SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความหมายและที่มาของความรู้
คำว่ำ ข้อมูล สำรสนเทศ ควำมรู้ และปัญญำ เป็นคำที่มีควำมหมำยคล้ำยคลึงกัน ซึ่ง
ซึ่งผู้เชี่ยวชำญได้ให้รำยละเอียดไว้ดังนี้ บดินทร์ วิจำรณ์ (2550, หน้ำ 113-115)
กล่ำวว่ำ ควำมรู้มีต้นกำเนิดมำจำก ข้อมูล ซึ่งมีควำมหมำยคือ สิ่งที่เกิดจำกกำรสังเกต
สังเกต และเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยยังไม่ผ่ำนกระบวนกำรวิเครำะห์ และ
กลั่นกรอง ขณะที่ สำรสนเทศ คือกลุ่มข้อมูลที่มีกำรจัดกำรที่สำมำรถบ่งบอกถึงสำระ
สำระแนวโน้ม และทิศทำงที่มีควำมหมำยสำมำรถทำกำรวิเครำะห์ได้ แต่สำรสนเทศจะ
สำรสนเทศจะเป็นองค์ควำมรู้ได้ก็ต่อเมื่อสำมำรถตีควำม และทำควำมเข้ำใจกับ
ข้อควำมได้ซึ่งขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถของผู้รับว่ำจะสำมำรถถอดรหัสข่ำวสำร
ดังกล่ำวได้หรือไม่ มีควำมรู้ในด้ำนนี้หรือไม่ หำกตีควำมหรือถอดรหัสได้จะเกิดเป็น
เป็นควำมเข้ำใจ และเป็น ควำมรู้ ในที่สุด ซึ่งเมื่อเข้ำใจหลักกำร วัตถุประสงค์ของ
ควำมรู้อย่ำงถ่องแท้แล้วสำมำรถพัฒนำกำรให้เห็นถึงที่มำของปัญญำได้ในที่สุด ซึ่ง
ซึ่งสำมำรถสรุปรำยละเอียดได้ดังนี้
1 ข้อมูล (data) เป็นข้อเท็จจริงที่ถูกบันทึกลงไป และยังไม่มีการนามาแปล
ความหมาย โดยอาจมีจุดประสงค์เพื่อการตรวจสอบ หรือสอบกลับว่างานมี
ปัญหาหรือมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นบ้าง ถือว่าการบันทึกข้อมูลเป็นเรื่องพื้นฐานที่
ต้องจัดทา เช่น การบันทึกข้อมูลนักศึกษาใหม่ จานวนนักศึกษาแต่ละชั้นปี การ
บันทึกเวลาปฏิบัติงานแต่ละวัน เป็นต้น
2 สารสนเทศ (information) เป็นข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรอง วิเคราะห์ หรือ
สังเคราะห์ ให้ข้อมูลเกิดการตกผลึก มีการแปลงรูปของบันทึกและข้อมูลให้ง่าย
ต่อการทาความเข้าใจมากขึ้น เช่น การรวบรวมเวลาการปฏิบัติงานในแต่ละวัน
เพื่อดูสถิติการมา สาย ลา ขาดการปฏิบัติงาน ผลการเรียนแต่ละภาคเรียนแสดง
เกรดเฉลี่ยโดยภาพรวมของนักศึกษาทั้งหมด เป็นต้น
3 ความรู้ (knowledge) หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากปฏิบัติ ประสบการณ์
ปรากฏการณ์ซึ่งได้ยิน ได้ฟัง การคิดจากการดาเนินชีวิตประจาวันหรือเรียกว่า
เป็นความรู้ที่ได้โดย ธรรมชาติ นอกจากนี้ความรู้ยังได้จากการศึกษาเล่าเรียน การ
ค้นคว้า วิจัย จากการศึกษาองค์วิชาใน แต่ละสาขาวิชา
4 ปัญญา (wisdom) เป็นความรู้ที่มีอยู่นามาคิดหรือต่อยอดให้เกิดคุณค่า หรือ
คุณประโยชน์มากขึ้น เช่น การลดปริมาณของพนักงานที่มาสายทาให้เกิดความ
พึงพอใจแก่ผู้มาใช้บริการมากขึ้น ลดคาร้องเรียน หรือการหาวิธีเพิ่มความรู้ให้แก่
นักศึกษาทาให้นักศึกษาสาเร็จ การศึกษาในปริมาณที่มากขึ้น ถือว่าเป็นการ
ประกันคุณภาพของการศึกษา เป็นต้น
ความหมายของการจัดการสารสนเทศ
กำรจัดกำรสำรสนเทศเกิดจำกกำรแปลงข้อมูลเป็นสำรสนเทศอย่ำงเป็นไปตำมลำดับ
ตำมลำดับและต่อเนื่อง เพื่อให้ได้สำรสนเทศตำมควำมต้องกำรและมีคุณภำพ มี 3
3 ขั้นตอน (สุชำดำ นิภำนันท์, 2551, หน้ำ 67-73) ดังนี้
1 กำรนำเข้ำข้อมูล (input) เป็นขั้นตอนแรกของกำรประมวลผลข้อมูลเป็นสำรสนเทศ
สำรสนเทศจำกกำรดำเนินงำนทำงธุรกิจขององค์กร กำรแลกเปลี่ยนซื้อขำย และกำร
กำรว่ำจ้ำงพนักงำน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนาเข้าสู่การประมวลผล โดยการสร้างและการ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล และมีการบันทึกเป็นหลักฐานไว้ในสื่อประเภท
ต่างๆ ซึ่งข้อมูลที่นาเข้าอาจได้มาจากการเก็บรวบรวมมาจากสภาพแวดล้อมของ
องค์กร
1.2 การจัดระเบียบข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และ
สะดวกในการใช้ข้อมูล มีกระบวนการดังนี้
1) การประเมินคุณค่าของข้อมูล และคัดข้อมูลที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ออก
2) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลที่จะนาเข้าสู่
กระบวนการประมวลผลเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ สมบูรณ์ และอยู่ในรูปแบบที่พร้อม
จะนาเข้า
3) การตรวจแก้ข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความผิดพลาดจากการเก็บรวบรวม
ข้อมูล มักอยู่ในขั้นตอนการนาเข้าเข้ามูล หากพบสิ่งผิดพลาดจะได้ทาการแก้ไข
ก่อน
4) การนาเข้าข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ข้อมูลแบบตัวเลข ข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อาจคัดลอกรายการข้อมูลจากเอกสารต้นฉบับเข้า
เครื่องประมวลผล หรือนาเข้าข้อมูลโดยพิมพ์เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง
และบันทึกไว้ในสื่อจัดเก็บจนกว่าจะถึงเวลาเรียกข้อมูลมาประมวลผล
2 การประมวลผลข้อมูล (data processing) เป็นการจัดดาเนินการทางสถิติ หรือ
การเปลี่ยนข้อมูลที่นาเข้าสู่กระบวนการให้ออกมาเป็นผลลัพธ์ที่ต้องการ หรือเป็น
การสร้างสารสนเทศใหม่จากสารสนเทศเก่าที่นาเข้าสู่กระบวนการประมวลผล
ซึ่งทาได้หลายวิธีดังนี้
2.1 การเรียงลาดับ (arranging)
2.2 การจัดหมวดหมู่ข้อมูล (classify
2.3 การคานวณ (calculation)
2.4 การสรุป (summarizing)
2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis)
3 การจัดเก็บสารสนเทศ (storing) สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลจะถูก
จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บ เพื่อการค้นคืนมาใช้ต่อไป แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
3.1 การจัดเก็บสารสนเทศไว้ที่แหล่งเดียวกัน โดยการจัดรวบรวมข้อมูลของเรื่อง
ต่างๆ จัดระเบียบไว้ตามลาดับชั้นของข้อมูลไว้ที่แหล่งเดียวกันซึ่งเรียกว่า
ฐานข้อมูล
3.2 การจัดเก็บสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากกระบวนการประมวลผลไว้ในสื่อ
จัดเก็บประเภทต่างๆ เพื่อการเรียกใช้อีกภายหลัง ได้แก่ การบันทึกข้อมูลลงแถบ
บันทึกคอมพิวเตอร์ การบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึก และการปรับข้อมูลให้เป็น
ปัจจุบัน
3.3 การสืบค้นเพื่อใช้งาน (retrieval) เป็นกระบวนการในการค้นหาตาแหน่งที่
จัดเก็บสารสนเทศที่ต้องการใช้งานมาใช้งาน หรือหากต้องการเป็นหลักฐานอาจ
สั่งให้พิมพ์สารสนเทศออกมาเป็นเอกสารก็ได้
4 การส่งออกหรือการแสดงผล (output) เป็นกระบวนการของการประมวลผล
ไปสู่บุคคลที่ต้องการนาสารสนเทศไปใช้ในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น ในรูปแบบ
แผนภาพ แผนภูมิ รายงาน และการบันทึกตัวเลขลงบนแผ่นกระดาษ เป็นต้น
5 การสื่อสารสารสนเทศ (information communicating) เป็นการส่งสารสนเทศ
ไปยังบุคคลอื่นหรือสถานที่อื่นโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โทรคมนาคมในการกระจายสารสนเทศไปสู่ผู้ใช้ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
กระบวนการแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศข้างต้นบ่งชี้ได้ว่าข้อมูลจะกลายเป็น
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานได้ทันที เมื่อสารสนเทศนั้นสร้างจากการ
ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการจัดการเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้
งานขององค์กร
ความหมายของการจัดการความรู้
นักวิชำกำรหลำยท่ำนให้ควำมหมำยของคำว่ำ “กำรจัดกำรควำมรู้” ไว้ได้ดังนี้
วิจำรณ์ พำนิช (2555) ให้ควำมหมำยของควำมรู้ ว่ำสำหรับนักปฏิบัติ กำรจัดกำร
ควำมรู้ คือ เครื่องมือ เพื่อกำรบรรลุเป้ ำหมำยอย่ำงน้อย 4 ประกำร ไปพร้อมๆ กัน
ได้แก่ บรรลุเป้ ำหมำยของงำน บรรลุเป้ ำหมำยของกำรพัฒนำคน บรรลุเป้ ำหมำยกำร
กำรพัฒนำองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และบรรลุควำมเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ควำม
ควำมเอื้ออำทรระหว่ำงกันในที่ทำงำน
การจัดการความรู้เป็นการดาเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่
1) การกาหนดความรู้หลักที่จาเป็น หรือสาคัญต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่มหรือ
องค์กร
2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ
3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะต่อการใช้งานของ
ตน
4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน
5) การนาประสบการณ์จากการทางาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ และสกัดขุมความรู้ออกมาบันทึกไว้
6) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุง
เป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน

More Related Content

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง (6)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้

  • 2. ความหมายและที่มาของความรู้ คำว่ำ ข้อมูล สำรสนเทศ ควำมรู้ และปัญญำ เป็นคำที่มีควำมหมำยคล้ำยคลึงกัน ซึ่ง ซึ่งผู้เชี่ยวชำญได้ให้รำยละเอียดไว้ดังนี้ บดินทร์ วิจำรณ์ (2550, หน้ำ 113-115) กล่ำวว่ำ ควำมรู้มีต้นกำเนิดมำจำก ข้อมูล ซึ่งมีควำมหมำยคือ สิ่งที่เกิดจำกกำรสังเกต สังเกต และเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยยังไม่ผ่ำนกระบวนกำรวิเครำะห์ และ กลั่นกรอง ขณะที่ สำรสนเทศ คือกลุ่มข้อมูลที่มีกำรจัดกำรที่สำมำรถบ่งบอกถึงสำระ สำระแนวโน้ม และทิศทำงที่มีควำมหมำยสำมำรถทำกำรวิเครำะห์ได้ แต่สำรสนเทศจะ สำรสนเทศจะเป็นองค์ควำมรู้ได้ก็ต่อเมื่อสำมำรถตีควำม และทำควำมเข้ำใจกับ ข้อควำมได้ซึ่งขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถของผู้รับว่ำจะสำมำรถถอดรหัสข่ำวสำร ดังกล่ำวได้หรือไม่ มีควำมรู้ในด้ำนนี้หรือไม่ หำกตีควำมหรือถอดรหัสได้จะเกิดเป็น เป็นควำมเข้ำใจ และเป็น ควำมรู้ ในที่สุด ซึ่งเมื่อเข้ำใจหลักกำร วัตถุประสงค์ของ ควำมรู้อย่ำงถ่องแท้แล้วสำมำรถพัฒนำกำรให้เห็นถึงที่มำของปัญญำได้ในที่สุด ซึ่ง ซึ่งสำมำรถสรุปรำยละเอียดได้ดังนี้
  • 3. 1 ข้อมูล (data) เป็นข้อเท็จจริงที่ถูกบันทึกลงไป และยังไม่มีการนามาแปล ความหมาย โดยอาจมีจุดประสงค์เพื่อการตรวจสอบ หรือสอบกลับว่างานมี ปัญหาหรือมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นบ้าง ถือว่าการบันทึกข้อมูลเป็นเรื่องพื้นฐานที่ ต้องจัดทา เช่น การบันทึกข้อมูลนักศึกษาใหม่ จานวนนักศึกษาแต่ละชั้นปี การ บันทึกเวลาปฏิบัติงานแต่ละวัน เป็นต้น 2 สารสนเทศ (information) เป็นข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรอง วิเคราะห์ หรือ สังเคราะห์ ให้ข้อมูลเกิดการตกผลึก มีการแปลงรูปของบันทึกและข้อมูลให้ง่าย ต่อการทาความเข้าใจมากขึ้น เช่น การรวบรวมเวลาการปฏิบัติงานในแต่ละวัน เพื่อดูสถิติการมา สาย ลา ขาดการปฏิบัติงาน ผลการเรียนแต่ละภาคเรียนแสดง เกรดเฉลี่ยโดยภาพรวมของนักศึกษาทั้งหมด เป็นต้น
  • 4. 3 ความรู้ (knowledge) หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากปฏิบัติ ประสบการณ์ ปรากฏการณ์ซึ่งได้ยิน ได้ฟัง การคิดจากการดาเนินชีวิตประจาวันหรือเรียกว่า เป็นความรู้ที่ได้โดย ธรรมชาติ นอกจากนี้ความรู้ยังได้จากการศึกษาเล่าเรียน การ ค้นคว้า วิจัย จากการศึกษาองค์วิชาใน แต่ละสาขาวิชา 4 ปัญญา (wisdom) เป็นความรู้ที่มีอยู่นามาคิดหรือต่อยอดให้เกิดคุณค่า หรือ คุณประโยชน์มากขึ้น เช่น การลดปริมาณของพนักงานที่มาสายทาให้เกิดความ พึงพอใจแก่ผู้มาใช้บริการมากขึ้น ลดคาร้องเรียน หรือการหาวิธีเพิ่มความรู้ให้แก่ นักศึกษาทาให้นักศึกษาสาเร็จ การศึกษาในปริมาณที่มากขึ้น ถือว่าเป็นการ ประกันคุณภาพของการศึกษา เป็นต้น
  • 5. ความหมายของการจัดการสารสนเทศ กำรจัดกำรสำรสนเทศเกิดจำกกำรแปลงข้อมูลเป็นสำรสนเทศอย่ำงเป็นไปตำมลำดับ ตำมลำดับและต่อเนื่อง เพื่อให้ได้สำรสนเทศตำมควำมต้องกำรและมีคุณภำพ มี 3 3 ขั้นตอน (สุชำดำ นิภำนันท์, 2551, หน้ำ 67-73) ดังนี้ 1 กำรนำเข้ำข้อมูล (input) เป็นขั้นตอนแรกของกำรประมวลผลข้อมูลเป็นสำรสนเทศ สำรสนเทศจำกกำรดำเนินงำนทำงธุรกิจขององค์กร กำรแลกเปลี่ยนซื้อขำย และกำร กำรว่ำจ้ำงพนักงำน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
  • 6. 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนาเข้าสู่การประมวลผล โดยการสร้างและการ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล และมีการบันทึกเป็นหลักฐานไว้ในสื่อประเภท ต่างๆ ซึ่งข้อมูลที่นาเข้าอาจได้มาจากการเก็บรวบรวมมาจากสภาพแวดล้อมของ องค์กร 1.2 การจัดระเบียบข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และ สะดวกในการใช้ข้อมูล มีกระบวนการดังนี้
  • 7. 1) การประเมินคุณค่าของข้อมูล และคัดข้อมูลที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ออก 2) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลที่จะนาเข้าสู่ กระบวนการประมวลผลเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ สมบูรณ์ และอยู่ในรูปแบบที่พร้อม จะนาเข้า 3) การตรวจแก้ข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความผิดพลาดจากการเก็บรวบรวม ข้อมูล มักอยู่ในขั้นตอนการนาเข้าเข้ามูล หากพบสิ่งผิดพลาดจะได้ทาการแก้ไข ก่อน 4) การนาเข้าข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ข้อมูลแบบตัวเลข ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อาจคัดลอกรายการข้อมูลจากเอกสารต้นฉบับเข้า เครื่องประมวลผล หรือนาเข้าข้อมูลโดยพิมพ์เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง และบันทึกไว้ในสื่อจัดเก็บจนกว่าจะถึงเวลาเรียกข้อมูลมาประมวลผล
  • 8. 2 การประมวลผลข้อมูล (data processing) เป็นการจัดดาเนินการทางสถิติ หรือ การเปลี่ยนข้อมูลที่นาเข้าสู่กระบวนการให้ออกมาเป็นผลลัพธ์ที่ต้องการ หรือเป็น การสร้างสารสนเทศใหม่จากสารสนเทศเก่าที่นาเข้าสู่กระบวนการประมวลผล ซึ่งทาได้หลายวิธีดังนี้ 2.1 การเรียงลาดับ (arranging) 2.2 การจัดหมวดหมู่ข้อมูล (classify 2.3 การคานวณ (calculation) 2.4 การสรุป (summarizing) 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis)
  • 9. 3 การจัดเก็บสารสนเทศ (storing) สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลจะถูก จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บ เพื่อการค้นคืนมาใช้ต่อไป แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 3.1 การจัดเก็บสารสนเทศไว้ที่แหล่งเดียวกัน โดยการจัดรวบรวมข้อมูลของเรื่อง ต่างๆ จัดระเบียบไว้ตามลาดับชั้นของข้อมูลไว้ที่แหล่งเดียวกันซึ่งเรียกว่า ฐานข้อมูล 3.2 การจัดเก็บสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากกระบวนการประมวลผลไว้ในสื่อ จัดเก็บประเภทต่างๆ เพื่อการเรียกใช้อีกภายหลัง ได้แก่ การบันทึกข้อมูลลงแถบ บันทึกคอมพิวเตอร์ การบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึก และการปรับข้อมูลให้เป็น ปัจจุบัน
  • 10. 3.3 การสืบค้นเพื่อใช้งาน (retrieval) เป็นกระบวนการในการค้นหาตาแหน่งที่ จัดเก็บสารสนเทศที่ต้องการใช้งานมาใช้งาน หรือหากต้องการเป็นหลักฐานอาจ สั่งให้พิมพ์สารสนเทศออกมาเป็นเอกสารก็ได้ 4 การส่งออกหรือการแสดงผล (output) เป็นกระบวนการของการประมวลผล ไปสู่บุคคลที่ต้องการนาสารสนเทศไปใช้ในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น ในรูปแบบ แผนภาพ แผนภูมิ รายงาน และการบันทึกตัวเลขลงบนแผ่นกระดาษ เป็นต้น
  • 11. 5 การสื่อสารสารสนเทศ (information communicating) เป็นการส่งสารสนเทศ ไปยังบุคคลอื่นหรือสถานที่อื่นโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โทรคมนาคมในการกระจายสารสนเทศไปสู่ผู้ใช้ตามที่ผู้ใช้ต้องการ กระบวนการแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศข้างต้นบ่งชี้ได้ว่าข้อมูลจะกลายเป็น สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานได้ทันที เมื่อสารสนเทศนั้นสร้างจากการ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการจัดการเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ งานขององค์กร
  • 12. ความหมายของการจัดการความรู้ นักวิชำกำรหลำยท่ำนให้ควำมหมำยของคำว่ำ “กำรจัดกำรควำมรู้” ไว้ได้ดังนี้ วิจำรณ์ พำนิช (2555) ให้ควำมหมำยของควำมรู้ ว่ำสำหรับนักปฏิบัติ กำรจัดกำร ควำมรู้ คือ เครื่องมือ เพื่อกำรบรรลุเป้ ำหมำยอย่ำงน้อย 4 ประกำร ไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้ ำหมำยของงำน บรรลุเป้ ำหมำยของกำรพัฒนำคน บรรลุเป้ ำหมำยกำร กำรพัฒนำองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และบรรลุควำมเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ควำม ควำมเอื้ออำทรระหว่ำงกันในที่ทำงำน
  • 13. การจัดการความรู้เป็นการดาเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่ 1) การกาหนดความรู้หลักที่จาเป็น หรือสาคัญต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่มหรือ องค์กร 2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ 3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะต่อการใช้งานของ ตน 4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน 5) การนาประสบการณ์จากการทางาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และสกัดขุมความรู้ออกมาบันทึกไว้ 6) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุง เป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน