ก็ประสบปัญหาผลิตการปัจจัยโดยเฉพาะปัจจัยการผลิตทางการเกษตรศาสตร์แพง จนมีชาวนาพูดว่ายิ่งปลุกข้าวมาก ยิ่งขาดทุนมาก
  • 37. 5.นัยสาคัญต่อประเทศไทย  4.ประเทศไทยสามารถคว้าประโยชน์จากแผนฯฉบับที่ 13 ของจีนได้ประการหนึ่ง จีนยังคง สนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ ประเทศไทยเป็นเป้ าหมายที่สาคัญในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่จีนสนใจมาลงทุน ดังนั้น ประเทศไทยต้องคว้าโอกาสนี้ให้ได้ ประการที่สอง ประธานาธิบดีได้ เสนอ “สองเส้นทางหนึ่งสาย ” ประเทศไทยต้องศึกษาเส้นทางสายไหมทางทะเลหรือเส้นทาง สายไหมศตวรรษที่ 21 ให้ดี ประเทศจีนหวังที่จะฟื้นฟูและพัฒนาความสัมพันธ์ของการค้าทาง ทะเลกับกลุ่มประเทศอาเซียนและแอฟริกาตามลอยเส้นทางสายไหมโบราณ ประเทศไทยมีภูมิ ทาเลที่ได้เปรียบทั้งทางน้าและทางบก ประเทศไทยสามารถตักตวงผลประโยชน์ได้ถ้าหากว่ามี
  • 38. CHINESE DREAM : จีนฝันอะไร ไทยเรียนรู้อะไร  โดย : ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น และดร.หลี่ เหรินเหลียง  http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politic s/opinion/aksornsri/20140605/586296/Chinese- Dream  เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2012 ท่านสี จิ้นผิง ในฐานะผู้นาคนใหม่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ ไปเยี่ยมชมนิทรรศการ “หนทางสู่ความเจริญรุ่งเรือง” ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีนในกรุงปักกิ่ง และได้เอ่ยถึงคาว่า “ความฝันของจีน” โดยกล่าวว่า “ขณะนี้ ทุกคนกาลังถกเถียงถึงความฝัน ของจีน ผมเห็นว่า ชนชาติจีนฟื้นฟูความเจริญรุ่งเรืองที่ยิ่งใหญ่ ก็คือ ความฝันที่ยิ่งใหญ่ของชน ชาติจีน”