SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
บทที่ 2
                เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง

      ใน การวิจัยครั้งนี้ การใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม
ด้ านความมี นำ้า ใจของนั ก เรี ย น และเพื่ อ ให้ เ กิ ด แนวความคิ ด ใน
การศึ ก ษา ผู้วิ จัย ได้ รวบรวมเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
งานวิจัย ซึ่งได้นำาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้
      1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิธีการสอนโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม
      2. เอกสารเกี่ยวข้องกับความมีนำ้าใจ
      2.1 ความหมายของความมีนำ้าใจ
      2.2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความมีนำ้าใจ
      2.3 ลักษณะของผู้ที่มีความมีนำ้าใจ
      3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      3.1 งานวิจัยในต่างประเทศ
      3.2 งานวิจัยในประเทศ

        1. เอกสารที่เ กี่ย วข้อ งกับ วิธ ีก ารสอนโดยใช้ก ิจ กรรม
กลุ่ม
       กำา หนดทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานที่จำา เป็นต่ อการดำา รง
ชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ มี 3 ด้าน คือ
       1. ทักษะพื้นฐานที่จำา เป็นต่อการเรียนรู้ ในอนาคต ได้แก่ มี
ทักษะการเรียนรู้ทักษะการคิด และทักษะการสื่อสาร
       2. ทักษะพื้นฐานที่จำา เป็นต่อการทำา งาน ได้แก่ มีทักษะการ
จัดการ ทำางานร่วมกับผู้อื่นได้
       ขยัน อดทน อดออมและประหยัด
       3. ลักษณะที่จำาเป็นต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ได้แก่ ควบคุม
ตนเองได้มีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่น เสีย
สละ มุ่งมั่นพัฒนา
       สำา นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540: 1-6)
ได้ กำา หนดคุ ณ ลั ก ษณะของเด็ ก และเยาวชนที่ พึ ง ประสงค์ 5
ประการ ดังนี้
       1. มีความสนใจใฝ่รู้และสร้างสรรค์
       2. มีความมีนำ้าใจ
       3. มีความมีวินัย
       4. มีความเป็นไทย
       5. มีการบริโภคด้วยปัญญาในวิถีชีวิตไทย
กรมวิชาการ (2541: 9) ได้ให้ความหมายคุณลักษณะของ
พลโลกในอนาคต สรุปได้ดังนี้
       1. สามารถนำา ความรู้ ม าประยุ กต์ ใช้ ในการประกอบอาชี พ
และการดำารงชีวิตประจำาวันได้
       2. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
       3. ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ย อ ม รั บ ใ น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ด้ า น
วัฒนธรรม
       4. สามารถทำา งานร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น และรั บ ผิ ด ชอบต่ อ บทบาท
หน้าที่ของตนในสังคม
       5. สามารถมองเห็นปัญหาในฐานะที่ เป็นสมาชิ กของสังคม
ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศระดับโลก และเต็มใจที่จะแก้ปัญหาข้อ
ขัดแย้งด้วยสันติวิธี
       6. เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิต และนิสัยในการบริโภคของตน
เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
และสร้างคุณภาพชีวิตผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยงานต่างๆ
         (กรมวิชาการ. 2541: 11) ได้กำาหนดคุณลักษณะของเด็ก
ไทยในอนาคตที่พึงประสงค์ ดังนี้
       1. มี สุข ภาพอนามั ย ที่ ดี แข็ ง แรง สมบู ร ณ์ มี สุ ข นิ สั ย ที่ ดี ใ น
การบริโภค เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างคุณภาพชีวิต
       2. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเอง ครอบครั ว ชุ ม ชน สั ง คม
สามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้และเต็มใจที่จะแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง
ด้ ว ยสั น ติ วิ ธี มี ส่ ว นร่ ว มพั ฒ นาการเมื อ งในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ
ประเทศ และระดับโลก
       3. มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำา หลักธรรมทางศาสนา
มาใช้ในการดำารงชีวิตเพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
       4. สามารถนำาความรู้ ความสามารถและทักษะมาประยุกต์ใช้
ในการประกอบอาชีพและการดำารงชีวิต
       5. มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล สร้างความเข้าใจ มี
ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ รู้ วิ ธี แ ก้ ปั ญ หาอย่ า งเป็ น
ระบบและมีเหตุผล
       6. มีจิตสำานึกภูมิใจในความเป็นไทย สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ยอมรับในความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
       7. สามารถต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคมไทยโดยสันติวิธี
       ก ร ม วิ ช า ก า ร (2542: 4) ไ ด้ กำา ห น ด จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสมดุล ทั้งด้าน
จิ ต ใจ ร่ า งกาย ปั ญ ญาและสั ง คม โดยกำา หนดคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง
ประสงค์ที่มุ่งปลูกฝังให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ดังนี้
       1. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม สามารถทำา งานและดำา รง
ชีวิตอยู่ในสังคมไทย
       2. มีสขภาพและบุคลิกภาพดี มีสุนทรียภาพ
              ุ
       3. มีความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา มีความเป็นผู้นำา
และมีวิสัยทัศน์
       4. มี ค วามภู มิ ใ จในความเป็ น ไทยและเป็ น พลเมื อ งดี ต าม
ระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีความพร้อมที่จะร่วมมื ออย่างสร้ างสรรค์ ในการพัฒนาสั งคม
และสิ่งแวดล้อมและ
สามารถแข่งขันอย่างสันติในสังคมโลก

        2. เอกสารเกี่ย วกับ ความมีน ำ้า ใจ
        2.1 ความหมายของความมีน ำ้า ใจ
        ความมีนำ้าใจเป็นคุณลักษณะที่สำาคัญที่พึงมีในตัวบุคคลและ
เป็ น คุ ณ ธรรมที่ สำา คั ญ ประการหนึ่ ง สำา หรั บ คนไทย ซึ่ ง ได้ มี ผู้ ใ ห้
ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ว า ม มี นำ้า ใ จ ไ ว้ ดั ง นี้ พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546: 580) ได้ให้ความหมาย
ว่า“นำ้า ใจ” คือ ใจแท้ๆ ใจจริง ความจริงใจ เช่น เห็นนำ้า ใจ นิสัย
ใจคอ เช่น นำ้าใจพ่อ นำ้าใจแม่ความเอื้อเฟื้อ
        ประดับ เรืองมาลัย (2519: 56) ได้ให้ความหมายว่า “ความ
มีนำ้า ใจ” คือความต้องการช่วยเหลือเพื่อนเวลาเขาเดือดร้อ น มัก
ยกโทษให้แก่เพื่อน ชอบทำาอะไรเล็กๆ น้อยๆ ให้ผู้อื่น มีนำ้าใจต่อผู้
อื่น เห็นใจเวลาผู้อื่นได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วย แสดงความรักใคร่
ชอบพอต่อผู้อื่น ชอบให้ผู้อื่นเล่าเรื่องปัญหาส่วนตัวให้ฟั งพรรณ
ราย ทรัพยะประภา (2529: 184) ได้ให้ความหมายของ “ความมี
นำ้า ใจ” ว่ า คื อ ส่ ว นที่ มี เ มตากรุ ณ า ชอบช่ ว ยเหลื อ ผู้ อื่ น ปกป้ อ ง
คุ้มครองผู้อื่นหรือมีความเห็นอกเห็นใจมีนำ้าใจดีต่อผู้อื่น เช่นเดียว
กับที่พ่อแม่แสดงต่อลูก ผู้บังคับบัญชาที่มีลักษณะเช่นนี้เด่นชัดก็จะ
มีความเมตตาปราณีต่อลูกน้อง ผู้ให้บริการถ้ามีลักษณะเช่นนี้เด่น
ชัดก็จะให้บริการอย่างเต็มที่เพื่อช่วย เหลือผู้มารับบริการ
        พระเผด็จ ทัตตชีโว (2531: 59-61) ได้ให้ความหมายของ
ความนำ้า ใจ ใน 2 ลักษณะคือในทางโลกและในทางธรรมในทาง
โลก ความมี นำ้า ใจ หมายถึ ง พอจะช่ ว ยอะไรใครก็ ช่ ว ยไปเถอะ
อย่าหวงแรงธรรมชาติของคนนั้นแปลกยิ่งออกแรงยิ่งได้แรง ถ้าไม่
อย่ า งนั้ น แล้ ว นั ก กี ฬ าเขาจะวิ่ ง ทำา ไม โลหิ ต ที่ บ ริ จ าคไปนั้ น ย่ อ ม
ทำาให้เกิดโลหิตใหม่ขึ้นมาแทนและมีคุณภาพสูงกว่า เดิมด้วย ถ้า
เราแล้งนำ้าใจหวงแรงกลัวเหนื่อยกลัวเหงื่อออก ระวังเถอะถ้าเหงื่อ
ไม่ อ อกแล้ว มัน จะตกใน วั น คื น ดี ก็ จ ะทะลั กออกมาเองแต่ อ อกมา
ทางตากลายเป็นนำ้า ตา เพราะเหตุ ว่าถึ งคราวที่ เราต้ องการความ
ช่วยเหลือ จากคนอื่นก็ไม่มีใครเขาให้ความช่วยเหลือ ถ้าสามารถ
ช่ ว ยได้ ก็ ช่ ว ยเขาไปไม่ ว่ า จะช่ ว ยด้ ว ยแรงกาย แรงใจ หรื อ แรง
ทรั พ ย์ ข องเรา แต่ อ ย่ า ช่ ว ยเสี ย จนกระทั่ ง ตั ว เองต้ อ งพลอยเดื อ ด
ร้ อ นไปด้ ว ยในทางธรรม ความมี นำ้า ใจ หมายถึ ง เป็ น ผู้ มี ค วาม
กตั ญญูรู้คุณคน ใครมีอุปการะก็ ต้อ งหาทางไปตอบแทนพระคุณ
ท่ า น นอกจากตอบแทนผู้ มี พ ระคุ ณ แล้ ว ก็ บำา เพ็ ญ ตนให้ เ ป็ น
ประโยชน์ต่อ สัง คมในโอกาสอั น ควร อย่ างนี้ จึ ง เรี ย กว่ า เป็ นผู้ ไม่
แล้งนำ้าใจต่อศาสนาและสังคม
         ทวี ศั ก ดิ์ ญาณประที ป ; และคนอื่ น ๆ (2531: 282) ได้ ใ ห้
ความหมายของคำาว่า “นำ้าใจ” ไว้ในหนังสือพจนานุกรมเฉลิมพระ
เกรียติพุทธศักราช 2530 ว่า หมายถึง ใจจริง นิสัยใจคอ ความ
เอื้อเฟื้อ
         กนก จันทร์ขจร (2533: 287) ได้ให้ความหมายว่า “นำ้าใจ”
คืออุปนิสัยใจคอแท้ๆ ของคนที่รู้จักระลึ กถึงผู้อื่นเรี ยกว่ า มีนำ้า ใจ
ส่วนผู้ที่มุ่งคิดเฉพาะแต่ตนเองเป็นที่ตั้งไม่รู้จักถึงผู้อื่นบ้างเรียกว่า
ไม่มีนำ้าใจหรือขาดนำ้าใจ ผู้ที่มีนำ้าใจนั้นเป็นผู้ที่เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
เห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเดือดร้อนต้องการความช่วยเหลือก็
รั บ เป็ น ภาระ ให้โดยไม่ห วั ง ผลตอบแทน เช่ น ลุ กให้ ที่ นั่ งแก่ เด็ ก
สตรี คนชรา บนรถประจำา ทาง เป็ น ต้ น ตามชนบท ชาวบ้ า นจะ
ช่ ว ยกั น ที่ เ รี ย กว่ า “ลงแขก” เป็ น บ่ อ เกิ ด ของความสมั ค รสมาน
ความสามัคคี คนมีนำ้าใจย่อมมีคุณธรรม มีจิตสำานึกในความเมตตา
กรุณาเป็นพื้นฐานที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลโดยไม่หวังผลตอบแทน
         เอษณีย์ ฉัต รวิทยานนท์ (2537: 47) ได้ ให้ ความหมายว่า
“ความมีนำ้าใจ” หมายถึง การแสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึก
หรื อ ปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองที่ มี ต่ อ ผู้ อื่ น อั น เป็ น ลั ก ษณะทางจิ ต ใจใน
ด้านให้ความ ช่วยเหลือในเวลาที่ผู้อื่นเดือดร้อน ยกโทษเมื่อทำาผิด
มีเมตตากรุณาแก่ผู้ที่ด้อยโอกาสและการกระทำานี้เต็มไปด้วยความ
ปรารถนาดี รวมทั้งการให้กำาลังใจ ให้แรงบันดาลใจ และจิตไมตรี
มิตรภาพที่ไม่หวังผลตอบแทน
2.2 แนวคิด พื้น ฐานเกี่ย วกับ ความมีน ำ้า ใจ
         ณรงค์ศักดิ์ ตะละภัฏ (2529: 98) ได้ให้แนวคิดว่า เรื่องของ
ความมีนำ้าใจขึ้นอยู่กับลักษณะนิสัยที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากการ
เลี้ ย งดู แ ละแบบอย่ า งที่ ไ ด้ รั บ มี ค วามเข้ า ใจในความแตกต่ า ง
ระหว่างบุคคล รู้จักหยิบยกความสามารถดีเด่น มองคนในแง่ดี มี
ความรับผิดชอบในภารกิจที่ได้รับมอบหมาย มีความเป็นระเบีย บ
แบบแผน แบ่งเวลาได้ถูกต้อง เป็นคนคล่องแคล่วกระฉับ กระเฉง
มองทุกอย่างรอบข้างอย่างฉับไว มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาพร้อม
ที่จะรับและเรียนรู้สิ่งแปลกๆ ใหม่ๆที่เกิดขึ้นรอบตัวในสังคม
         ป.มาหาขั น ธ์ (2534: 12-13) ได้ ใ ห้ แ นวคิ ด ว่ า นำ้า ใจเป็ น
ของมีค่า เพราะเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง “พืชไมตรี” ให้งอกงาม นำ้าใจ
จึงมีประโยชน์สำาหรับผู้อื่น มิใช่มีประโยชน์สำาหรับผู้ที่มีการที่จะดู
ว่าคนใด มีนำ้า ใจหรือไม่ ให้ดูที่นิสัยใจคอ เพราะนำ้า ใจย่อมแสดง
นิ สั ย ใจคอที่ แ ท้ จ ริ ง คนที่ นึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น ก่ อ นเสมอ เมื่ อ มี ค วามสุ ข ก็
นึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น ก่ อ นว่ า คนเหล่ า นั้ น จะเป็ น สุ ข เหมื อ นตนหรื อ ไม่ ทำา
อย่ า งไร จึ ง จะปั น ความสุ ข ไปให้ ผู้ อื่ น บ้ า ง เมื่ อ มี ทุ ก ข์ ก็ คิ ด ว่ า ทำา
อย่างไรผู้อื่นจึงจะไม่ต้องได้รับทุกข์เหมือนตน คนที่รู้จักนึกถึงผู้อื่น
เรียกว่า มีนำ้าใจ แต่ตรงกันข้าม คนที่มุ่งคิดเฉพาะตนเองเป็น ที่ตั้ง
ไม่รู้จั กคิดถึง ผู้อื่นบ้างเลยเรีย กว่ า ไม่มี นำ้า ใจ คนที่ไม่ มี นำ้า ใจคื อ
คนใจดำา เมื่อได้รับทุกข์หรือตกอับได้รับความลำา บาก ย่อมหาคน
ช่วยเหลือได้ยาก คนเราจะอยู่คนเดียวในโลกนี้ไม่ได้ ยิ่งทุกวันนี้
ด้ ว ยแล้ ว สั ง คมมี บ ทบาทสำา คั ญ ต่ อ ชี วิ ต ไม่ น้ อ ย ฉะนั้ น ที ท่ า ที่ เ รา
แสดงต่อสังคมจึงเป็นสิ่งสำาคัญเช่นกัน อย่างไร ก็ตามการเป็นคนมี
นำ้าใจดูเหมือนจะเป็นคาถาที่ช่วยให้คนเอาตัวรอดได้ เพราะถ้าตน
มีนำ้าใจต่อใคร ผู้อื่นก็ย่อมมีนำ้าใจต่อตน แต่ถ้าตนไม่มีนำ้าใจ ผู้อื่นก็
ย่ อ มไม่มี นำ้า ใจให้ต นเช่ น กั น การแลกเปลี่ ย นนำ้า ใจ ต่อ กั นเช่ น นี้
เป็ น การกระชั บ ไมตรี ใ ห้ แ นบแน่ น เป็ น การสร้ า งเสริ ม สั ง คมให้
มั่นคง
         วุ ฒิ ส วั ส ดิ์ ส วั ส ดิ วั ฒ น์ (2534: 38) ไ ด้ ใ ห้ แ น ว คิ ด ว่ า
“คุณธรรม ประการหนึ่งที่ผู้บริหารนักธุรกิจทั้งมนุษย์ทุกคนจะต้อง
ระลึ กถึงเสมอคือ ความมีนำ้า ใจ ผู้ ที่มี นำ้า ใจจะก่อ ให้ เกิ ด ความเบิ ก
บานและอบอุ่นใจแก่ผู้รับ ผู้มีนำ้า ใจนั้นแม้บางครั้งจะมีภาระมากมี
เวลาน้อยแต่ก็ยังเจียดเวลาที่จะรับ ฟงัปัญหาของผู้อื่นและเต็มใจที่
จะให้ความอนุเคราะห์ความช่ว ยเหลือ เท่ าที่ ต น จะให้ ได้ รวมทั้ง
การให้ข้อคิดด้วยความปรารถนาดี ผู้มีนำ้าใจอยากช่วยเหลือผู้อื่น
ด้วยความตั้งใจ มีความสุขกับการเป็นผู้ให้และผู้ที่ทำาให้บุคคลอื่นมี
ความสุข ผู้มีนำ้าใจทำาให้โลกนี้น่าอยู่เพราะเป็นผู้ให้ความรัก ความ
เมตตาความกรุณาและไมตรีจิตจากหัวใจ ดังนั้น ไม่ว่าเราจะอยู่ใน
ฐานะใด ประกอบอาชีพใด จะเป็นนักธุรกิจหรือไม่ก็ตาม พื้นฐาน
ความเป็นมนุษย์ คือนำ้าใจ จะต้องเป็นหลักการสำาคัญในการดำารง
ชีวิตและการประกอบการงาน การสอนตนเองและฝึกฝนตนเองให้
มี นำ้า ใจจึ ง เป็ น สิ่ ง ดี ง าม น่ า รั ก น่ า นิ ย ม เพราะผู้ ที่ มี นำ้า ใจย่ อ มไม่
ขาดแคลน ไม่อับจน ตรงกันข้ ามเป็ นผู้ที่ จะพบหนทางของความ
สุขความเจริญทุกๆ ด้าน
          สมิ ต อาชวนิ จ กุ ล (2535: 131–134) ได้ ให้ แ นวคิ ด ว่ า
ความมีนำ้าใจเป็นเรื่องที่ไม่จำาเป็นต้องใช้จ่ายเงินทองอะไรมากมาย
เราอาจแสดงออกซึ่งความเมตตากรุณาต่อเพื่อนร่วมโลกโดยการ
ช่ ว ยเหลื อ เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ ก็ เ ป็ น การแสดงนำ้า ใจได้ อาทิ ก ารขึ้ น รถ
โดยสารประจำาทาง วัฒนธรรมดั้งเดิมจะสอนให้สุภาพบุรุษต้องสละ
ที่นั่งให้แก่สตรี เด็กและคนชรา นี่ก็นับว่าเป็นการแสดงนำ้า ใจหาก
เรา ไปเที่ยวในชนบทแถบภาคเหนือหรืออีสาน จะพบว่าชาวบ้านมี
นำ้า ใจเอื้อ เฟื้อ เชื้อ เชิญ ให้เราร่ ว มรั บ ประทานอาหาร เมื่ อ ถึ งเวลา
อาหารในแต่ละมื้อ หรือเมื่อ เขาทำา อาหารได้ ม ากก็ จ ะแบ่ งให้ บ้า น
อื่นๆในหมู่บ้านนั้น เป็นการแสดงนำ้า ใจต่อกัน การแสดงนำ้า ใจจึง
ไม่ใช่วัดกันได้ด้วยเงิน บางคนมีเงินมากแต่อาจแล้งนำ้าใจก็ได้ บาง
คนเป็ น เศรษฐี แ ต่ ต ระหนี่ ถี่ เ หนี่ ย วไม่ ย อมสละเงิ น โดยไม่ ไ ด้ รั บ
ประโยชน์ตอบ แทนคนที่มีนำ้า ใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่าก็จะมี
มุทิตาจิตแสดงความยินดี ด้วยความจริงใจความมีนำ้าใจยังตรงข้าม
กับความเห็นแก่ตัว ผู้ที่มีนำ้าใจจะนึกถึงผู้อื่นและจะพยายามช่วยผู้
อื่ น ที่ ตำ่า ต้ อ ยกว่ า ตั ว เอง ขณะที่ ค นเห็ น แก่ ตั ว มั ก คิ ด แต่ ป ระโยชน์
ส่วนตัว กล่าวกันว่า มหาตมะคานธี ผู้ นำา อินเดี ยนั้ นใช้ เวลาไปใน
การแสดงความมีนำ้าใจโดยการไปช่วยชาว บ้านยากจนสร้างบ้าน
โดยลงมือทำา ด้วยตนเองจนมีหลายคนที่ ไม่เข้าใจคิดว่า คานธีใช้
เวลาสิ้นเปลืองไปโดยไม่ได้รับประโยชน์ไม่คุ้มค่า เขาไม่เข้าใจว่า
นั้ น เป็ น การแสดงความมี นำ้า ใจของผู้ นำา ประเทศที มี ต่ อ ราษฎรผู้
ยากไร้ ซึ่งผลสะท้อ นมีให้ เห็ นทั นที ว่ าชาวอิ น เดี ย ทุ กหมู่ เหล่ าให้
ความรักและศรัทธา ต่อคานธีประหนึ่งเป็นเทพเจ้าลงมาจุติในโลก
มนุ ษ ย์ผู้ ประสบความสำา เร็ จ ในการดำา รงชี วิ ต ถ้ าหากแล้ ง นำ้า ใจ
อย่างเดียวเขาย่อมเป็นคนที่ขาดคุณค่าต่อสังคมที่เขาอยู่
          ถกลทิพย์ แก้วพรหม (2545: ออนไลน์ ) ได้ ให้แนวคิดว่า
การอยู่ร่วมกันในสังคม จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีนำ้าใจไมตรีที่ดีต่อ
กั น จึ ง จะอยู่ กั น ได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข ความมี นำ้า ใจเป็ น เรื่ อ งที่ ทุ ก คน
ทำา ได้โดยไม่ต้อง ใช้เงินทองมากมายเพีย งแต่แสดงความเมตตา
กรุณาต่อเพื่อนมนุษย์ โดยการช่วยเหลื อเล็กๆ น้อย ๆ ก็เป็นการ
แสดงนำ้า ใจได้ เช่น การพาเด็ กหรือ ผู้สูงอายุข้ ามถนน หรือ การ
สละที่นั่ งบนรถโดยสารให้ ห ญิ ง มี ค รรภ์ เป็ น ต้ น ก็ นับ ว่ า เป็ น การ
แสดงนำ้าใจ การแสดงความมีนำ้าใจจึงไม่ใช่วัดกันด้วยเงิน บางคน
มีเงินมากอาจแล้งนำ้าใจก็ได้ บางคนเป็นเศรษฐีแต่ตระหนี่ ถี่เหนียว
ไม่ ย อมสละเงิน โดยที่ไม่รับ ประโยชน์ ต อบแทน ความมี นำ้า ใจนั้ น
ตรงกั น ข้ า มความเห็ น แก่ ตั ว ขณะที่ ค นเห็ น แก่ ตั ว มั ก จะคิ ด แต่
ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน และความมีนำ้าใจยังตรงกันข้ามกับความ
อิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยา คนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความ
วิบัติของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีนำ้าใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่า จะมี
มุ ทิ ต าแสดง ความยิ น ดี ด้ ว ยอย่ า งจริ ง ใจ ผู้ มี นำ้า ใจจะนึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น
และจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่าผู้มีนำ้าใจจึงเป็นที่รักและ
ต้องการ ของคนทั่วไป และเป็นคนมี คุณค่าต่อสังคม จะเป็นผู้ที่มี
ประสบความสำาเร็จในการดำาเนินชีวิตจากข้อความข้างต้นจะพบว่า
ความมีนำ้า ใจ เป็นคุณธรรมพื้นฐานสำา หรับการดำา รงชีวิตและช่วย
ใ ห้ บุ ค ค ล อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ ยั ง เ ป็ น
คุณลักษณะเด่นของคนไทยอีกด้วยความมีนำ้าใจมี พื้นฐานมาจาก
การรู้จักช่วยเหลือรับผิดชอบต่อตนเอง และการรู้จักเข้าใจความ
รู้สึกของผู้อื่น รู้สึกเห็นอกเห็นใจ อันจะนำามาซึ่งการรู้จักช่วยเหลือ
เอื้อเฟื้อต่อผูอื่น รู้จักแบ่งปันและให้ตลอดจนเสียสละโดยไม่หวังผล
               ้
ตอบแทน เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ พั ฒ นาตามลำา ดั บ ความมี นำ้า ใจอาจ
เป็นการแสดงความรัก และห่วงใยต่อสังคม ทำาสิ่งต่างๆ เพื่อช่วยผู้
อื่นและสังคมให้มีความสุข

       2.3 ลัก ษณะของผู้ท ี่ม ีค วามมีน ำ้า ใจ
       สาโรช บัวศรี (2515: 11) ได้ให้กำาหนด ลักษณะของครูที่
ดี จะต้องมีทั้งความรู้ ทักษะเจตคติ หรือนำ้า ใจอันดีงามนำ้า ใจอันดี
งามดังกล่าว ประกอบด้วย
       1. การยกย่ อ งให้ เ กี ย รติ และนั บ ถื อ ซึ่ ง กั น และกั น อย่ า ง
จริงใจ
       2. การช่วยเหลือ แบ่งปัน ร่วมมือซึ่งกันและกันอย่างจริงใจ
       3. การเข้ า ใจที่ จ ะใช้ ปั ญ ญาในการร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ กั น
แก้ไขปัญหาทั้งปวงไม่ใช้ความโกรธ ความโลภ และความหลงผิด
เข้ า ปฏิ บั ติ ต่ อ กั น โยธิ น ศั น สนยุ ท ธ ; และจุ ม พล พู ล ภั ท รชี วิ น
(2529: 66) ได้กำาหนดถึง พฤติกรรมที่บ่งชี้ความมีนำ้าใจไว้ดังนี้
       1. พฤติกรรมการให้ความช่วยเหลือ
       2. การให้ความสนใจ
3. การให้ความรัก
พระเผด็จ ทัตตชีโว (2531: 31) ได้กำาหนดถึง องค์ประกอบของ
ความมีนำ้าใจ ไว้ดังนี้
      1. มีความเสียสละ
      2. โอบอ้อมอารีมีแต่ให้
      3. เห็นแก่ส่วนรวม
      4. มีความสามัคคี
      5. เห็นอกเห็นใจกัน
      6. ใจกว้าง
      7. มีเมตตากรุณา
      8. รักผู้อื่น
      คอกซ์และไฮล์เบริน (เอษณีย์ ฉัตรวิทยานนท์. 2537: 56;
อ้างอิงจาก Gough and
Heilbrun. 1983: 59) ได้กำาหนดถึงความมีนำ้าใจ ว่าประกอบ
ด้วย 24 คุณลักษณะดังนี้
      1. ความรู้สึกรักใคร่ไม่ทอดทิ้งกัน
      2. ความรู้สึกสำานึกบุญคุณคน
      3. เกรงใจ
      4. ร่วมมือ
      5. วางใจได้
      6. ให้อภัยไม่ผูกพยาบาท
      7. มีความเป็นมิตร
      8. ใจกว้าง
      9. สุภาพอ่อนโยน
      10. ใจดี
      11. ชอบช่วยเหลือผู้อื่น
      12. กรุณา
      13. เข้าสังคม
      14. ชอบความสงบสุข
      15. มีความรู้สึกรำาลึกถึง
      16. สังคมดี
      17. จิตใจอ่อนโยน
      18. เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
      19. รอบคอบ
      20. อดทน
      21. ไว้วางใจได้
      22. เข้าใจผู้อื่น
23. ไม่เห็นแก่ตัว
       24. อบอุ่น
เอ็ดเวิร์ด (เอษณีย์ ฉัตรวิทยานนท์. 2537: 56; อ้างอิงจาก
Edwards. 1959) ได้กำาหนดถึงคุณลักษณะของความมีนำ้าใจไว้
ดังนี้
       1. ความต้องการช่วยเพื่อนเวลาเขาเดือดร้อน
       2. ชอบช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่า
       3. ชอบปฏิบัติต่อผูอื่นด้วยความมีนำ้าใจและรู้สึกเห็นใจ
                            ้
       4. มักยกโทษแก่เพื่อน
       5. ชอบทำาอะไรเล็กๆ น้อยๆ ให้แก่คนอื่น
       6. ชอบเห็นใจเวลาเวลาคนอื่นได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วย
       7. แสดงความรักใคร่ต่อคนอื่น
       8. ชอบให้คนอื่นเล่าปัญหาส่วนตัวให้ฟัง
กนก จันทร์ขจร (2533: 278) ได้กำาหนดถึงคุณลักษณะของคนมี
นำ้าใจ ไว้ดังนี้
       1. มีมนุษยสัมพันธ์
       2. รู้จักกาลเทศะและโอกาส
       3. ไม่เห็นแก่ประโยชน์
       4. ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
       5. รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
       6. ไม่นิ่งดูดาย
       7. รู้จักให้อุปการะและปฏิบัติต่อผู้อื่นตามแต่โอกาสและไม่
หวังผลตอบแทน
       สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540: 15)
ได้กำาหนดพฤติกรรมที่บ่งชี้
ความมีนำ้าใจไว้ดังนี้
       1. การช่วยเหลือ
       2. การปลอบโยนหรือให้กำาลังใจ
       3. การแสดงความเอื้ออาทร
       4. การชื่นชมยินดีในความดีงามของผู้อื่น
       5. การไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น
       จากการที่ ไ ด้ ค้ น คว้ า นิ ย ามคุ ณ ลั ก ษณะความมี นำ้า ใจที่ เ ป็ น
ความเชื่อพื้นฐานของการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการที่จะศึกษา
คุ ณ ลั ก ษณะขอ งความมี นำ้า ใจต ามแนวข องสำา นั ก งาน คณ ะ
กรรมการ
วั ฒนธรรมแห่ง ชาติ ซึ่งมีพ ฤติ กรรมที่ บ่ ง ชี้ ค วามมี นำ้า ใจ คื อ การ
ช่วยเหลือ การปลอบโยนหรือให้กำาลังใจการแสดงความเอื้ออาทร
การชื่นชมยินดีในความดีงามของผู้อื่น รวมทั้งการไม่เบียดเบียน
ตนและผู้อื่น

3. งานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง
          3.1 งานวิจ ัย ในต่า งประเทศ
          จัสติน (Justice. 1989: 3603) ได้ศึกษาความต้องการให้
ผู้อื่นเอืออาทร และความมีนำ้าใจของ
           ้
วั ย รุ่ น ที่ มี ค รรภ์ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ วั ย รุ่ น อายุ 12–17 ปี ที่ ไ ม่ ไ ด้
แต่งงาน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ มที่ หนึ่ งเป็นวัย รุ่ นที่ มี ครรภ์จ าก
Florence Crittenton Home ซึ่งอยู่ประจำา กลุ่มที่สองเป็นวัยรุ่น
ที่ มีค รรภ์แต่ไม่ได้อ ยู่ประจำา และกลุ่ มที่ สามเป็ นวั ย รุ น่ ที่ ไม่ ได้ ตั้ ง
ค ร ร ภ์              เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ คื อ                   Different
PersonalityQuestionnaire ผลการวิ จั ย พบว่ า วั ย รุ่ นที่ มี ค รรภ์
อยู่ประจำา และวัยรุ่นที่มีครรภ์ ไม่ได้อยู่ประจำามีความต้องการให้ผู้
อื่นเอื้ออาทรมากกว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ และอยู่ประจำา อย่างมี
นัยสำาคัญทางสถิติ
          ซาเบิ ล (Sable. 1989: 5044) ได้ ทำา การศึ ก ษาลั ก ษณะ
ของการมีไมตรีสัมพันธ์ ความสนิทสนม และความมีนำ้าใจ ภายใน
ขอบเขตความเป็นเพื่อนของเด็กก่อนวัยรุ่น 30 คน กลุ่มตัวอย่าง
คื อ เด็ ก ที่ อ ายุ 9-12 ปี ชาวผิ ว ขาว ชาย 15 คน หญิ ง 15 คน
เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ คื อ Thematic Appearception (TA)แ ล ะ
Network of Relationship Inventory (NRI) ผลการวิ จั ย พบ
ว่ า เพศชายและเพศหญิ ง มี ค วามแตกต่ า งในด้ า นความมี ไ มตรี
สัมพันธ์ ความสนิทสนมและความมีนำ้าใจอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
          แลงก์ (Lange. 1989: 3676) ได้ศึกษาตัวแปร 2 ตัวแปรที่
พยากรณ์ความพึงพอใจของผู้หญิงและข้อผูกมัดในสัมพันธภาพที่
ใกล้ ชิ ด กั บ ความสำา คั ญ เฉพาะบทบาทที่ เ กี่ ย วกั บ อำา นาจ ความมี
นำ้า ใจและความไว้วางใจ กลุ่ มตั วอย่างแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คื อ กลุ่ม
หนึ่งเป็นหญิง และกลุ่มหนึ่งเป็นชายผลการศึกษาพบว่า เพศชาย
รายงานว่ามีความมีนำ้า ใจเป็นสิ่งที่พยากรณ์ถึงความพึงพอใจและ
ข้อผูกมัด ส่วนเพศหญิงรายงานว่ าความมีนำ้า ใจเป็ นสิ่ งพยากรณ์
ทางลบกับความพึงพอใจ
          โจนส์ (Jones. 1990: 1064) ได้ ศึ ก ษาผลของความไม่
สบายใจ ความโกรธ เพศ และความมีนำ้าใจของผู้ให้คำาปรึกษาที่มี
ต่อปฏิกิริยาต่อต้านพฤติกรรมของผู้ขอ รับคำาปรึกษาที่แสดงความ
โกรธ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ให้คำา ปรึกษา 46 คน ผลการวิจัยพบว่า
ความมีนำ้า ใจสามารถพยากรณ์ ความโกรธของผู้ขอรับคำา ปรึกษา
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ คือ ผู้ให้คำาปรึกษาที่รู้สึกกังวลต่อความ
โกรธของผู้ขอรับคำาปรึกษาให้ความมีนำ้าใจสูงขึ้น อายุของผู้ให้คำา
ปรึกษามีความสัมพันธ์กับความมี นำ้า ใจอย่ างมี นัย สำา คัญ ทางสถิ ติ
คื อ ผู้ ใ ห้ คำา ปรึ ก ษาที่ อ ายุ น้ อ ยมี ค วามมี นำ้า ใจมากกว่ า กรี แ นค
(Gryvnak. 1991: 2810) ได้ศึ กษาการรั บ รู้ข องวัย รุ่ นชายและ
วั ย รุ่ น หญิ ง ที่ มี ต่ อ การยอมรั บ อุ ป นิ สั ย ส่ ว นตั ว ของทั้ ง สองเพศ 5
ลักษณะ คือ ความก้าวร้าว ความมีอำานาจความมีนำ้าใจ ความเป็น
อิสระ และความมีไมตรีสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครวัยรุ่น
ชายและหญิงจากรัฐแคลิฟอร์เนียตอนใต้ เครื่องมือที่ใช้ คือ The
Adjective Check List (ACL)ผลการศึ ก ษาพบว่ า วั ย รุ่ น ชายมี
การยอมรั บอุ ปนิ สัย ส่ว นตั ว ของทั้ ง สองเพศไม่ แ ตกต่ า งกั น และมี
คะแนนใกล้เคียงกับเกณฑ์ วัยรุ่นหญิงมีการยอมรับอุปนิสัยส่วนตัว
ของเพศหญิ ง ไม่ พ บความแตกต่ า งและมี คะแนนใกล้ เ คี ย งกั บ
เกณฑ์ ส่วนการยอมรับที่มีต่ออุปนิสัยของเพศชายมีความแตกต่าง
อย่างมีนัยสำา คัญทาง สถิติ และแสดงว่าการรับรู้ของเพศหญิงที่มี
ต่อเพศชายมีลักษณะในทางลบและไม่พอใจ


       3.2 งานวิจ ัย ในประเทศ
       อาคม หงษ์ท อง (2539: 65) ได้ ศึ กษาผลกิ จ กรรมกลุ่ ม ที่ มี
ต่อความมีนำ้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้าน
แบนชะโด เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างจำา นวน 24
คน แบ่ ง เป็ น กลุ่ ม ทดลองและกลุ่ ม ควบคุ ม กลุ่ ม ละ 10 คน กลุ่ ม
ทดลองได้รับการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับ
การใช้โปรแกรมการสอนปกติ ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่เข้า
ร่วมกิจกรรมกลุ่มมีการพัฒนาความมีนำ้า ใจมากกว่านักเรีย นที่ ได้
รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
       สุกัญญา ภูริยะพันธ์ (2540: 77–78) ได้ ศึกษาการเปรียบ
เทียบผลของการให้คำา ปรึกษาเป็ นกลุ่มและรายบุ ค คลตามทฤษฎี
เผชิญ ความจริงที่มีต่อความมีนำ้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 โรงเรีย นศรีอยุธ ยา กรุงเทพมหานคร กลุ่ มตั วอย่าง จำา นวน
16 คน แบ่งเป็ นกลุ่ม ทดลองที่ 1 และกลุ่ ม ทดลองที่ 2 กลุ่ ม ละ 8
คน กลุ่ม ทดลองที่ 1 ได้รับ การให้ คำา ปรึ ก ษาเป็ นกลุ่ ม ตามทฤษฎี
เผชิญ ความจริงตามโปรแกรมที่กำา หนดไว้ 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ
3 ครั้ง รวม 9 ครั้ง ครั้งละ 1.30 ชั่วโมงและกลุ่มทดลองที่ 2 ได้
รั บ การให้ คำา ปรึ ก ษารายบุ ค คลตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง ตาม
โปรแกรมที่กำาหนดไว้ 5 สัปดาห์ คนละ 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ รวม 9
ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนที่ได้รับการให้
คำา ปรึ ก ษาเป็ น กลุ่ ม และรายบุ ค คลตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง มี
ความนำ้าใจเพิ่มขึ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญที่ระดับ .01 โดยที่
นั ก เรี ย นได้ รั บ คำา ปรึ ก ษาเป็ น กลุ่ ม ตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง มี
ความนำ้า ใจเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนที่ได้รับการให้คำา ปรึกษาราย
บุคคลตามทฤษฎีเผชิญความจริง
         ถวิลวัลย์ อัมรินทร์ (2543: 42) ได้ศึกษาความมีนำ้า ใจของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัด
นครปฐม พบว่ า ความมี นำ้า ใจของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่
4 โรงเรีย นมหิด ลวิท ยานุส รณ์ โดยรวมและรายด้ านเพิ่ ม ขึ้ นหลั ง
เข้าร่วมโครงการพัฒนาความมีนำ้า ใจ โดยใช้กิจกรรมกลุ่มอย่างมี
นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
         มยุรี เสมใจดี (2546: 57) ได้ศึกษาผลของกลุ่มสัมพันธ์เพื่อ
พั ฒนาความมีนำ้า ใจของนั กเรี ย นชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรี ย น
เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาพั ฒ นาการ กรุ ง เทพมหานคร กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง
จำานวน 25 คน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่
เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มสัมพันธ์มีความมีนำ้าใจต่อเพื่อนเพิ่มขึ้นอย่าง
มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ .01
         เศรษฐกร มงคลจาตุ ร งค์ (2546: 68) ได้ ศึ ก ษาผลการ
แสดงออกที่ เ หมาะสมเพื่ อ พั ฒ นาความเฉลี ย วฉลาดทางอารมณ์
ด้ า นความเห็ น อกเห็ น ใจผู้ อื่ น ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่
3 โรงเรีย นสตรี วิท ยา 2 กรุ งเทพ มหานคร พบว่ า นั กเรี ย นที่ ไ ด้
เข้าร่วมการฝึก การแสดงออกที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาความเฉลียว
ฉลาดทางอารมณ์ด้านความเห็นอกเห็น ใจผู้อื่นสูงกว่านักเรียนที่
ไม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ ก การแสดงออกที่ เ หมาสม เพื่ อ พั ฒ นาความ
เฉลียวฉลาดทางอารมณ์ด้ านความเห็นอกเห็ นใจผู้อื่ นอย่างมี นัย
สำา คัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากการรวบรวมข้อมูลข้างต้นจะเห็น
ว่า การศึกษาความมีนำ้า ใจส่วนใหญ่จะทำา การศึกษาเกี่ยวกั บเพศ
และผลของกิจ กรรมกลุ่ม ซึ่ งเป็ นการศึ ก ษาในลั ก ษณะกลุ่ ม เดี ย ว
แต่การศึกษาที่เน้นหลายระดับและเกี่ยวข้องกับวิธีการอบรมเลี้ยงดู
ยั ง ไม่ มี แ พร่ ห ลาย ผู้ วิ จั ย จึ ง สนใจที่ จ ะศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง
ประสงค์ ด้ า นความมี นำ้า ใจในระดั บ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 3 โดยยึ ด
องค์ ป ระกอบของสำา นั ก งานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ
ประกอบด้วย 5 ลักษณะ คือ การช่วยเหลือ การปลอบโยนหรือให้
กำา ลังใจ การแสดงความเอื้ออาทร การชื่นชมยินดีในความดีงาม
ของผู้อื่นและการไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ซึ่งทำาการแสดงความ
เที่ยงตรง โดยวิธีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแบบวัดคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ด้านความมี นำ้าใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองกับแบบวัดความ
มีนำ้าใจของสำานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติและวิธีหา
ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ค วามสอดคล้ อ งภายใน ซึ่ ง แสดงความสั ม พั น ธ์
ระหว่างคะแนนส่วนย่อยภายในแบบวัด กับคะแนนรวมของแบบวัด
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีนำ้าใจ นอกจากนี้แล้วยังแสดง
ค่าอำานาจจำาแนกของข้อคำา ถามรายข้อตลอดจนความเชื่อมั่น ทั้ง
ฉบับ และเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีนำ้า ใจ
ของนักเรียนช่วงชั้น ที่ 3 โดยจำา แนกตามระดับชั้ นเรียน และวิธี
การอบรมเลี้ยงดู รวมทั้งศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนที่มีระดับ
ชั้นเรียนและวิธีการอบรมเลี้ยงดู ต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้าน
ความมีนำ้าใจ

More Related Content

What's hot

พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคMintraMarisa
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาjyppy
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

What's hot (14)

พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
เทียนหอม
เทียนหอมเทียนหอม
เทียนหอม
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Similar to บทที่ 2

ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 

Similar to บทที่ 2 (20)

ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
51105
5110551105
51105
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง ใน การวิจัยครั้งนี้ การใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม ด้ านความมี นำ้า ใจของนั ก เรี ย น และเพื่ อ ให้ เ กิ ด แนวความคิ ด ใน การศึ ก ษา ผู้วิ จัย ได้ รวบรวมเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานวิจัย ซึ่งได้นำาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิธีการสอนโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม 2. เอกสารเกี่ยวข้องกับความมีนำ้าใจ 2.1 ความหมายของความมีนำ้าใจ 2.2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความมีนำ้าใจ 2.3 ลักษณะของผู้ที่มีความมีนำ้าใจ 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 งานวิจัยในต่างประเทศ 3.2 งานวิจัยในประเทศ 1. เอกสารที่เ กี่ย วข้อ งกับ วิธ ีก ารสอนโดยใช้ก ิจ กรรม กลุ่ม กำา หนดทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานที่จำา เป็นต่ อการดำา รง ชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ มี 3 ด้าน คือ 1. ทักษะพื้นฐานที่จำา เป็นต่อการเรียนรู้ ในอนาคต ได้แก่ มี ทักษะการเรียนรู้ทักษะการคิด และทักษะการสื่อสาร 2. ทักษะพื้นฐานที่จำา เป็นต่อการทำา งาน ได้แก่ มีทักษะการ จัดการ ทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ ขยัน อดทน อดออมและประหยัด 3. ลักษณะที่จำาเป็นต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ได้แก่ ควบคุม ตนเองได้มีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่น เสีย สละ มุ่งมั่นพัฒนา สำา นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540: 1-6) ได้ กำา หนดคุ ณ ลั ก ษณะของเด็ ก และเยาวชนที่ พึ ง ประสงค์ 5 ประการ ดังนี้ 1. มีความสนใจใฝ่รู้และสร้างสรรค์ 2. มีความมีนำ้าใจ 3. มีความมีวินัย 4. มีความเป็นไทย 5. มีการบริโภคด้วยปัญญาในวิถีชีวิตไทย
  • 2. กรมวิชาการ (2541: 9) ได้ให้ความหมายคุณลักษณะของ พลโลกในอนาคต สรุปได้ดังนี้ 1. สามารถนำา ความรู้ ม าประยุ กต์ ใช้ ในการประกอบอาชี พ และการดำารงชีวิตประจำาวันได้ 2. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ 3. ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ย อ ม รั บ ใ น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ด้ า น วัฒนธรรม 4. สามารถทำา งานร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น และรั บ ผิ ด ชอบต่ อ บทบาท หน้าที่ของตนในสังคม 5. สามารถมองเห็นปัญหาในฐานะที่ เป็นสมาชิ กของสังคม ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศระดับโลก และเต็มใจที่จะแก้ปัญหาข้อ ขัดแย้งด้วยสันติวิธี 6. เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิต และนิสัยในการบริโภคของตน เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างคุณภาพชีวิตผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยงานต่างๆ (กรมวิชาการ. 2541: 11) ได้กำาหนดคุณลักษณะของเด็ก ไทยในอนาคตที่พึงประสงค์ ดังนี้ 1. มี สุข ภาพอนามั ย ที่ ดี แข็ ง แรง สมบู ร ณ์ มี สุ ข นิ สั ย ที่ ดี ใ น การบริโภค เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างคุณภาพชีวิต 2. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเอง ครอบครั ว ชุ ม ชน สั ง คม สามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้และเต็มใจที่จะแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ด้ ว ยสั น ติ วิ ธี มี ส่ ว นร่ ว มพั ฒ นาการเมื อ งในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ ประเทศ และระดับโลก 3. มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำา หลักธรรมทางศาสนา มาใช้ในการดำารงชีวิตเพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 4. สามารถนำาความรู้ ความสามารถและทักษะมาประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชีพและการดำารงชีวิต 5. มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล สร้างความเข้าใจ มี ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ รู้ วิ ธี แ ก้ ปั ญ หาอย่ า งเป็ น ระบบและมีเหตุผล 6. มีจิตสำานึกภูมิใจในความเป็นไทย สืบสานศิลปวัฒนธรรม ยอมรับในความแตกต่างด้านวัฒนธรรม 7. สามารถต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคมไทยโดยสันติวิธี ก ร ม วิ ช า ก า ร (2542: 4) ไ ด้ กำา ห น ด จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสมดุล ทั้งด้าน
  • 3. จิ ต ใจ ร่ า งกาย ปั ญ ญาและสั ง คม โดยกำา หนดคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ที่มุ่งปลูกฝังให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม สามารถทำา งานและดำา รง ชีวิตอยู่ในสังคมไทย 2. มีสขภาพและบุคลิกภาพดี มีสุนทรียภาพ ุ 3. มีความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา มีความเป็นผู้นำา และมีวิสัยทัศน์ 4. มี ค วามภู มิ ใ จในความเป็ น ไทยและเป็ น พลเมื อ งดี ต าม ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีความพร้อมที่จะร่วมมื ออย่างสร้ างสรรค์ ในการพัฒนาสั งคม และสิ่งแวดล้อมและ สามารถแข่งขันอย่างสันติในสังคมโลก 2. เอกสารเกี่ย วกับ ความมีน ำ้า ใจ 2.1 ความหมายของความมีน ำ้า ใจ ความมีนำ้าใจเป็นคุณลักษณะที่สำาคัญที่พึงมีในตัวบุคคลและ เป็ น คุ ณ ธรรมที่ สำา คั ญ ประการหนึ่ ง สำา หรั บ คนไทย ซึ่ ง ได้ มี ผู้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ว า ม มี นำ้า ใ จ ไ ว้ ดั ง นี้ พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546: 580) ได้ให้ความหมาย ว่า“นำ้า ใจ” คือ ใจแท้ๆ ใจจริง ความจริงใจ เช่น เห็นนำ้า ใจ นิสัย ใจคอ เช่น นำ้าใจพ่อ นำ้าใจแม่ความเอื้อเฟื้อ ประดับ เรืองมาลัย (2519: 56) ได้ให้ความหมายว่า “ความ มีนำ้า ใจ” คือความต้องการช่วยเหลือเพื่อนเวลาเขาเดือดร้อ น มัก ยกโทษให้แก่เพื่อน ชอบทำาอะไรเล็กๆ น้อยๆ ให้ผู้อื่น มีนำ้าใจต่อผู้ อื่น เห็นใจเวลาผู้อื่นได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วย แสดงความรักใคร่ ชอบพอต่อผู้อื่น ชอบให้ผู้อื่นเล่าเรื่องปัญหาส่วนตัวให้ฟั งพรรณ ราย ทรัพยะประภา (2529: 184) ได้ให้ความหมายของ “ความมี นำ้า ใจ” ว่ า คื อ ส่ ว นที่ มี เ มตากรุ ณ า ชอบช่ ว ยเหลื อ ผู้ อื่ น ปกป้ อ ง คุ้มครองผู้อื่นหรือมีความเห็นอกเห็นใจมีนำ้าใจดีต่อผู้อื่น เช่นเดียว กับที่พ่อแม่แสดงต่อลูก ผู้บังคับบัญชาที่มีลักษณะเช่นนี้เด่นชัดก็จะ มีความเมตตาปราณีต่อลูกน้อง ผู้ให้บริการถ้ามีลักษณะเช่นนี้เด่น ชัดก็จะให้บริการอย่างเต็มที่เพื่อช่วย เหลือผู้มารับบริการ พระเผด็จ ทัตตชีโว (2531: 59-61) ได้ให้ความหมายของ ความนำ้า ใจ ใน 2 ลักษณะคือในทางโลกและในทางธรรมในทาง โลก ความมี นำ้า ใจ หมายถึ ง พอจะช่ ว ยอะไรใครก็ ช่ ว ยไปเถอะ
  • 4. อย่าหวงแรงธรรมชาติของคนนั้นแปลกยิ่งออกแรงยิ่งได้แรง ถ้าไม่ อย่ า งนั้ น แล้ ว นั ก กี ฬ าเขาจะวิ่ ง ทำา ไม โลหิ ต ที่ บ ริ จ าคไปนั้ น ย่ อ ม ทำาให้เกิดโลหิตใหม่ขึ้นมาแทนและมีคุณภาพสูงกว่า เดิมด้วย ถ้า เราแล้งนำ้าใจหวงแรงกลัวเหนื่อยกลัวเหงื่อออก ระวังเถอะถ้าเหงื่อ ไม่ อ อกแล้ว มัน จะตกใน วั น คื น ดี ก็ จ ะทะลั กออกมาเองแต่ อ อกมา ทางตากลายเป็นนำ้า ตา เพราะเหตุ ว่าถึ งคราวที่ เราต้ องการความ ช่วยเหลือ จากคนอื่นก็ไม่มีใครเขาให้ความช่วยเหลือ ถ้าสามารถ ช่ ว ยได้ ก็ ช่ ว ยเขาไปไม่ ว่ า จะช่ ว ยด้ ว ยแรงกาย แรงใจ หรื อ แรง ทรั พ ย์ ข องเรา แต่ อ ย่ า ช่ ว ยเสี ย จนกระทั่ ง ตั ว เองต้ อ งพลอยเดื อ ด ร้ อ นไปด้ ว ยในทางธรรม ความมี นำ้า ใจ หมายถึ ง เป็ น ผู้ มี ค วาม กตั ญญูรู้คุณคน ใครมีอุปการะก็ ต้อ งหาทางไปตอบแทนพระคุณ ท่ า น นอกจากตอบแทนผู้ มี พ ระคุ ณ แล้ ว ก็ บำา เพ็ ญ ตนให้ เ ป็ น ประโยชน์ต่อ สัง คมในโอกาสอั น ควร อย่ างนี้ จึ ง เรี ย กว่ า เป็ นผู้ ไม่ แล้งนำ้าใจต่อศาสนาและสังคม ทวี ศั ก ดิ์ ญาณประที ป ; และคนอื่ น ๆ (2531: 282) ได้ ใ ห้ ความหมายของคำาว่า “นำ้าใจ” ไว้ในหนังสือพจนานุกรมเฉลิมพระ เกรียติพุทธศักราช 2530 ว่า หมายถึง ใจจริง นิสัยใจคอ ความ เอื้อเฟื้อ กนก จันทร์ขจร (2533: 287) ได้ให้ความหมายว่า “นำ้าใจ” คืออุปนิสัยใจคอแท้ๆ ของคนที่รู้จักระลึ กถึงผู้อื่นเรี ยกว่ า มีนำ้า ใจ ส่วนผู้ที่มุ่งคิดเฉพาะแต่ตนเองเป็นที่ตั้งไม่รู้จักถึงผู้อื่นบ้างเรียกว่า ไม่มีนำ้าใจหรือขาดนำ้าใจ ผู้ที่มีนำ้าใจนั้นเป็นผู้ที่เห็นอกเห็นใจผู้อื่น เห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเดือดร้อนต้องการความช่วยเหลือก็ รั บ เป็ น ภาระ ให้โดยไม่ห วั ง ผลตอบแทน เช่ น ลุ กให้ ที่ นั่ งแก่ เด็ ก สตรี คนชรา บนรถประจำา ทาง เป็ น ต้ น ตามชนบท ชาวบ้ า นจะ ช่ ว ยกั น ที่ เ รี ย กว่ า “ลงแขก” เป็ น บ่ อ เกิ ด ของความสมั ค รสมาน ความสามัคคี คนมีนำ้าใจย่อมมีคุณธรรม มีจิตสำานึกในความเมตตา กรุณาเป็นพื้นฐานที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลโดยไม่หวังผลตอบแทน เอษณีย์ ฉัต รวิทยานนท์ (2537: 47) ได้ ให้ ความหมายว่า “ความมีนำ้าใจ” หมายถึง การแสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึก หรื อ ปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองที่ มี ต่ อ ผู้ อื่ น อั น เป็ น ลั ก ษณะทางจิ ต ใจใน ด้านให้ความ ช่วยเหลือในเวลาที่ผู้อื่นเดือดร้อน ยกโทษเมื่อทำาผิด มีเมตตากรุณาแก่ผู้ที่ด้อยโอกาสและการกระทำานี้เต็มไปด้วยความ ปรารถนาดี รวมทั้งการให้กำาลังใจ ให้แรงบันดาลใจ และจิตไมตรี มิตรภาพที่ไม่หวังผลตอบแทน
  • 5. 2.2 แนวคิด พื้น ฐานเกี่ย วกับ ความมีน ำ้า ใจ ณรงค์ศักดิ์ ตะละภัฏ (2529: 98) ได้ให้แนวคิดว่า เรื่องของ ความมีนำ้าใจขึ้นอยู่กับลักษณะนิสัยที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากการ เลี้ ย งดู แ ละแบบอย่ า งที่ ไ ด้ รั บ มี ค วามเข้ า ใจในความแตกต่ า ง ระหว่างบุคคล รู้จักหยิบยกความสามารถดีเด่น มองคนในแง่ดี มี ความรับผิดชอบในภารกิจที่ได้รับมอบหมาย มีความเป็นระเบีย บ แบบแผน แบ่งเวลาได้ถูกต้อง เป็นคนคล่องแคล่วกระฉับ กระเฉง มองทุกอย่างรอบข้างอย่างฉับไว มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาพร้อม ที่จะรับและเรียนรู้สิ่งแปลกๆ ใหม่ๆที่เกิดขึ้นรอบตัวในสังคม ป.มาหาขั น ธ์ (2534: 12-13) ได้ ใ ห้ แ นวคิ ด ว่ า นำ้า ใจเป็ น ของมีค่า เพราะเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง “พืชไมตรี” ให้งอกงาม นำ้าใจ จึงมีประโยชน์สำาหรับผู้อื่น มิใช่มีประโยชน์สำาหรับผู้ที่มีการที่จะดู ว่าคนใด มีนำ้า ใจหรือไม่ ให้ดูที่นิสัยใจคอ เพราะนำ้า ใจย่อมแสดง นิ สั ย ใจคอที่ แ ท้ จ ริ ง คนที่ นึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น ก่ อ นเสมอ เมื่ อ มี ค วามสุ ข ก็ นึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น ก่ อ นว่ า คนเหล่ า นั้ น จะเป็ น สุ ข เหมื อ นตนหรื อ ไม่ ทำา อย่ า งไร จึ ง จะปั น ความสุ ข ไปให้ ผู้ อื่ น บ้ า ง เมื่ อ มี ทุ ก ข์ ก็ คิ ด ว่ า ทำา อย่างไรผู้อื่นจึงจะไม่ต้องได้รับทุกข์เหมือนตน คนที่รู้จักนึกถึงผู้อื่น เรียกว่า มีนำ้าใจ แต่ตรงกันข้าม คนที่มุ่งคิดเฉพาะตนเองเป็น ที่ตั้ง ไม่รู้จั กคิดถึง ผู้อื่นบ้างเลยเรีย กว่ า ไม่มี นำ้า ใจ คนที่ไม่ มี นำ้า ใจคื อ คนใจดำา เมื่อได้รับทุกข์หรือตกอับได้รับความลำา บาก ย่อมหาคน ช่วยเหลือได้ยาก คนเราจะอยู่คนเดียวในโลกนี้ไม่ได้ ยิ่งทุกวันนี้ ด้ ว ยแล้ ว สั ง คมมี บ ทบาทสำา คั ญ ต่ อ ชี วิ ต ไม่ น้ อ ย ฉะนั้ น ที ท่ า ที่ เ รา แสดงต่อสังคมจึงเป็นสิ่งสำาคัญเช่นกัน อย่างไร ก็ตามการเป็นคนมี นำ้าใจดูเหมือนจะเป็นคาถาที่ช่วยให้คนเอาตัวรอดได้ เพราะถ้าตน มีนำ้าใจต่อใคร ผู้อื่นก็ย่อมมีนำ้าใจต่อตน แต่ถ้าตนไม่มีนำ้าใจ ผู้อื่นก็ ย่ อ มไม่มี นำ้า ใจให้ต นเช่ น กั น การแลกเปลี่ ย นนำ้า ใจ ต่อ กั นเช่ น นี้ เป็ น การกระชั บ ไมตรี ใ ห้ แ นบแน่ น เป็ น การสร้ า งเสริ ม สั ง คมให้ มั่นคง วุ ฒิ ส วั ส ดิ์ ส วั ส ดิ วั ฒ น์ (2534: 38) ไ ด้ ใ ห้ แ น ว คิ ด ว่ า “คุณธรรม ประการหนึ่งที่ผู้บริหารนักธุรกิจทั้งมนุษย์ทุกคนจะต้อง ระลึ กถึงเสมอคือ ความมีนำ้า ใจ ผู้ ที่มี นำ้า ใจจะก่อ ให้ เกิ ด ความเบิ ก บานและอบอุ่นใจแก่ผู้รับ ผู้มีนำ้า ใจนั้นแม้บางครั้งจะมีภาระมากมี เวลาน้อยแต่ก็ยังเจียดเวลาที่จะรับ ฟงัปัญหาของผู้อื่นและเต็มใจที่ จะให้ความอนุเคราะห์ความช่ว ยเหลือ เท่ าที่ ต น จะให้ ได้ รวมทั้ง การให้ข้อคิดด้วยความปรารถนาดี ผู้มีนำ้าใจอยากช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยความตั้งใจ มีความสุขกับการเป็นผู้ให้และผู้ที่ทำาให้บุคคลอื่นมี ความสุข ผู้มีนำ้าใจทำาให้โลกนี้น่าอยู่เพราะเป็นผู้ให้ความรัก ความ
  • 6. เมตตาความกรุณาและไมตรีจิตจากหัวใจ ดังนั้น ไม่ว่าเราจะอยู่ใน ฐานะใด ประกอบอาชีพใด จะเป็นนักธุรกิจหรือไม่ก็ตาม พื้นฐาน ความเป็นมนุษย์ คือนำ้าใจ จะต้องเป็นหลักการสำาคัญในการดำารง ชีวิตและการประกอบการงาน การสอนตนเองและฝึกฝนตนเองให้ มี นำ้า ใจจึ ง เป็ น สิ่ ง ดี ง าม น่ า รั ก น่ า นิ ย ม เพราะผู้ ที่ มี นำ้า ใจย่ อ มไม่ ขาดแคลน ไม่อับจน ตรงกันข้ ามเป็ นผู้ที่ จะพบหนทางของความ สุขความเจริญทุกๆ ด้าน สมิ ต อาชวนิ จ กุ ล (2535: 131–134) ได้ ให้ แ นวคิ ด ว่ า ความมีนำ้าใจเป็นเรื่องที่ไม่จำาเป็นต้องใช้จ่ายเงินทองอะไรมากมาย เราอาจแสดงออกซึ่งความเมตตากรุณาต่อเพื่อนร่วมโลกโดยการ ช่ ว ยเหลื อ เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ ก็ เ ป็ น การแสดงนำ้า ใจได้ อาทิ ก ารขึ้ น รถ โดยสารประจำาทาง วัฒนธรรมดั้งเดิมจะสอนให้สุภาพบุรุษต้องสละ ที่นั่งให้แก่สตรี เด็กและคนชรา นี่ก็นับว่าเป็นการแสดงนำ้า ใจหาก เรา ไปเที่ยวในชนบทแถบภาคเหนือหรืออีสาน จะพบว่าชาวบ้านมี นำ้า ใจเอื้อ เฟื้อ เชื้อ เชิญ ให้เราร่ ว มรั บ ประทานอาหาร เมื่ อ ถึ งเวลา อาหารในแต่ละมื้อ หรือเมื่อ เขาทำา อาหารได้ ม ากก็ จ ะแบ่ งให้ บ้า น อื่นๆในหมู่บ้านนั้น เป็นการแสดงนำ้า ใจต่อกัน การแสดงนำ้า ใจจึง ไม่ใช่วัดกันได้ด้วยเงิน บางคนมีเงินมากแต่อาจแล้งนำ้าใจก็ได้ บาง คนเป็ น เศรษฐี แ ต่ ต ระหนี่ ถี่ เ หนี่ ย วไม่ ย อมสละเงิ น โดยไม่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ตอบ แทนคนที่มีนำ้า ใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่าก็จะมี มุทิตาจิตแสดงความยินดี ด้วยความจริงใจความมีนำ้าใจยังตรงข้าม กับความเห็นแก่ตัว ผู้ที่มีนำ้าใจจะนึกถึงผู้อื่นและจะพยายามช่วยผู้ อื่ น ที่ ตำ่า ต้ อ ยกว่ า ตั ว เอง ขณะที่ ค นเห็ น แก่ ตั ว มั ก คิ ด แต่ ป ระโยชน์ ส่วนตัว กล่าวกันว่า มหาตมะคานธี ผู้ นำา อินเดี ยนั้ นใช้ เวลาไปใน การแสดงความมีนำ้าใจโดยการไปช่วยชาว บ้านยากจนสร้างบ้าน โดยลงมือทำา ด้วยตนเองจนมีหลายคนที่ ไม่เข้าใจคิดว่า คานธีใช้ เวลาสิ้นเปลืองไปโดยไม่ได้รับประโยชน์ไม่คุ้มค่า เขาไม่เข้าใจว่า นั้ น เป็ น การแสดงความมี นำ้า ใจของผู้ นำา ประเทศที มี ต่ อ ราษฎรผู้ ยากไร้ ซึ่งผลสะท้อ นมีให้ เห็ นทั นที ว่ าชาวอิ น เดี ย ทุ กหมู่ เหล่ าให้ ความรักและศรัทธา ต่อคานธีประหนึ่งเป็นเทพเจ้าลงมาจุติในโลก มนุ ษ ย์ผู้ ประสบความสำา เร็ จ ในการดำา รงชี วิ ต ถ้ าหากแล้ ง นำ้า ใจ อย่างเดียวเขาย่อมเป็นคนที่ขาดคุณค่าต่อสังคมที่เขาอยู่ ถกลทิพย์ แก้วพรหม (2545: ออนไลน์ ) ได้ ให้แนวคิดว่า การอยู่ร่วมกันในสังคม จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีนำ้าใจไมตรีที่ดีต่อ กั น จึ ง จะอยู่ กั น ได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข ความมี นำ้า ใจเป็ น เรื่ อ งที่ ทุ ก คน ทำา ได้โดยไม่ต้อง ใช้เงินทองมากมายเพีย งแต่แสดงความเมตตา กรุณาต่อเพื่อนมนุษย์ โดยการช่วยเหลื อเล็กๆ น้อย ๆ ก็เป็นการ
  • 7. แสดงนำ้า ใจได้ เช่น การพาเด็ กหรือ ผู้สูงอายุข้ ามถนน หรือ การ สละที่นั่ งบนรถโดยสารให้ ห ญิ ง มี ค รรภ์ เป็ น ต้ น ก็ นับ ว่ า เป็ น การ แสดงนำ้าใจ การแสดงความมีนำ้าใจจึงไม่ใช่วัดกันด้วยเงิน บางคน มีเงินมากอาจแล้งนำ้าใจก็ได้ บางคนเป็นเศรษฐีแต่ตระหนี่ ถี่เหนียว ไม่ ย อมสละเงิน โดยที่ไม่รับ ประโยชน์ ต อบแทน ความมี นำ้า ใจนั้ น ตรงกั น ข้ า มความเห็ น แก่ ตั ว ขณะที่ ค นเห็ น แก่ ตั ว มั ก จะคิ ด แต่ ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน และความมีนำ้าใจยังตรงกันข้ามกับความ อิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยา คนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความ วิบัติของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีนำ้าใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่า จะมี มุ ทิ ต าแสดง ความยิ น ดี ด้ ว ยอย่ า งจริ ง ใจ ผู้ มี นำ้า ใจจะนึ ก ถึ ง ผู้ อื่ น และจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่าผู้มีนำ้าใจจึงเป็นที่รักและ ต้องการ ของคนทั่วไป และเป็นคนมี คุณค่าต่อสังคม จะเป็นผู้ที่มี ประสบความสำาเร็จในการดำาเนินชีวิตจากข้อความข้างต้นจะพบว่า ความมีนำ้า ใจ เป็นคุณธรรมพื้นฐานสำา หรับการดำา รงชีวิตและช่วย ใ ห้ บุ ค ค ล อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ ยั ง เ ป็ น คุณลักษณะเด่นของคนไทยอีกด้วยความมีนำ้าใจมี พื้นฐานมาจาก การรู้จักช่วยเหลือรับผิดชอบต่อตนเอง และการรู้จักเข้าใจความ รู้สึกของผู้อื่น รู้สึกเห็นอกเห็นใจ อันจะนำามาซึ่งการรู้จักช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อต่อผูอื่น รู้จักแบ่งปันและให้ตลอดจนเสียสละโดยไม่หวังผล ้ ตอบแทน เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ พั ฒ นาตามลำา ดั บ ความมี นำ้า ใจอาจ เป็นการแสดงความรัก และห่วงใยต่อสังคม ทำาสิ่งต่างๆ เพื่อช่วยผู้ อื่นและสังคมให้มีความสุข 2.3 ลัก ษณะของผู้ท ี่ม ีค วามมีน ำ้า ใจ สาโรช บัวศรี (2515: 11) ได้ให้กำาหนด ลักษณะของครูที่ ดี จะต้องมีทั้งความรู้ ทักษะเจตคติ หรือนำ้า ใจอันดีงามนำ้า ใจอันดี งามดังกล่าว ประกอบด้วย 1. การยกย่ อ งให้ เ กี ย รติ และนั บ ถื อ ซึ่ ง กั น และกั น อย่ า ง จริงใจ 2. การช่วยเหลือ แบ่งปัน ร่วมมือซึ่งกันและกันอย่างจริงใจ 3. การเข้ า ใจที่ จ ะใช้ ปั ญ ญาในการร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ กั น แก้ไขปัญหาทั้งปวงไม่ใช้ความโกรธ ความโลภ และความหลงผิด เข้ า ปฏิ บั ติ ต่ อ กั น โยธิ น ศั น สนยุ ท ธ ; และจุ ม พล พู ล ภั ท รชี วิ น (2529: 66) ได้กำาหนดถึง พฤติกรรมที่บ่งชี้ความมีนำ้าใจไว้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการให้ความช่วยเหลือ 2. การให้ความสนใจ
  • 8. 3. การให้ความรัก พระเผด็จ ทัตตชีโว (2531: 31) ได้กำาหนดถึง องค์ประกอบของ ความมีนำ้าใจ ไว้ดังนี้ 1. มีความเสียสละ 2. โอบอ้อมอารีมีแต่ให้ 3. เห็นแก่ส่วนรวม 4. มีความสามัคคี 5. เห็นอกเห็นใจกัน 6. ใจกว้าง 7. มีเมตตากรุณา 8. รักผู้อื่น คอกซ์และไฮล์เบริน (เอษณีย์ ฉัตรวิทยานนท์. 2537: 56; อ้างอิงจาก Gough and Heilbrun. 1983: 59) ได้กำาหนดถึงความมีนำ้าใจ ว่าประกอบ ด้วย 24 คุณลักษณะดังนี้ 1. ความรู้สึกรักใคร่ไม่ทอดทิ้งกัน 2. ความรู้สึกสำานึกบุญคุณคน 3. เกรงใจ 4. ร่วมมือ 5. วางใจได้ 6. ให้อภัยไม่ผูกพยาบาท 7. มีความเป็นมิตร 8. ใจกว้าง 9. สุภาพอ่อนโยน 10. ใจดี 11. ชอบช่วยเหลือผู้อื่น 12. กรุณา 13. เข้าสังคม 14. ชอบความสงบสุข 15. มีความรู้สึกรำาลึกถึง 16. สังคมดี 17. จิตใจอ่อนโยน 18. เห็นอกเห็นใจผู้อื่น 19. รอบคอบ 20. อดทน 21. ไว้วางใจได้ 22. เข้าใจผู้อื่น
  • 9. 23. ไม่เห็นแก่ตัว 24. อบอุ่น เอ็ดเวิร์ด (เอษณีย์ ฉัตรวิทยานนท์. 2537: 56; อ้างอิงจาก Edwards. 1959) ได้กำาหนดถึงคุณลักษณะของความมีนำ้าใจไว้ ดังนี้ 1. ความต้องการช่วยเพื่อนเวลาเขาเดือดร้อน 2. ชอบช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่า 3. ชอบปฏิบัติต่อผูอื่นด้วยความมีนำ้าใจและรู้สึกเห็นใจ ้ 4. มักยกโทษแก่เพื่อน 5. ชอบทำาอะไรเล็กๆ น้อยๆ ให้แก่คนอื่น 6. ชอบเห็นใจเวลาเวลาคนอื่นได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วย 7. แสดงความรักใคร่ต่อคนอื่น 8. ชอบให้คนอื่นเล่าปัญหาส่วนตัวให้ฟัง กนก จันทร์ขจร (2533: 278) ได้กำาหนดถึงคุณลักษณะของคนมี นำ้าใจ ไว้ดังนี้ 1. มีมนุษยสัมพันธ์ 2. รู้จักกาลเทศะและโอกาส 3. ไม่เห็นแก่ประโยชน์ 4. ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม 5. รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา 6. ไม่นิ่งดูดาย 7. รู้จักให้อุปการะและปฏิบัติต่อผู้อื่นตามแต่โอกาสและไม่ หวังผลตอบแทน สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540: 15) ได้กำาหนดพฤติกรรมที่บ่งชี้ ความมีนำ้าใจไว้ดังนี้ 1. การช่วยเหลือ 2. การปลอบโยนหรือให้กำาลังใจ 3. การแสดงความเอื้ออาทร 4. การชื่นชมยินดีในความดีงามของผู้อื่น 5. การไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น จากการที่ ไ ด้ ค้ น คว้ า นิ ย ามคุ ณ ลั ก ษณะความมี นำ้า ใจที่ เ ป็ น ความเชื่อพื้นฐานของการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการที่จะศึกษา คุ ณ ลั ก ษณะขอ งความมี นำ้า ใจต ามแนวข องสำา นั ก งาน คณ ะ กรรมการ วั ฒนธรรมแห่ง ชาติ ซึ่งมีพ ฤติ กรรมที่ บ่ ง ชี้ ค วามมี นำ้า ใจ คื อ การ ช่วยเหลือ การปลอบโยนหรือให้กำาลังใจการแสดงความเอื้ออาทร
  • 10. การชื่นชมยินดีในความดีงามของผู้อื่น รวมทั้งการไม่เบียดเบียน ตนและผู้อื่น 3. งานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง 3.1 งานวิจ ัย ในต่า งประเทศ จัสติน (Justice. 1989: 3603) ได้ศึกษาความต้องการให้ ผู้อื่นเอืออาทร และความมีนำ้าใจของ ้ วั ย รุ่ น ที่ มี ค รรภ์ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ วั ย รุ่ น อายุ 12–17 ปี ที่ ไ ม่ ไ ด้ แต่งงาน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ มที่ หนึ่ งเป็นวัย รุ่ นที่ มี ครรภ์จ าก Florence Crittenton Home ซึ่งอยู่ประจำา กลุ่มที่สองเป็นวัยรุ่น ที่ มีค รรภ์แต่ไม่ได้อ ยู่ประจำา และกลุ่ มที่ สามเป็ นวั ย รุ น่ ที่ ไม่ ได้ ตั้ ง ค ร ร ภ์ เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ คื อ Different PersonalityQuestionnaire ผลการวิ จั ย พบว่ า วั ย รุ่ นที่ มี ค รรภ์ อยู่ประจำา และวัยรุ่นที่มีครรภ์ ไม่ได้อยู่ประจำามีความต้องการให้ผู้ อื่นเอื้ออาทรมากกว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ และอยู่ประจำา อย่างมี นัยสำาคัญทางสถิติ ซาเบิ ล (Sable. 1989: 5044) ได้ ทำา การศึ ก ษาลั ก ษณะ ของการมีไมตรีสัมพันธ์ ความสนิทสนม และความมีนำ้าใจ ภายใน ขอบเขตความเป็นเพื่อนของเด็กก่อนวัยรุ่น 30 คน กลุ่มตัวอย่าง คื อ เด็ ก ที่ อ ายุ 9-12 ปี ชาวผิ ว ขาว ชาย 15 คน หญิ ง 15 คน เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ คื อ Thematic Appearception (TA)แ ล ะ Network of Relationship Inventory (NRI) ผลการวิ จั ย พบ ว่ า เพศชายและเพศหญิ ง มี ค วามแตกต่ า งในด้ า นความมี ไ มตรี สัมพันธ์ ความสนิทสนมและความมีนำ้าใจอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ แลงก์ (Lange. 1989: 3676) ได้ศึกษาตัวแปร 2 ตัวแปรที่ พยากรณ์ความพึงพอใจของผู้หญิงและข้อผูกมัดในสัมพันธภาพที่ ใกล้ ชิ ด กั บ ความสำา คั ญ เฉพาะบทบาทที่ เ กี่ ย วกั บ อำา นาจ ความมี นำ้า ใจและความไว้วางใจ กลุ่ มตั วอย่างแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คื อ กลุ่ม หนึ่งเป็นหญิง และกลุ่มหนึ่งเป็นชายผลการศึกษาพบว่า เพศชาย รายงานว่ามีความมีนำ้า ใจเป็นสิ่งที่พยากรณ์ถึงความพึงพอใจและ ข้อผูกมัด ส่วนเพศหญิงรายงานว่ าความมีนำ้า ใจเป็ นสิ่ งพยากรณ์ ทางลบกับความพึงพอใจ โจนส์ (Jones. 1990: 1064) ได้ ศึ ก ษาผลของความไม่ สบายใจ ความโกรธ เพศ และความมีนำ้าใจของผู้ให้คำาปรึกษาที่มี ต่อปฏิกิริยาต่อต้านพฤติกรรมของผู้ขอ รับคำาปรึกษาที่แสดงความ โกรธ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ให้คำา ปรึกษา 46 คน ผลการวิจัยพบว่า
  • 11. ความมีนำ้า ใจสามารถพยากรณ์ ความโกรธของผู้ขอรับคำา ปรึกษา อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ คือ ผู้ให้คำาปรึกษาที่รู้สึกกังวลต่อความ โกรธของผู้ขอรับคำาปรึกษาให้ความมีนำ้าใจสูงขึ้น อายุของผู้ให้คำา ปรึกษามีความสัมพันธ์กับความมี นำ้า ใจอย่ างมี นัย สำา คัญ ทางสถิ ติ คื อ ผู้ ใ ห้ คำา ปรึ ก ษาที่ อ ายุ น้ อ ยมี ค วามมี นำ้า ใจมากกว่ า กรี แ นค (Gryvnak. 1991: 2810) ได้ศึ กษาการรั บ รู้ข องวัย รุ่ นชายและ วั ย รุ่ น หญิ ง ที่ มี ต่ อ การยอมรั บ อุ ป นิ สั ย ส่ ว นตั ว ของทั้ ง สองเพศ 5 ลักษณะ คือ ความก้าวร้าว ความมีอำานาจความมีนำ้าใจ ความเป็น อิสระ และความมีไมตรีสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครวัยรุ่น ชายและหญิงจากรัฐแคลิฟอร์เนียตอนใต้ เครื่องมือที่ใช้ คือ The Adjective Check List (ACL)ผลการศึ ก ษาพบว่ า วั ย รุ่ น ชายมี การยอมรั บอุ ปนิ สัย ส่ว นตั ว ของทั้ ง สองเพศไม่ แ ตกต่ า งกั น และมี คะแนนใกล้เคียงกับเกณฑ์ วัยรุ่นหญิงมีการยอมรับอุปนิสัยส่วนตัว ของเพศหญิ ง ไม่ พ บความแตกต่ า งและมี คะแนนใกล้ เ คี ย งกั บ เกณฑ์ ส่วนการยอมรับที่มีต่ออุปนิสัยของเพศชายมีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำา คัญทาง สถิติ และแสดงว่าการรับรู้ของเพศหญิงที่มี ต่อเพศชายมีลักษณะในทางลบและไม่พอใจ 3.2 งานวิจ ัย ในประเทศ อาคม หงษ์ท อง (2539: 65) ได้ ศึ กษาผลกิ จ กรรมกลุ่ ม ที่ มี ต่อความมีนำ้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้าน แบนชะโด เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างจำา นวน 24 คน แบ่ ง เป็ น กลุ่ ม ทดลองและกลุ่ ม ควบคุ ม กลุ่ ม ละ 10 คน กลุ่ ม ทดลองได้รับการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับ การใช้โปรแกรมการสอนปกติ ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่เข้า ร่วมกิจกรรมกลุ่มมีการพัฒนาความมีนำ้า ใจมากกว่านักเรีย นที่ ได้ รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สุกัญญา ภูริยะพันธ์ (2540: 77–78) ได้ ศึกษาการเปรียบ เทียบผลของการให้คำา ปรึกษาเป็ นกลุ่มและรายบุ ค คลตามทฤษฎี เผชิญ ความจริงที่มีต่อความมีนำ้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรีย นศรีอยุธ ยา กรุงเทพมหานคร กลุ่ มตั วอย่าง จำา นวน 16 คน แบ่งเป็ นกลุ่ม ทดลองที่ 1 และกลุ่ ม ทดลองที่ 2 กลุ่ ม ละ 8 คน กลุ่ม ทดลองที่ 1 ได้รับ การให้ คำา ปรึ ก ษาเป็ นกลุ่ ม ตามทฤษฎี เผชิญ ความจริงตามโปรแกรมที่กำา หนดไว้ 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง รวม 9 ครั้ง ครั้งละ 1.30 ชั่วโมงและกลุ่มทดลองที่ 2 ได้
  • 12. รั บ การให้ คำา ปรึ ก ษารายบุ ค คลตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง ตาม โปรแกรมที่กำาหนดไว้ 5 สัปดาห์ คนละ 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ รวม 9 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนที่ได้รับการให้ คำา ปรึ ก ษาเป็ น กลุ่ ม และรายบุ ค คลตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง มี ความนำ้าใจเพิ่มขึ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญที่ระดับ .01 โดยที่ นั ก เรี ย นได้ รั บ คำา ปรึ ก ษาเป็ น กลุ่ ม ตามทฤษฎี เ ผชิ ญ ความจริ ง มี ความนำ้า ใจเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนที่ได้รับการให้คำา ปรึกษาราย บุคคลตามทฤษฎีเผชิญความจริง ถวิลวัลย์ อัมรินทร์ (2543: 42) ได้ศึกษาความมีนำ้า ใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัด นครปฐม พบว่ า ความมี นำ้า ใจของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรีย นมหิด ลวิท ยานุส รณ์ โดยรวมและรายด้ านเพิ่ ม ขึ้ นหลั ง เข้าร่วมโครงการพัฒนาความมีนำ้า ใจ โดยใช้กิจกรรมกลุ่มอย่างมี นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มยุรี เสมใจดี (2546: 57) ได้ศึกษาผลของกลุ่มสัมพันธ์เพื่อ พั ฒนาความมีนำ้า ใจของนั กเรี ย นชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรี ย น เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาพั ฒ นาการ กรุ ง เทพมหานคร กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง จำานวน 25 คน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มสัมพันธ์มีความมีนำ้าใจต่อเพื่อนเพิ่มขึ้นอย่าง มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ .01 เศรษฐกร มงคลจาตุ ร งค์ (2546: 68) ได้ ศึ ก ษาผลการ แสดงออกที่ เ หมาะสมเพื่ อ พั ฒ นาความเฉลี ย วฉลาดทางอารมณ์ ด้ า นความเห็ น อกเห็ น ใจผู้ อื่ น ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรีย นสตรี วิท ยา 2 กรุ งเทพ มหานคร พบว่ า นั กเรี ย นที่ ไ ด้ เข้าร่วมการฝึก การแสดงออกที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาความเฉลียว ฉลาดทางอารมณ์ด้านความเห็นอกเห็น ใจผู้อื่นสูงกว่านักเรียนที่ ไม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ ก การแสดงออกที่ เ หมาสม เพื่ อ พั ฒ นาความ เฉลียวฉลาดทางอารมณ์ด้ านความเห็นอกเห็ นใจผู้อื่ นอย่างมี นัย สำา คัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากการรวบรวมข้อมูลข้างต้นจะเห็น ว่า การศึกษาความมีนำ้า ใจส่วนใหญ่จะทำา การศึกษาเกี่ยวกั บเพศ และผลของกิจ กรรมกลุ่ม ซึ่ งเป็ นการศึ ก ษาในลั ก ษณะกลุ่ ม เดี ย ว แต่การศึกษาที่เน้นหลายระดับและเกี่ยวข้องกับวิธีการอบรมเลี้ยงดู ยั ง ไม่ มี แ พร่ ห ลาย ผู้ วิ จั ย จึ ง สนใจที่ จ ะศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ด้ า นความมี นำ้า ใจในระดั บ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 3 โดยยึ ด องค์ ป ระกอบของสำา นั ก งานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ ประกอบด้วย 5 ลักษณะ คือ การช่วยเหลือ การปลอบโยนหรือให้ กำา ลังใจ การแสดงความเอื้ออาทร การชื่นชมยินดีในความดีงาม
  • 13. ของผู้อื่นและการไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ซึ่งทำาการแสดงความ เที่ยงตรง โดยวิธีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแบบวัดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ด้านความมี นำ้าใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองกับแบบวัดความ มีนำ้าใจของสำานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติและวิธีหา ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ค วามสอดคล้ อ งภายใน ซึ่ ง แสดงความสั ม พั น ธ์ ระหว่างคะแนนส่วนย่อยภายในแบบวัด กับคะแนนรวมของแบบวัด คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีนำ้าใจ นอกจากนี้แล้วยังแสดง ค่าอำานาจจำาแนกของข้อคำา ถามรายข้อตลอดจนความเชื่อมั่น ทั้ง ฉบับ และเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีนำ้า ใจ ของนักเรียนช่วงชั้น ที่ 3 โดยจำา แนกตามระดับชั้ นเรียน และวิธี การอบรมเลี้ยงดู รวมทั้งศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนที่มีระดับ ชั้นเรียนและวิธีการอบรมเลี้ยงดู ต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้าน ความมีนำ้าใจ