SlideShare a Scribd company logo
ซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยมีหลากหลายเกือบทุกประเภท ได้แก่ สัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ปะการัง หอย ไทรโลไบต์ สัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น เต่า ไดโนเสาร์ ปลา จระเข้ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ส่วนซากพืชพบหลาย ชนิด มีทั้งส่วนของลาต้น ใบ และละอองเรณู นอกจากนี้ยังมีร่องรอยของสัตว์ ดึกดาบรรพ์ เช่น รอยเท้า และรอยทางเดินของไดโนเสาร์ รูและรอยชอนไช ของหนอน ซากดึกดาบรรพ์เก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศไทย คือ ซากไทรโลไบต์ มีอายุราว ๕๐๐ ล้านปี พบที่เกาะตะรุเตา ส่วนซากดึกดาบรรพ์ ที่มีอายุใหม่ ได้แก่ ซากหอยนางรมยักษ์ ที่พบจากชุดดินกรุงเทพฯ มีอายุเพียง ๕,๕๐๐ ปี
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ เกาะตะรุเตา อ.ละงู จ.สตูล 
ในที่นี้จะกล่าวถึงซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยเพื่อให้เห็นเป็นตัวอย่าง โดยเรียงลาดับ 
ตามอายุทางธรณีวิทยาจากเก่าสุด ไปหาใหม่สุด ดังนี้
ซากดึกดาบรรพ์ในมหายุคพาลีโอโซอิก 
๑. แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อาเภอละงู จังหวัดสตูล 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อยู่ห่างจากตัวจังหวัดสตูลไปทางทิศตะวันตก ราว ๔๕ กิโลเมตร เป็นบริเวณ ที่มีซากดึกดาบรรพ์ อายุเก่าแก่ ที่สุดในประเทศไทย มีการสะสมตัวตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนตอนปลาย ต่อเนื่องมา จนถึงยุคออร์โดวิเชียนตอนต้น ราว ๕๐๐ - ๔๗๐ ล้านปี มาแล้ว ได้พบซากดึกดาบรรพ์ในชั้นหินดินดาน และ หินทรายจากหลายบริเวณ บนเกาะตะรุเตา ได้แก่ อ่าวตะโละโต๊ะโป๊ะ อ่าวตะโละอุดัง และอ่าวมะละกา เป็นสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ไทรโลไบต์ บราคิโอพอด นอติลอยด์ และร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ 
ไทรโลไบต์ ซึ่งมีอายุราว ๕๐๐ ล้านปี พบที่เกาะตะรุเตา
ไทรโลไบต์ 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) พวกเดียวกับกุ้ง ปู ที่เรียกชื่อว่า ไทรโลไบต์ เนื่องจากลาตัวแบ่งได้เป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนแกนลาตัว และอีก ๒ ส่วนด้านข้างลาตัว รูปลักษณะ คล้ายกับแมงดาทะเลปัจจุบัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ตั้งแต่ขนาดไม่กี่มิลลิเมตร จนถึง ๙๐ เซนติเมตร ไทรโลไบต์อาศัยอยู่ในทะเลตื้น และตามแนวปะการัง พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น สูญพันธุ์ไปเมื่อปลายยุคเพอร์เมียน ไทรโลไบต์ที่พบบนเกาะตะรุเตา มีบางชนิด เป็นชนิดใหม่ที่เพิ่งพบ ในโลก เช่น Parakoldinioidiathaiensis, Thailandiumsolumและ Eosaukiaburavasi
บราคิโอพอด 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมบราคิโอโพดา (Brachiopoda) ส่วนใหญ่เป็นพวกเกาะติดที่ (sessile) ตาม หิน หรือวัตถุ ที่อยู่บนพื้นทะเลบริเวณน้าตื้น มีลักษณะคล้ายหอยกาบคู่ เช่น หอยแครง แต่ต่างกันที่ เปลือกทั้ง ๒ ฝา ที่มีขนาดไม่เท่ากัน แต่ฝาเดียวกันจะมีลักษณะด้านซ้าย และด้านขวาสมมาตรกัน เปลือกมีขนาดประมาณ ๒ - ๗ เซนติเมตร พบแพร่หลายมาก ในมหายุคพาลีโอโซอิก บราคิโอพอดที่ พบบนเกาะตะรุเตามีไม่มากนัก และมีขนาดเล็ก เช่น สกุล อะพีออร์ทิส (Apheorthissp.) 
แบรคิโอพอดพบในชั้นหินทรายสีแดงที่เกาะตะรุเตา
นอติลอยด์ 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา (Mollusca) หรือสัตว์จาพวก หอย ชั้นเซฟาโลโพดา (Cephalopoda) กลุ่ม เดียวกับปลาหมึกในปัจจุบัน พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิก ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงชนิดเดียว คือ หอยนอติลุส เป็นสัตว์กินเนื้อ ลาตัวแบ่งเป็นห้องๆ โดยมีผนังกั้นห้อง ส่วนใหญ่ลอยอยู่บนผิวน้า ทาให้พบได้ทั้งบริเวณทะเลตื้นและทะเลลึก 
ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ 
คือ ร่องรอยที่เกิดจากการทากิจกรรมของสัตว์ เช่น รู หรือรอยชอนไชของสัตว์ในดิน เพื่ออยู่อาศัย หรือเพื่อหาอาหาร สัตว์ต่างชนิดกัน จะขุดรู และมีแนวทางการชอนไช เพื่อหาอาหารที่ต่างกัน ที่เกาะตะรุเตา พบร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์หลายชนิด ในหินทรายสีแดง เช่น รอยทางเดิน ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และรอยชอนไชของหนอน สกุลGordiasp. ซึ่งเป็นรอยวนกลมๆ 
รอยชอนไชของหนอน พบที่เกาะตะรุเตา
๒. แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่าเสม็ด อาเภอละงู จังหวัดสตูล 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่าเสม็ด อยู่ห่างจากตัวเมืองสตูลไปทางทิศเหนือประมาณ ๔๕ กิโลเมตร เป็น บริเวณที่ค้นพบ ซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ แกรปโทไลต์ (Graptolite) และเทนทาคูไลต์ (Tentaculite) อายุราว ๔๐๐ - ๓๘๕ ล้านปี ในยุคดีโวเนียน 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ บ้านป่าเสม็ด อ.ละงู จ.สตูล เป็นบริเวณที่ค้นพบซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด
แกรปโทไลต์ 
เป็นสัตว์ทะเลที่ลอยอยู่ บนผิวน้า ซากดึกดาบรรพ์ที่พบ ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายรอยพิมพ์บางๆ บน หินดินดาน สีดา หรือมีรูปร่างคล้ายกิ่งไม้ แกรปโทไลต์ถือเป็นซากดึกดาบรรพ์ดัชนี เนื่องจาก พบมาก ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนถึงยุคดีโวเนียน ซากดึกดาบรรพ์แกรปโทไลต์ที่ พบในบริเวณนี้ ได้แก่ สกุล Diplograptussp. และ Climacograptussp. อยู่ ในหินดินดานสีดา
เทนทาคูไลต์ 
เป็นสัตว์ทะเลขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายหอยขนาดเล็ก เป็นรูปกรวย ยาว มีโคนกว้าง และมียอด แหลม พบมากในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ที่พบจานวนมากในบริเวณนี้ ได้แก่ Nowakiasp. และ Styliolinasp. 
เทนทาคูไลต์ ลักษณะคล้ายหอยขนาดเล็ก
๓. 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน ตั้งอยู่บริเวณชายทะเลบ้านเขาถ่าน อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชุมพรไปทางทิศใต้ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร เป็นเขาหินปูน สลับกับหินดินดาน มีอายุตั้งแต่ยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนปลายจน ถึงยุคเพอร์เมียนตอนต้น ราว ๓๐๐ - ๒๗๐ ล้านปี มาแล้ว พบซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ หอยกาบคู่ ไบรโอซัว ไครนอยด์ บราคิโอพอด ฟองน้า และร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ 
หอยกาบคู่ 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา หรือสัตว์จาพวกหอย ประกอบด้วย ฝาหอย ๒ ฝาที่มีขนาดฝาเท่ากัน แต่มีด้านซ้าย และ ด้านขวาของฝาเดียวกัน ไม่สมมาตรกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่พื้นทะเลในบริเวณทะเลตื้น โดยพบตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน หอย ๒ ฝาที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Pectensp.
ไบรโอซัว 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ใน ไฟลัมไบรโอซัว (Bryozoa) ชอบอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ในบริเวณทะเลตื้น น้าใส แต่อาจพบบ้าง ในแหล่ง น้าจืด ส่วนใหญ่ยึดติดอยู่กับพื้นทะเล แต่สามารถเคลื่อนที่ช้าๆ ได้โดยรอบ มีรูปร่างหลายแบบ บ้างเป็นแผ่นบางๆ ติดอยู่กับก้อน หินหรือเปลือกหอย บ้างมีรูปร่างคล้ายต้นไม้ขนาดเล็ก พบตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนจนถึงปัจจุบัน แต่พบมาก ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ไบรโอซัวที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Fenestellasp.และ Polyporasp. 
ไครนอยด์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมเอคิโนเดอร์มาตา (Echinodermata) มีรูปร่างคล้ายต้นไม้ บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า พลับพลึง ทะเล ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน คือ ส่วนหัวมีลักษณะคล้ายดอก เป็นพุ่ม ส่วนลาต้นประกอบด้วยแว่น หรือท่อนกลม มีรู ตรงกลางซ้อนต่อกัน และส่วนล่างสุดคล้ายรากไม้แผ่กระจายออกไป ทาหน้าที่ยึดเกาะกับพื้นทะเล พบแพร่หลายในมหายุคพาลีโอ โซอิก ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่พบเพียงชิ้นส่วนของก้านที่หลุดออกมาเป็นแว่นๆ 
ไครนอยด์ บางครั้งเรียกว่า พลับพลึงทะเล
ฟองนา เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมโพริเฟอรา (Porifera) มีพบอยู่บ้างในน้าจืด มีลักษณะโครงสร้างประกอบด้วยรูพรุน ทั้งลาตัว ทา ให้น้าไหลผ่านเข้าสู่กลางลาตัว ซึ่งมีลักษณะคล้ายถุง สามารถกรองอาหาร พบตั้งแต่ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน 
ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ ที่พบในบริเวณเขาถ่าน ส่วนใหญ่เป็นร่องรอยการชอนไช ของหนอนสกุล Helminthopsissp. 
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน อ.สวี จ.ชุมพร ตั้งอยู่บริเวณชายทะเล
จัดทำโดย 
นำย อภิชำติ เบะกิ 
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1 เลขที่ 5 
เสนอ 
อำจำรย์ ธันยำภรณ์ ศักดิ์รำมินทร์

More Related Content

What's hot

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
Natee Tasanakulwat
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
Ta Lattapol
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
Taweesak Poochai
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
Caterpillar
CaterpillarCaterpillar
Caterpillar
icechat
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
Pl'nice Destiny
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
just2miwz
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
Fah Philip
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
supatthra1111
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
AmmyMoreen
 
อัญมณี 15 สไลด์
อัญมณี 15 สไลด์อัญมณี 15 สไลด์
อัญมณี 15 สไลด์
guest09a487
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
cgame002
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
Taweesak Poochai
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (19)

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Caterpillar
CaterpillarCaterpillar
Caterpillar
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
นักโบราณคดีและนักวิจัยทั่วโลกต่างทำงานหนักเพื่อขุดค้นหลักฐานใหม่ๆ ที่ทำให้เรา...
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
 
อัญมณี 15 สไลด์
อัญมณี 15 สไลด์อัญมณี 15 สไลด์
อัญมณี 15 สไลด์
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 

Similar to ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย

Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
newja
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
kruying pornprasartwittaya
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
sirieiei
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ponderingg
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
แมงมุม
แมงมุมแมงมุม
แมงมุม
icon753951
 
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
โนเนม กานต์ภพ
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ssuserd22157
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
niralai
 

Similar to ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย (20)

ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
แมงมุม
แมงมุมแมงมุม
แมงมุม
 
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 

ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย

  • 1. ซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยมีหลากหลายเกือบทุกประเภท ได้แก่ สัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ปะการัง หอย ไทรโลไบต์ สัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น เต่า ไดโนเสาร์ ปลา จระเข้ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ส่วนซากพืชพบหลาย ชนิด มีทั้งส่วนของลาต้น ใบ และละอองเรณู นอกจากนี้ยังมีร่องรอยของสัตว์ ดึกดาบรรพ์ เช่น รอยเท้า และรอยทางเดินของไดโนเสาร์ รูและรอยชอนไช ของหนอน ซากดึกดาบรรพ์เก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศไทย คือ ซากไทรโลไบต์ มีอายุราว ๕๐๐ ล้านปี พบที่เกาะตะรุเตา ส่วนซากดึกดาบรรพ์ ที่มีอายุใหม่ ได้แก่ ซากหอยนางรมยักษ์ ที่พบจากชุดดินกรุงเทพฯ มีอายุเพียง ๕,๕๐๐ ปี
  • 2. แหล่งซากดึกดาบรรพ์ เกาะตะรุเตา อ.ละงู จ.สตูล ในที่นี้จะกล่าวถึงซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยเพื่อให้เห็นเป็นตัวอย่าง โดยเรียงลาดับ ตามอายุทางธรณีวิทยาจากเก่าสุด ไปหาใหม่สุด ดังนี้
  • 3. ซากดึกดาบรรพ์ในมหายุคพาลีโอโซอิก ๑. แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อาเภอละงู จังหวัดสตูล แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อยู่ห่างจากตัวจังหวัดสตูลไปทางทิศตะวันตก ราว ๔๕ กิโลเมตร เป็นบริเวณ ที่มีซากดึกดาบรรพ์ อายุเก่าแก่ ที่สุดในประเทศไทย มีการสะสมตัวตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนตอนปลาย ต่อเนื่องมา จนถึงยุคออร์โดวิเชียนตอนต้น ราว ๕๐๐ - ๔๗๐ ล้านปี มาแล้ว ได้พบซากดึกดาบรรพ์ในชั้นหินดินดาน และ หินทรายจากหลายบริเวณ บนเกาะตะรุเตา ได้แก่ อ่าวตะโละโต๊ะโป๊ะ อ่าวตะโละอุดัง และอ่าวมะละกา เป็นสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ไทรโลไบต์ บราคิโอพอด นอติลอยด์ และร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ ไทรโลไบต์ ซึ่งมีอายุราว ๕๐๐ ล้านปี พบที่เกาะตะรุเตา
  • 4. ไทรโลไบต์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) พวกเดียวกับกุ้ง ปู ที่เรียกชื่อว่า ไทรโลไบต์ เนื่องจากลาตัวแบ่งได้เป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนแกนลาตัว และอีก ๒ ส่วนด้านข้างลาตัว รูปลักษณะ คล้ายกับแมงดาทะเลปัจจุบัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ตั้งแต่ขนาดไม่กี่มิลลิเมตร จนถึง ๙๐ เซนติเมตร ไทรโลไบต์อาศัยอยู่ในทะเลตื้น และตามแนวปะการัง พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น สูญพันธุ์ไปเมื่อปลายยุคเพอร์เมียน ไทรโลไบต์ที่พบบนเกาะตะรุเตา มีบางชนิด เป็นชนิดใหม่ที่เพิ่งพบ ในโลก เช่น Parakoldinioidiathaiensis, Thailandiumsolumและ Eosaukiaburavasi
  • 5. บราคิโอพอด เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมบราคิโอโพดา (Brachiopoda) ส่วนใหญ่เป็นพวกเกาะติดที่ (sessile) ตาม หิน หรือวัตถุ ที่อยู่บนพื้นทะเลบริเวณน้าตื้น มีลักษณะคล้ายหอยกาบคู่ เช่น หอยแครง แต่ต่างกันที่ เปลือกทั้ง ๒ ฝา ที่มีขนาดไม่เท่ากัน แต่ฝาเดียวกันจะมีลักษณะด้านซ้าย และด้านขวาสมมาตรกัน เปลือกมีขนาดประมาณ ๒ - ๗ เซนติเมตร พบแพร่หลายมาก ในมหายุคพาลีโอโซอิก บราคิโอพอดที่ พบบนเกาะตะรุเตามีไม่มากนัก และมีขนาดเล็ก เช่น สกุล อะพีออร์ทิส (Apheorthissp.) แบรคิโอพอดพบในชั้นหินทรายสีแดงที่เกาะตะรุเตา
  • 6. นอติลอยด์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา (Mollusca) หรือสัตว์จาพวก หอย ชั้นเซฟาโลโพดา (Cephalopoda) กลุ่ม เดียวกับปลาหมึกในปัจจุบัน พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิก ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงชนิดเดียว คือ หอยนอติลุส เป็นสัตว์กินเนื้อ ลาตัวแบ่งเป็นห้องๆ โดยมีผนังกั้นห้อง ส่วนใหญ่ลอยอยู่บนผิวน้า ทาให้พบได้ทั้งบริเวณทะเลตื้นและทะเลลึก ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ คือ ร่องรอยที่เกิดจากการทากิจกรรมของสัตว์ เช่น รู หรือรอยชอนไชของสัตว์ในดิน เพื่ออยู่อาศัย หรือเพื่อหาอาหาร สัตว์ต่างชนิดกัน จะขุดรู และมีแนวทางการชอนไช เพื่อหาอาหารที่ต่างกัน ที่เกาะตะรุเตา พบร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์หลายชนิด ในหินทรายสีแดง เช่น รอยทางเดิน ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และรอยชอนไชของหนอน สกุลGordiasp. ซึ่งเป็นรอยวนกลมๆ รอยชอนไชของหนอน พบที่เกาะตะรุเตา
  • 7. ๒. แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่าเสม็ด อาเภอละงู จังหวัดสตูล แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่าเสม็ด อยู่ห่างจากตัวเมืองสตูลไปทางทิศเหนือประมาณ ๔๕ กิโลเมตร เป็น บริเวณที่ค้นพบ ซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ แกรปโทไลต์ (Graptolite) และเทนทาคูไลต์ (Tentaculite) อายุราว ๔๐๐ - ๓๘๕ ล้านปี ในยุคดีโวเนียน แหล่งซากดึกดาบรรพ์ บ้านป่าเสม็ด อ.ละงู จ.สตูล เป็นบริเวณที่ค้นพบซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด
  • 8. แกรปโทไลต์ เป็นสัตว์ทะเลที่ลอยอยู่ บนผิวน้า ซากดึกดาบรรพ์ที่พบ ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายรอยพิมพ์บางๆ บน หินดินดาน สีดา หรือมีรูปร่างคล้ายกิ่งไม้ แกรปโทไลต์ถือเป็นซากดึกดาบรรพ์ดัชนี เนื่องจาก พบมาก ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนถึงยุคดีโวเนียน ซากดึกดาบรรพ์แกรปโทไลต์ที่ พบในบริเวณนี้ ได้แก่ สกุล Diplograptussp. และ Climacograptussp. อยู่ ในหินดินดานสีดา
  • 9. เทนทาคูไลต์ เป็นสัตว์ทะเลขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายหอยขนาดเล็ก เป็นรูปกรวย ยาว มีโคนกว้าง และมียอด แหลม พบมากในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ที่พบจานวนมากในบริเวณนี้ ได้แก่ Nowakiasp. และ Styliolinasp. เทนทาคูไลต์ ลักษณะคล้ายหอยขนาดเล็ก
  • 10. ๓. แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน อาเภอสวี จังหวัดชุมพร แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน ตั้งอยู่บริเวณชายทะเลบ้านเขาถ่าน อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชุมพรไปทางทิศใต้ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร เป็นเขาหินปูน สลับกับหินดินดาน มีอายุตั้งแต่ยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนปลายจน ถึงยุคเพอร์เมียนตอนต้น ราว ๓๐๐ - ๒๗๐ ล้านปี มาแล้ว พบซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ หอยกาบคู่ ไบรโอซัว ไครนอยด์ บราคิโอพอด ฟองน้า และร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ หอยกาบคู่ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา หรือสัตว์จาพวกหอย ประกอบด้วย ฝาหอย ๒ ฝาที่มีขนาดฝาเท่ากัน แต่มีด้านซ้าย และ ด้านขวาของฝาเดียวกัน ไม่สมมาตรกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่พื้นทะเลในบริเวณทะเลตื้น โดยพบตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน หอย ๒ ฝาที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Pectensp.
  • 11. ไบรโอซัว เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ใน ไฟลัมไบรโอซัว (Bryozoa) ชอบอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ในบริเวณทะเลตื้น น้าใส แต่อาจพบบ้าง ในแหล่ง น้าจืด ส่วนใหญ่ยึดติดอยู่กับพื้นทะเล แต่สามารถเคลื่อนที่ช้าๆ ได้โดยรอบ มีรูปร่างหลายแบบ บ้างเป็นแผ่นบางๆ ติดอยู่กับก้อน หินหรือเปลือกหอย บ้างมีรูปร่างคล้ายต้นไม้ขนาดเล็ก พบตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนจนถึงปัจจุบัน แต่พบมาก ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ไบรโอซัวที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Fenestellasp.และ Polyporasp. ไครนอยด์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมเอคิโนเดอร์มาตา (Echinodermata) มีรูปร่างคล้ายต้นไม้ บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า พลับพลึง ทะเล ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน คือ ส่วนหัวมีลักษณะคล้ายดอก เป็นพุ่ม ส่วนลาต้นประกอบด้วยแว่น หรือท่อนกลม มีรู ตรงกลางซ้อนต่อกัน และส่วนล่างสุดคล้ายรากไม้แผ่กระจายออกไป ทาหน้าที่ยึดเกาะกับพื้นทะเล พบแพร่หลายในมหายุคพาลีโอ โซอิก ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่พบเพียงชิ้นส่วนของก้านที่หลุดออกมาเป็นแว่นๆ ไครนอยด์ บางครั้งเรียกว่า พลับพลึงทะเล
  • 12. ฟองนา เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมโพริเฟอรา (Porifera) มีพบอยู่บ้างในน้าจืด มีลักษณะโครงสร้างประกอบด้วยรูพรุน ทั้งลาตัว ทา ให้น้าไหลผ่านเข้าสู่กลางลาตัว ซึ่งมีลักษณะคล้ายถุง สามารถกรองอาหาร พบตั้งแต่ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ ที่พบในบริเวณเขาถ่าน ส่วนใหญ่เป็นร่องรอยการชอนไช ของหนอนสกุล Helminthopsissp. แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน อ.สวี จ.ชุมพร ตั้งอยู่บริเวณชายทะเล
  • 13. จัดทำโดย นำย อภิชำติ เบะกิ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1 เลขที่ 5 เสนอ อำจำรย์ ธันยำภรณ์ ศักดิ์รำมินทร์