SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
การเสริมสรางพลังชุมชน
ดวยการแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องราวแหงความสําเร็จ
และรวมกันคนหาความฝนของชุมชน
(Empowering Community by Sharing Stories & Discovering Dreams)
ลองนึกวาดภาพโลกใบนี้ เพงตรงเฉพาะสิ่งดีงาม ความมีชีวิตชีวาของผูคน แลว
ตั้งความปรารถนาที่จะชวยกันเปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ตองการจะเห็น นี่คือที่มาของ
กระบวนการประสานความคิดเนรมิตชุมชนดวยสุนทรียปรัศนี
ความเปลี่ยนแปลงที่บังเกิดในในชวงทศวรรษ ปที่ผานมา ทามกลางความปรัก
หักพังของผลพวงที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน มิใชเกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแตเปนการ
รวมกันจุดประกาย ผูคนจํานวนไมมากนัก ชวยประสานใหขาราชการพันธใหม
นักพัฒนาในองคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกองคการบริหารทองถิ่น และผูคนในชุมชน ได
มีโอกาสรวมกันคิด รวมกันทํา โครงการสรางเสริมสุขภาพชองปากในลักษณะพหุภาคี
การกอรางสรางชุมชนเริ่มตนจากการเลาเรื่องราวของสมาชิกในแตละภาคี แตละกลุมที่
ตางผลัดกันนําเอาเรื่องราวความสําเร็จ ที่เคยรวมทํากันแตหนหลัง มาเลาสูกันฟง แลว
รอยเรียงเชื่อมโยง ปจจัยกอใหเกิดความสําเร็จ ดวยตาเปนประกาย ในบรรยากาศที่
สนุกสนาน อบอุน และเปนกันเอง มันทําใหเกิดความเชื่อมั่นขึ้นอีกครั้งวาพวกเราทํา
กันเองไดเปนอยางดี เรามีความภาคภูมิใจและตระหนักถึงคุณคาแหงสติปญญาที่มีใน
ตนเองและผูคนรอบขาง
อานิสงคของการเลาเรื่องราวแหงความสําเร็จสูกันฟง ยังจะชวยทําให การสื่อสาร 2 ทาง
เปนไปอยาง มีชีวิตชีวา เกิดอารมณรวม และมีความประทับใจในลีลาการแสดงออกของ
กันและกัน

2
จากประสบการณของการประชุมรวมกันเปนระยะ ๆ จะทําใหเราสามารถรูซึ้งถึงเหตุ
สําคัญที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน นั่นคือ การตั้งคําถามที่
มีแนวคิดและทิศทางที่เปนไปในทางบวก สามารถทําใหเกิดความเปนไปไดในการ
รวมกันทํางานเปนทีม เกิดความเอาใจใสกันและกัน ทําใหไดคนพบสิ่งดีงามรวมกัน
เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งดีที่สุดในลานสนทนาก็คือ เรามีโอกาสไดรวมกันตั้งความปรารถนาที่
จะเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับชุมชนในอนาคต
ความคิดที่ “ระเบิดจากภายใน” กอตัวอยางชา ๆ จากการเขาไปศึกษาชุมชนบานเราใน
รูปแบบที่ตางไปจากเดิม พวกเราบางคนไปนัดหมายกับกลุมผูนําธรรมชาติในชุมชนที่
เคยตั้งกลุมทําอะไรตอมิอะไรรวมกันอยางไมเปนทางการมากอน วงสนทนาระหวาง
เพื่อนพองนองพี่จะเปนไปอยางออกรส จากคําถามที่แอบฝกกันตั้งกอนลวงหนา เพื่อทํา
ใหวงสนทนามีสุนทรียะ เริ่มจาก ประสบการณความสําเร็จที่กลุมเคยรวมทําดวยกันมา
กอน ทุนของชุมชนที่พวกเขาเห็นวายังมีอยู ไมวาจะเปน รากเหงา วงศวานวานเครือ ของ
ดีที่มีอยู ตั้งแต ประเพณี การละเลนพื้นบาน ศิลปะ การแสดง โบราณสถานสําคัญ ผูที่
เคารพนับถือ ภูมิปญญาทองถิ่น อาชีพเสริมหรือความสามารถใหมภายหลังจากที่ไดรวม
กลุมกันมา และสิ่งอํานวยความสะดวกใหสามารถทํากิจกรรมชุมชนตามวิถีชวิต
ี
วัฒนธรรมของเขาเอง สิ่งที่ประทับใจตามมาก็คือการคนพบสิ่งที่ดีนั้นมีมากมายกวาที่คิด
และอานิสงคของความบันดาลใจใหรวมกันคิดมันเปนเชนนี้เอง
สิ่งที่เรียกกันวาสุนทรียปรัศนีแทจริงแลวก็คือ กระบวนการที่เชื้อเชิญใหผูคนมาผลัดกัน
ตั้งคําถามถึง “สิ่งที่ใหชีวิตชีวา” กับชุมชนแลวชื่นชมกันและกัน
ดวยกระบวนสุนทรียปรัศนีที่กลาวถึงนี้ จึงเปนการคนหาประสบการณที่ดีที่สุด และการ
คนพบสิ่งใชการไดที่มีอยูแลว แทนที่จะคนหาสิ่งที่ไมดีแลวนํามาแกไข

3
ศิลปะของการตั้งคําถามที่เสริมสรางพลัง :
(ทําใหเกิดการจุดประกาย ความกระจางแจง นวัตกรรมและปฏิบัตการ)
ิ
อิทธิพลของการตั้งคําถาม
การตั้งคําถามที่ถูกตองเปนการสรางคานงัดไปสูการพัฒนาแนวใหมที่สําคัญยิ่ง
ในฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลงทุกสาขา ไมวาทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
สิ่งแวดลอม หรือทางการเมืองก็ตาม เราใชเวลาตั้งคําถามทั้งถามตัวเองและผูคนในแตละ
วัน แตเราคนหาคําตอบในคําถามที่ผิดทั้งกาละ เทศะและประชุมชน เพราะเราถูกฝกปรือ
มาเปนอยางดีในการแกไขปญหาแบบดั้งเดิม
แนวทางแกไขปญหาแบบดั้งเดิมสอนเรา ใหมุงคนหาสาเหตุของปญหา และ
วิเคราะหปญหาอยางถี่ถวน เราผลิตขอมูลออกมาหนาตอหนา วามีสิ่งใดผิดพลาดและ
วิภากษวิจารณในเชิงตําหนิติเตียนการกระทําผิดพลาดไปตลอดแนว ผลลัพธที่ไดหลัง
จากนั้นก็คือ การพุงเปาไปที่องคกร และชุมชนมิไดกอใหเกิดความรวมมือหรือทางเลือก
ใหม ที่ดีกวาเดิมแตประการใด ในทางตรงขาม กลับกอใหเกิดการราวฉาน ปฏิกริยา
ตอตาน และทํารายจิตใจของผูคนทั้งในองคกรหรือชุมชนอยางกวางขวางเปนทวีคูณ
การมุงเนนไปที่สิ่งใชการได และสิ่งดี ตลอดจนสิ่งที่ดีที่สุด ที่เคยทํามาเปนแกน
ธรรมของการทํางานในกระบวนการ“สุนทรียปรัศนี” (Appreciative Inquiry)
เราเรียกการทํางานแบบนี้วา “การมองหาอะไรดี ๆ ในสิ่งที่มีอยู หรือสิ่งที่เคยทํา”
การตั้งตนทํางานดวยการมองโลกในแงดีแบบนี้ มาจากแนวคิดตนตํารับของ
เดวิด โคออบเปอริเดอร เมื่อกวา 2 ทศวรรษที่ผานมา (ในปพ.ศ. 2529) จากการวิจัย
ทางธุรกิจ ของ Western Reserve University Business School
มีการนํากระบวนการทํางานแบบนี้ไปใชในบรรษัทชั้นนําระดับโลกหลายแหง
แมจะไมคอยแพรหลายในวงการธุรกิจสวนใหญ แตสําหรับในกลุมนักพัฒนาชุมชนและ
องคกรพัฒนาเอกชนแลว มีการกลาวขานถึง และเปนที่นิยมกันในแวดวงนักวิชาการ
และนักวิจัยปฏิบัติการ อยางกวางขวางทั่วโลก ทั้งในหมูนักพัฒนาชุมชน ในประเทศที่
กําลังพัฒนา ในศาสนจักรและวงการทหาร

4
สุนทรียปรัศนี เปนรูปแบบหนึ่งของการทํางานเพื่อแกไขปญหาที่ใหความสําคัญ
กับคุณคาและศักดิ์ศรีของมนุษยและใชแทนการแกไขปญหาแบบดั้งเดิมที่แกอยางไรก็ไม
สําเร็จ และเปนที่ประจักษชัดวาคนตางหากที่แกปญหา ไมใชกระบวนการหรือวิธีการ

วงจรแหงสุนทรียปรัศนี

รวมคนพบ
สิ่งดีแลวชื่นชม
(Discovery)

รวมสรางสรรค

รวมถักทอฝน

สิ่งดีเพื่อสังคม

อยางสมศักดิ์ศรี

(Destiny)

(Destiny)

รวมออกแบบ
ทํางานอยางสุนทรีย
(Design)

5
เมื่อพิจารณาวงจรแหงสุนทรียปรัศนีในผังภาพขางบนจะพบวา แบงไดเปน 4
ขั้นตอนหรือระยะ ที่เนนสิ่งดี (4ดี) และไปพองพานกับคําในภาษาอังกฤษโดยบังเอิญ
กลาวคือ
1 Discovery– Appreciate what is
2 Dream – Imagine what might be
3 Design – Determine what should be
4 Destiny – Sustaining/on-going learning
ดี1คือการรวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery) เริ่มตนดวยการตั้ง
คําถามวา “อะไรใหชีวิต ชีวากับทีมงาน องคกรหรือชุมชน” ดวยการจับคูระหวาง
สมาชิกกลุมผลัดกันเลาเรื่องราวจากคําถามที่วา “กรุณาบอกฉันทีวา มีชวงเวลาใดบางที่
คุณตื่นเตนและภาคภูมิใจที่สุดที่ไดมีสวนรวมในการทํางานในองคกรนี้?”
ดี 2 คือการรวมถักทอความใฝฝนอยางสมศักดิ์ศรี (Dream) คําถามตั้งตน
จาก“อะไรคือสิ่งที่ทานอยากจะ ....?”มันทําใหเราสามารถสรางสรรควิสัยทัศน ใน
อนาคตที่รวมเขาไดกับความสําเร็จที่เคยเกิดขึ้นแลวในอดีตและความตื่นตาตื่นใจ
วิสัยทัศนกลายเปนประโยคทองในเรื่องโอกาสที่กําลังจะมีมาในอนาคต หลังจากนั้น
วิสัยทัศนจะเขามากําหนดชะตาชีวิต โดยผานการนําเสนอที่สรางสรรค ดั่งคําประการ
เจตนารมณ การทองเที่ยวทางจินตนาการ ฯลฯ แลวทําใหมันชัดเจน
ดี 3 คือการออกแบบสรรสรางอยางสุนทรียะ(Design) ตั้งคําถามวา “หาก
จะทําใหความใฝฝนเปนจริง เราจะออกแบบ วิธีการ กระบวนการ โครงสรางและ
สัมพันธภาพในการทํางานอะไรบาง?”
ดี 4 คือการสรางสรรคสิ่งดีเพื่อชุมชน องคกรหรือสังคม (Destiny) คําถามที่
นําไปสูการทํางานรวมกันอยางสรางสรรคก็คือ “เราจะทํากันอยางสรางสรรคได
ยังไง?”เพื่อจะใชขุมพลังที่เรามีอยู รวมทั้งระยะเวลา และการกําหนดลําดับความสําคัญ .
ในขั้นตอนนี้ทานตองทํางานเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนที่ไดกําหนดไวแลว

6
สุนทรียปรัศนีในการพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพยชมชน
ุ
การพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพยชุมชนเปนฐาน เปนตัวผลักใหสุนทรียปรัศนีเกิด
ความเคลื่อนไหว ความคิดที่เปนกุญแจดอกสําคัญในเรื่องนี้ก็คือ เมื่อใดก็ตามที่ชุมชน
ไดรับการมองในสวนที่มีสินทรัพยผลจะเปนไปในทางบวก ในขณะที่หากชุมชนถูกมอง
วาขาดแคลนผลก็จะออกมาในทางลบ หรือเปนปญหาที่จะตองแกไขเยียวยา
ปรัชญาของการทํางานในชุมชนนั้น เริ่มตั้งตนที่
“ปญญาของชุมชน”แทนที่จะตั้งตนที่“ปญหาของชุมชน”
การเสริมสรางพลังชุมชนจึงเปนเรื่องที่ชุมชนนั้นจะตัดสินใจใชวิธีการไหนจัดการกับสิ่ง
ที่ทาทายในชุมชนของตนเอง ระหวาง

“จะแนวแนแกไขในสิ่งผิด” กับ “จะรักชาติยิ่งชีวิต ทําสิ่งถูก”
(We will either Do the THING right or Do the RIGHT thing)

7
ตั้งคําถามอยางไรใหเสริมสรางพลัง?
หากเรายังไมเคยเรียนรูในเรื่อง “คําถามที่เสริมสรางพลัง”มากอนลองมาให
คะแนน คําถามตอไปนี้ดูนะครับ วาคําถามใดจะทําใหเสริมสรางพลังมากกวากัน หากมี
ชวงคะแนน ตั้งแต1-10 และ10 คือคะแนนที่เสริมสรางพลังมากที่สุดทานทานจะให
คะแนนในคําถามตอไปนี้ กี่คะแนน ?
- ตอนนี้กี่โมงแลว?
- มีความเปนไปไดอะไรพอมีเหลืออยู ที่เรายังไมไดคิดถึงบาง?
- ทานขาวแลวหรือยัง?
- ที่วามีจริยธรรมนั้นหมายถึงยังไง?
- ทานไปไหนมา?
- เสื้อตัวนี้สวยดี ทานซื้อมาจากไหน?
คําถามที่เสริมสรางพลัง
- ทําใหเกิดความอยากรูอยากเห็นและเชื้อเชิญใหตอบแบบสรางสรรค
- มุงเนนไปยังการทําใหสะทอนความคิดออกจากตัวผูถาม
- ทําใหอยากตอบดวยดวงตาที่เปนประกาย
- คําตอบความหมายที่ลึกไปกวาปรกติและเปนสิ่งที่ผูตอบ“มี”อยูแลว
- คําตอบทําใหกลายเปนเรื่องที่แพรกระจายไปในหมูเพื่อนฝูงหรือองคกรได
รวดเร็ว (ผูคนสนใจ แพรไปไดเร็ว)

8
ลองออกแบบคําถามที่เสริมสรางพลัง
คําถามที่เสริมสรางพลังมี 3 มิติ

มิติแรก “ออกแบบกอสราง” ทําใหเกิดความแตกตางอยางเห็นไดชัดเจนระหวาง
การเปดกวาง กับการปดทางความคิดของผูตอบ
คําถามตอไปนี้เรียงกันอยูระหวางการเสริมสรางพลัง จากนอยไปหามาก
คําถามแบบ ถูก / ผิด
ทําไม
ยังไง
อะไร
สิ่งใด
หากวา...
ใคร
เมื่อไหร
ที่ไหน
ลองผูกเปนประโยคคําถามดูนะครับ
ลูกหลานของเราที่นี่ไดออกกําลังกายตามที่อยากทําหรือไม?
กรุณาอธิบายถึงตอนที่เด็ก ๆในชุมชนของเราเทาที่ผานมาไดมีความสุข
และออกกําลังกายกันอยาง สนุกสนานไดไหมครับ ?
มีการสนับสนุนกันในชุมชนของเราใหเด็ก ๆ มีสขภาพดี ยังไงกันบาง
ุ
ครับ? และหาไดจากไหน?
ทําไมเด็ก ๆที่นี่จึงดูเฉื่อยชาไมสดใสและรับประทานกันอยางแยๆ ครับ?
หากคิดจะทําดีใหลูก ทําถูกใหหลานของเราทานคิดวาชุมชนของเราจะ
สนับสนุนใหเด็ก มีชีวิตชีวา มีความสุข และรางกายแข็งแรงอยางไรได
บางครับ?
หากทาน เปลี่ยนจากคําถาม ถูก/ผิด? มาเปน ทําไม? แลวไปสู อะไรจะเกิดขึ้นบาง หาก
เรา….? คําถามจะทําใหมีการสะทอนความคิด และสรางสรรคมากขึ้นกวาเดิม

9
ขอพึงระวัง
ในกรณีที่มีการถามวาทําไม ? บางครั้งอาจยั่วยุใหผูตอบปกปองตัวเองจากการถูกตําหนิ
มากวาที่จะคิดออกแบบอยางสรางสรรค ดังเชน ...ทําไมแนวรวมของเราจึงสดุดและไม
ขยายวงออกไป ?

มิติที่ 2 ขอบเขตของคําถาม
การตั้งคําถามตองสื่อไดอยางเหมาะสม ลองดูผลกระทบของขอบเขตตอไปนี้
ในฐานะทีมงานเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร?
ในฐานะแนวรวม เราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร?
ในชุมชนของเราเองเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร?
คําถามขางบนแสดงถึงการตั้งคําถามที่กาวหนาและกวางขวางพอเหมาะ แตบางคําถาม
อาจกวางเกินไป แมวาจะนาสนใจ อาทิ
เราจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพคนในชาติของเราไดอยางไร?

มิติที่ 3 สมมติฐาน
ปรกติแลวคําถามสวนใหญจะมีสมมติฐานอยูภายในตัวคําถาม
เราจะสรางระบบการศึกษาที่มี2ภาษาไดอยางไรในภาคเหนือ?
เราไดทําผิดอะไร และใครควรจะรับผิดชอบ?
เราลองคนหาดูวาอะไรทําใหเกิดความไมรวมมือกันระหวางพหุภาคี?
มีบทเรียนอะไรบางจากสิ่งที่เกิดขึ้นและความเปนไปไดในอนาคตมีอะไรบาง?

10
ลองตีความจากคําถามขางบนวา
• คําถามใดที่ทําใหเกิดการแกไขปญหา ?
• คําถามใดที่นําไปสูการตําหนิ?
• คําถามใดที่กอใหเกิดการปกปองตัวเอง?
คําถามใดที่นําไปสูการสะทอนความคิด ความสรางสรรค?
คําถามใดที่กอใหเกิดความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ?

-/+

กรณาตรวจสอบตอไปอีกวาแตละคําถามนําไปสูอะไรเปนสําคัญ
มีคติฐานหรือความเชื่ออะไรที่แฝงอยูในคําถามนั้น ๆ ?
เราจะใชวิธีการอยางไรหากระบบความเชื่อดังกลาวแตกตางกันโดยสิ้นเชิง?

การทดลองตั้งคําถามเพื่อนําไปการใชกระบวนการสุนทรียปรัศนี
จงใหความสนใจในเรื่อง การออกแบบ ขอบเขต และความเชื่อในคําถามที่เราตั้ง เมื่อเรา
ทํางานรวมกันเปนทีม เราใชเวลาในการตั้งคําถาม
1 เริ่มจากการสนทนา ถึงวัตถุประสงคและ กระบวนการทํางาน
2 ทํางานกับทีมงานใหเขียนคําถามหลายคําถามในประเด็นที่เกี่ยวของกัน
3 พิจารณาและใหคะแนนคําถามเหลานั้นวา
คําถามใดที่ทําใหเกิดการสะทอนความคิดและความสรางสรรคไดดี
ที่สุด?
คําถามใดที่ผลของมันจะออกมาในเชิงบวก?
มีคติฐานอะไรที่แฝงอยูในแตละคําถามนั้น?
4 ลองเอาไปถามกับคนนอกที่ไมไดเกี่ยวของกับกรณีนั้น เพื่อดูวามันใชการไดดียังไง?
และ พิจารณาวามันนําไปสูการสนทนาในแบบไหน?

11
D1

ตัวอยางการตั้งคําถามเพื่อใชในกระบวนการสุนทรียสนทนา
1 การรวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery)
ตัวอยางคําถามที่รวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม
ทานมีความสุข และความสําเร็จที่สุดในการงาน ตอนไหน ?
อะไรทําใหงานของทานมีคา/มีความหมาย?
บทบาทของทานมีคุณคาหรือนาตื่นเตนอยางไรบาง?
คุณไดรับความบันดาลใจมาจากไหน/ใคร?
หากคุณเปนผูจัดการในองคกรคุณจะใหเวลามากกวาในสวนไหน?
คุณมีความยินดีและภาคภูมิใจในอะไรมากที่สุด?
คุณรูสึกมั่นใจในอะไรมากที่สุด?
บอกมา 3 อยางที่ทานชอบมากที่สุดที่นี่?
ธรรมชาติของงาน ตรงไหนที่ทานเห็นวามีคาที่สุด?
งานที่นี่มีเสนหดึงดูดผูคนยังไงบาง?
หากคุณสามารถจะคุยกับหัวหนาองคกรนี้ได คุณจะบอกทานวา ทานมี
ความสามารถอะไรที่จะทําใหงานของคุณดีขึ้น/เร็วขึ้น/สนุกกวาเดิม?

12
D2

2 การรวมถักทอฝนอยางสมศักดศรี (Dream)
ตัวอยางคําถามที่ถักทอความใฝฝนรวมกัน:
ทานลองจินตนาการแลวบอกผมสิครับวา อะไรคือสิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นจากนี้ตอไป
ในอนาคต อีก 5-10ปขางหนา?
คุณปรารถนาอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นกับองคกรที่นี่ในอนาคตบาง?
หากคุณมีเวทมนต เสกใหสิ่งดีๆเกิดขึ้นในอนาคต คุณจะเสกอะไรสําหรับองคกร
นี้?
คุณอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นในอีก 5 ปตอไปขางหนาที่องคกรนี้?
มีวิถีทางใดบางที่เราจะอยูรวมกันกับผองเพื่อนที่นี่อยางมีความสุข?
หากมีโอกาสอยางไมมีที่สิ้นสุด ทานและชุมชนทีนี่ ทานอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้น
่
ระหวางเราดวยกันบาง?
**แบงกลุมยอย พัฒนาวิสัยทัศน นําเสนอมันอยางมีศิลปะและสรางสรรค โดยใช

ถอยคํา บัตรคํา การวาดรูป ใชแผนที่ความคิด และอื่น ๆ
D3

3 รวมออกแบบสรรคสรางอยางสุนทรียะ (Design)
ตัวอยางคําถามในการออกแบบ “วิธีการ”รวมกัน
เมื่อคุณคนพบจุดแข็งและโอกาสในชวงแรกไดแลว เราจะหาทางสูฝนของเรา มัน
จะมีหนาตาเปนยังไง?
ลงเขียนประโยคทองที่สรางสรรค,ทาทายและนาตื่นเตน
จากจุดปจจุบันที่เปนอยู,ใชความภาคภูมิใจในอดีตเปนตัวเริ่ม
- ความสําเร็จที่มี ที่ปรารถนาปจจุบันสูอนาคต

คําถามคือ
13
เราจะทําใหความปรารถนาของเราบรรลุผลสําเร็จไดอยางไร?
หากจะทําใหฝนเปนจริง ลองหาวิธีการใหมๆที่จะสรางใหฝนเปนจริง?
ปจเจก เขียน สิ่งที่ตนสนใจ เล็ก ๆ
จากนั้นระดมความคิดเปนกลุม
ทําใหเปนโมเดล
นําไปสูการสรางแผนปฏิบัติการ

D4

4.รวมสรางสรรคสิ่งดีเพื่อสังคม (Destiny)
ตัวอยางคําถามที่กําหนดชะตากรรมรวมกัน
หากจะมีสิ่งดีๆเกิดขึ้นแกเรา เพื่อนรวมงานและองคกรของเรา เราจะตั้ง
ตนทําอะไร รวมกันในวิธีการ/แนวทาง/กระบวนการ/กิจกรรม/เทคนิค
ใหม?
หากเราหวังจะประสบความสําเร็จที่ยิ่งไมเคยมีมากอน เราจะตองไมทํา
แบบเดิมๆ
ทีมงานทางแผนปฏิบัติการแลวใหแตละคน กําหนดวา ตัวเองจะ
เหมาะสมในงานไหน ตามความสามารถ / พรสวรรค และใชขมพลัง
ุ
สินทรัพยที่มีอยู ?

14
วิธีการคิดและตั้งคําถาม แบบ สุนทรียปรัศนี
“มรรค 8:
สัมมาทิฐิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวายามะ สัมมาอาชีวะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ”
1 ใน อริยสัจ 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจา

เริ่มจาก การมองโลกในแงดเี สมอ คําถามจึงเวียนวนอยูในแงบวก อาทิ ความมีชีวิตชีวา มี

ความหมาย มีคุณคา ความสุข ความสําเร็จ ความหวัง พลังของตัวเรา องคกรของเราและชุมชนของ
เรา
เมื่อชุมชนใช สุนทรียปรัศนี การแลกเปลี่ยนเรียนรูจึงสกัดความรูจาก
•
•
•
•
•
•

สิ่งที่ดีที่สุดของการปฏิบัติในชวงอดีตที่ผานมา
การมองไปในอนาคตขางหนาอยางงดงามสดใส กระจางชัด
การชื่นชมในคุณคาของสิ่งที่ประสพรวมกัน
การออกแบบทางเลือกใหมที่ตนเองเปนผูปฏิบัติในฐานะพลเมือง

การดําเนินกิจกรรมอยางขันอาสา และรูคุณคาของสิ่งที่มี
ขอสําคัญที่สุดอยูที่ การจินตนาการ มองเห็นตนเองเปน ผูปฏิบัติการ ผูให
ผูโรมรุกหรือ ผูเปลี่ยนแปลง แทนที่จะเปน ผูรับกรรม ผูถูกปฏิบัติ ผูรับ
หรือผูรองรับ

ดังนั้น ผูที่ตั้งคําถาม แบบสุนทรียปรัศนี จะตองรําลึกไวเสมอก็คือ
1.ถามถึงสิ่งที่ดีที่สุด ไมวาจะใหเลาในเรื่อง
• ผลลัพธที่เคยเกิดขึ้น ในเรื่องของปริมาณ คุณภาพ อะไร อยางไร เทาใด ?
15
• วิธีการที่ทําใหเกิด ในรูปแบบใด กลวิธีใด กุศโลบายใด หรือยุทธศาสตรใด ?
• ปจจัยที่เอื้ออํานวยใหเกิด อาทิ ผูรวมกันทําคือใคร ในชวงเวลาใด ที่สิ่งที่มีคุณคาใดทีไดถูก
่
นํามาใชใหเกิดผลลัพธ เชนนั้น ? ฯลฯ
2. ใชคําถามในเชิงบวก ที่มาจากคติฐานในทางบวกเชนเดียวกัน เชน เพื่อนรวมงานของเราเปน
่
้
อยางไรบาง ทีทําใหทานดีใจที่ไดทํางานชินนี้ ?
3. ใชประเด็นที่ทําใหเกิดความตื่นเตน ทาทาย เชน “ผูนํา”นั้นอาจเปนใครก็ไดที่ตองการชวยให

งานชิ้นนี้ประสพความสําเร็จ.
4. ใชคําถามที่แสดงออกถึงการเชื้อเชิญ การใหแสดงความรูสึกที่ดี ๆ หรือ การใหเห็นโลกในแง
บวก
5. ตั้งคําถามที่นําไปสูการ เลาเรื่องราวประสบการณที่นาประทัปใจของผูตอบเอง เปนหลัก

6. ทาทีของการตั้งคําถามใหออกเปนทํานอง ชวนสนทนา ไมเปนทางการ เปนแบบพี่ ๆ นอง ๆ
และที่สําคัญที่สุดคือ ทาทีของการตั้งใจฟง ใหเกียรติ สุภาพ ชื่นชม ยกยอง ประดุจกัลยาณมิตร หรือ
ญาติธรรม ปราศจาก การหักหาญน้ําใจ ประชด แซว หรือลบหลู
7. ใชคําถามปลายเปด ซึ่งไมตองการคําตอบตายตัว ยิ่งเปนการไมคาดฝน หรือนาอัศจรรยใจ ยิ่งทํา
ใหเกิดรดชาด และความรูสึกที่ดี คาดหวังวาจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางอยางที่นาตื่นเตน ประหลาด
ใจ
8. แสดงความชิ่นชมในประสบการณที่เขาเลาอยางจริงใจ
คิดบวก มองบวก เห็นบวก พูดบวก เมื่อลงมือทําก็เลยบวกตามไปดวย !!!!!!!
คิดในทางบวก
“พลังของการตั้งคําถามที่เปนตนตอแหงปญญาและสัมมาทิฐ”
ิ
√ ใครก็ตามทีตั้งคําถามจะเปนผูชี้นําแนวทางและมีพลังของผูนําการเปลี่ยนแปลง (โปรดพิจารณา
่
ความแตกตางระหวางการถามหัวหนาตํารวจ เกี่สวกับอาชยากรรมกับการรักษาความปลอดภัยของ
ชุมชน)

16
√ ภาพลักษณแหงอนาคตนั้นมีอิทธิพล เราสามารถเคลื่อนไปในทิศทางที่เราสรางจินตนาการ √
ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนลบนั้นทําใหเราสิ้นหวังและออนแอทั้งกายและใจ
ในทางกลับกัน ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนบวกนันก็ทําใหเราเต็มเปยมไปดวย
้
ความหวังและเขมแข็ง มันสามารถนําเราไปในทิศทางที่เราประสพความสําเร็จได
√ การสนทนาวิสาสะในทางบวกนันมีอิทธิพลตอสุขภาพจิต และจําเปนที่พวกเราตองไดรับการฝก
้
หัด ในชีวตประจําวันของเรานั้นแวดลอมดวยเหตุการณและถอยคําที่เปนลบ มันบั่นทอนทั้งพลังกาย
ิ
และพลังจิตเราจึงตองแทนทีมันดวยการสรางความเชื่อมันใหกับตัวเอง และผูคนในชุมชนดวย
่
่
√ ภาพลักษณที่เปนบวกของเยาวชนมีความสําคัญตอการกอรางสรางวัฒนธรรมทางสังคมใหม ใน
อันที่จะจุดประกายปลุกเราและกระตุนใหเยาวชนทําสิ่งดีงามใหกับสังคม ทุกวันนี้เราไดรับขอมูล
ขาวสารทั้งในทางวิทยุ โทรทัศนและในวงสนทนาที่สอใหเห็นวาเยาวชนเปนผูกอปญหา หรือกอ
อาชญากรรมที่นากลัว เราจําเปนตองมีตัวอยางของเยาวชนที่แสดงออกอยางสุนทรียะ มีความมุงมัน
่
มานะพยายาม ทําตัวเองใหมคุณคา และแสดงออกตอเพื่อนมนุษยอยางผูที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรีและ
ี
ประสพความสําเร็จ เหนือสิ่งอื่นใด เราตองเสริมสรางพลังเยาวชน ดวยการเปลี่ยนแปลงมุมมอง
ของผูใหญที่มีตอเยาวชนเสียใหม
√ ระบบชีวิตของมนุษยตองการการเลื่อนไหวไปสูทิศทางที่เปนบวก ดุจดอกทานตะวันที่หันหนา
ไปทางที่มีแสงตะวันอยูเปนนิจ การตั้งคําถามที่เปนไปในทางบวกรวมทังการแสดงความรูสึก
้
ในทางชื่นชมอยางไมมีเงื่อนไข ทําใหเกิดพลังงาน เปรียบประดุจแสงตะวันทําใหพชพันธมีชีวิตชีวา
ื
และเติบโต
√ คนหนุมสาวสามารถชวยใหสังคมที่พลังสดใสและมีภาวะแวดลอมเปนไปในทางบวก สิ่ง
ทั้งหลายทั้งปวงขึ้นอยูกับชีวตและทิศทางของผูใหญที่จะมองบวกและทําใหเกิดความเปนไปไดใน
ิ
ทางบวก โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกตองการภาวะผูนําและความกลาหาญของผูใหญเปนสําคัญ
√ การตราชื่อ การใหรางวัลและการถามหาสิ่งที่ตองการพบพานนัน กอใหเกิดผลลัพธอันเลอเลิศใน
้
การทํางานรวมกันอยางไมตองสงสัย มันสามารถเขาไปแทนที่การลําเลิก ตําหนิตเิ ตียน ประณาม

พร่ําบน ดวยความประสงคทาใหเกิดผลลัพธที่ดีขึ้นไดอยางนาอัศจรรย ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองทํา
ํ
ใหไดจนเปนนิสัย
“…..ระบบชีวิตของมนุษยเติบโตไดอยางงดงาม จากการตั้งคําถามที่ทรงพลัง”
เดวิด คูเปอรริเดอร และ ไดนา วิทนีย
17
REFERENCES
Barrett, F.J. (1998). “Creativity and Improvisation in Jazz and Organizations:
Implications for Organizational Learning,” Organization Science, 9(5), 605-622.
Brewer, J., & Hunter, A. (1989). Multi-method Research: A Synthesis of Styles,
Newbury Park, California: Sage Publications.
Cooperrider, D.L. & Srivastva, S. (1987). “Appreciative Inquiry in Organizational
Life,” Research in Organizational Change and Development, I, 129-169.
Cooperrider, D.L., (1990). “Positive Image, Positive Action: The Affirmative
Basis of Organizing,” Appreciative Management and Leadership, San Francisco,
CA: Jossey Bass.
Cooperrider, D. L. & Whitney, D., (1999). Appreciative Inquiry: Collaborating for
Change. San Francisco, California: Berrett-Koehler Communications, Inc.
Cooperrider, D.L., Whitney, D., & Stavros, J.M. (2003). Appreciative Inquiry
Handbook: The First in a Series of AI Workbooks for Leaders of Change.
Cleveland, Ohio: Lakeshore Communications.
Creswell, J. W. (1994). Research Design: Qualitative & Quantitative
Approaches. Thousand Oaks, California: Sage Publications.
Fry, R., Barrett, F., Seiling, J., & Whitney, D. (2002). Appreciative Inquiry and
Organization Transformation, Reports From The Field. Westport, Connecticut:
Quorum Books.
Ludema, J.D., Cooperrider, D.L. & Barrett, F.J. (2001). Appreciative Inquiry: the
Power of the Unconditional Positive Question. In P. Reason and H. Bradbury
(Eds.), Handbook of Action Research: Participatory Inquiry and Practice.
(pp.189-199). Thousand Oaks, California:Sage Publications.
Strauss, A. & Corbin, J. (1990). Basics of Qualitative Research: Grounded
Theory Procedures and Techniques. Newbury Park, California: Sage
Publications.
U.S. Department of Health and Human Services, National Center for Health
Statistics. (1997, September). National Nursing Home Survey (ICPSR 6998).
Ann Arbor, MI: ICPSR.
Watkins, J. M. & Mohr, B. J. (2001). Appreciative Inquiry: Change at the Speed
of Imagination. San Francisco, California: Jossey-Bass/Pfeiffer
Vogt, E., Brown, J., and Issacs, D. (2003). The Art of Powerful Questions: Catalyzing
Insight, Innovation, and Action.
Yaeger, T.F. & Sorensen, Jr., P.F. (2001). What Matters Most in Appreciative
Inquiry. In D. Cooperider, P. Sorensen, Jr., T. Yaeger, & D. Whitney (Eds.),
Appreciative Inquiry: An Emerging Direction For Organization Development.
(pp.129-142). Champaign, Illinois: Stipes Publishing L.L.C.

18

More Related Content

Viewers also liked

การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมDental Faculty,Phayao University.
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาAuamporn Junthong
 
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...Dental Faculty,Phayao University.
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA AppreciationDr.Suradet Chawadet
 
Applying positive psychology at work
Applying positive psychology at workApplying positive psychology at work
Applying positive psychology at workGabriel Benavente
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 

Viewers also liked (18)

香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนาAi ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
 
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
 
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้งAi ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
 
Applying positive psychology at work
Applying positive psychology at workApplying positive psychology at work
Applying positive psychology at work
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 

Similar to สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามที่เสริมสร้

หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขหลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขDental Faculty,Phayao University.
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามAmnuay Nantananont
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบkrusupap
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54KASETSART UNIVERSITY
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงLove Oil
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายในPattie Pattie
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 

Similar to สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามที่เสริมสร้ (20)

หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขหลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
lub-nong
lub-nonglub-nong
lub-nong
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายใน
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 

More from Dental Faculty,Phayao University.

สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolสุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamolDental Faculty,Phayao University.
 
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณเพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณDental Faculty,Phayao University.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกDental Faculty,Phayao University.
 
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สากระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สาDental Faculty,Phayao University.
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามลการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolAppreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamolDental Faculty,Phayao University.
 
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นอัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นDental Faculty,Phayao University.
 
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokแผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokDental Faculty,Phayao University.
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะDental Faculty,Phayao University.
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-Dental Faculty,Phayao University.
 
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่Dental Faculty,Phayao University.
 

More from Dental Faculty,Phayao University. (17)

นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwanนวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
 
Globalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
Globalization Vaccine for Marginalize pelple in HealthGlobalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
Globalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
 
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolสุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
 
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณเพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
 
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
 
A Social Vaccine for Globalization.
A Social Vaccine for Globalization.A Social Vaccine for Globalization.
A Social Vaccine for Globalization.
 
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สากระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามลการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolAppreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
 
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นอัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
 
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokแผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
 
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
 

สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามที่เสริมสร้

  • 1. 1
  • 2. การเสริมสรางพลังชุมชน ดวยการแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องราวแหงความสําเร็จ และรวมกันคนหาความฝนของชุมชน (Empowering Community by Sharing Stories & Discovering Dreams) ลองนึกวาดภาพโลกใบนี้ เพงตรงเฉพาะสิ่งดีงาม ความมีชีวิตชีวาของผูคน แลว ตั้งความปรารถนาที่จะชวยกันเปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ตองการจะเห็น นี่คือที่มาของ กระบวนการประสานความคิดเนรมิตชุมชนดวยสุนทรียปรัศนี ความเปลี่ยนแปลงที่บังเกิดในในชวงทศวรรษ ปที่ผานมา ทามกลางความปรัก หักพังของผลพวงที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน มิใชเกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแตเปนการ รวมกันจุดประกาย ผูคนจํานวนไมมากนัก ชวยประสานใหขาราชการพันธใหม นักพัฒนาในองคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกองคการบริหารทองถิ่น และผูคนในชุมชน ได มีโอกาสรวมกันคิด รวมกันทํา โครงการสรางเสริมสุขภาพชองปากในลักษณะพหุภาคี การกอรางสรางชุมชนเริ่มตนจากการเลาเรื่องราวของสมาชิกในแตละภาคี แตละกลุมที่ ตางผลัดกันนําเอาเรื่องราวความสําเร็จ ที่เคยรวมทํากันแตหนหลัง มาเลาสูกันฟง แลว รอยเรียงเชื่อมโยง ปจจัยกอใหเกิดความสําเร็จ ดวยตาเปนประกาย ในบรรยากาศที่ สนุกสนาน อบอุน และเปนกันเอง มันทําใหเกิดความเชื่อมั่นขึ้นอีกครั้งวาพวกเราทํา กันเองไดเปนอยางดี เรามีความภาคภูมิใจและตระหนักถึงคุณคาแหงสติปญญาที่มีใน ตนเองและผูคนรอบขาง อานิสงคของการเลาเรื่องราวแหงความสําเร็จสูกันฟง ยังจะชวยทําให การสื่อสาร 2 ทาง เปนไปอยาง มีชีวิตชีวา เกิดอารมณรวม และมีความประทับใจในลีลาการแสดงออกของ กันและกัน 2
  • 3. จากประสบการณของการประชุมรวมกันเปนระยะ ๆ จะทําใหเราสามารถรูซึ้งถึงเหตุ สําคัญที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน นั่นคือ การตั้งคําถามที่ มีแนวคิดและทิศทางที่เปนไปในทางบวก สามารถทําใหเกิดความเปนไปไดในการ รวมกันทํางานเปนทีม เกิดความเอาใจใสกันและกัน ทําใหไดคนพบสิ่งดีงามรวมกัน เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งดีที่สุดในลานสนทนาก็คือ เรามีโอกาสไดรวมกันตั้งความปรารถนาที่ จะเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับชุมชนในอนาคต ความคิดที่ “ระเบิดจากภายใน” กอตัวอยางชา ๆ จากการเขาไปศึกษาชุมชนบานเราใน รูปแบบที่ตางไปจากเดิม พวกเราบางคนไปนัดหมายกับกลุมผูนําธรรมชาติในชุมชนที่ เคยตั้งกลุมทําอะไรตอมิอะไรรวมกันอยางไมเปนทางการมากอน วงสนทนาระหวาง เพื่อนพองนองพี่จะเปนไปอยางออกรส จากคําถามที่แอบฝกกันตั้งกอนลวงหนา เพื่อทํา ใหวงสนทนามีสุนทรียะ เริ่มจาก ประสบการณความสําเร็จที่กลุมเคยรวมทําดวยกันมา กอน ทุนของชุมชนที่พวกเขาเห็นวายังมีอยู ไมวาจะเปน รากเหงา วงศวานวานเครือ ของ ดีที่มีอยู ตั้งแต ประเพณี การละเลนพื้นบาน ศิลปะ การแสดง โบราณสถานสําคัญ ผูที่ เคารพนับถือ ภูมิปญญาทองถิ่น อาชีพเสริมหรือความสามารถใหมภายหลังจากที่ไดรวม กลุมกันมา และสิ่งอํานวยความสะดวกใหสามารถทํากิจกรรมชุมชนตามวิถีชวิต ี วัฒนธรรมของเขาเอง สิ่งที่ประทับใจตามมาก็คือการคนพบสิ่งที่ดีนั้นมีมากมายกวาที่คิด และอานิสงคของความบันดาลใจใหรวมกันคิดมันเปนเชนนี้เอง สิ่งที่เรียกกันวาสุนทรียปรัศนีแทจริงแลวก็คือ กระบวนการที่เชื้อเชิญใหผูคนมาผลัดกัน ตั้งคําถามถึง “สิ่งที่ใหชีวิตชีวา” กับชุมชนแลวชื่นชมกันและกัน ดวยกระบวนสุนทรียปรัศนีที่กลาวถึงนี้ จึงเปนการคนหาประสบการณที่ดีที่สุด และการ คนพบสิ่งใชการไดที่มีอยูแลว แทนที่จะคนหาสิ่งที่ไมดีแลวนํามาแกไข 3
  • 4. ศิลปะของการตั้งคําถามที่เสริมสรางพลัง : (ทําใหเกิดการจุดประกาย ความกระจางแจง นวัตกรรมและปฏิบัตการ) ิ อิทธิพลของการตั้งคําถาม การตั้งคําถามที่ถูกตองเปนการสรางคานงัดไปสูการพัฒนาแนวใหมที่สําคัญยิ่ง ในฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลงทุกสาขา ไมวาทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม หรือทางการเมืองก็ตาม เราใชเวลาตั้งคําถามทั้งถามตัวเองและผูคนในแตละ วัน แตเราคนหาคําตอบในคําถามที่ผิดทั้งกาละ เทศะและประชุมชน เพราะเราถูกฝกปรือ มาเปนอยางดีในการแกไขปญหาแบบดั้งเดิม แนวทางแกไขปญหาแบบดั้งเดิมสอนเรา ใหมุงคนหาสาเหตุของปญหา และ วิเคราะหปญหาอยางถี่ถวน เราผลิตขอมูลออกมาหนาตอหนา วามีสิ่งใดผิดพลาดและ วิภากษวิจารณในเชิงตําหนิติเตียนการกระทําผิดพลาดไปตลอดแนว ผลลัพธที่ไดหลัง จากนั้นก็คือ การพุงเปาไปที่องคกร และชุมชนมิไดกอใหเกิดความรวมมือหรือทางเลือก ใหม ที่ดีกวาเดิมแตประการใด ในทางตรงขาม กลับกอใหเกิดการราวฉาน ปฏิกริยา ตอตาน และทํารายจิตใจของผูคนทั้งในองคกรหรือชุมชนอยางกวางขวางเปนทวีคูณ การมุงเนนไปที่สิ่งใชการได และสิ่งดี ตลอดจนสิ่งที่ดีที่สุด ที่เคยทํามาเปนแกน ธรรมของการทํางานในกระบวนการ“สุนทรียปรัศนี” (Appreciative Inquiry) เราเรียกการทํางานแบบนี้วา “การมองหาอะไรดี ๆ ในสิ่งที่มีอยู หรือสิ่งที่เคยทํา” การตั้งตนทํางานดวยการมองโลกในแงดีแบบนี้ มาจากแนวคิดตนตํารับของ เดวิด โคออบเปอริเดอร เมื่อกวา 2 ทศวรรษที่ผานมา (ในปพ.ศ. 2529) จากการวิจัย ทางธุรกิจ ของ Western Reserve University Business School มีการนํากระบวนการทํางานแบบนี้ไปใชในบรรษัทชั้นนําระดับโลกหลายแหง แมจะไมคอยแพรหลายในวงการธุรกิจสวนใหญ แตสําหรับในกลุมนักพัฒนาชุมชนและ องคกรพัฒนาเอกชนแลว มีการกลาวขานถึง และเปนที่นิยมกันในแวดวงนักวิชาการ และนักวิจัยปฏิบัติการ อยางกวางขวางทั่วโลก ทั้งในหมูนักพัฒนาชุมชน ในประเทศที่ กําลังพัฒนา ในศาสนจักรและวงการทหาร 4
  • 5. สุนทรียปรัศนี เปนรูปแบบหนึ่งของการทํางานเพื่อแกไขปญหาที่ใหความสําคัญ กับคุณคาและศักดิ์ศรีของมนุษยและใชแทนการแกไขปญหาแบบดั้งเดิมที่แกอยางไรก็ไม สําเร็จ และเปนที่ประจักษชัดวาคนตางหากที่แกปญหา ไมใชกระบวนการหรือวิธีการ วงจรแหงสุนทรียปรัศนี รวมคนพบ สิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery) รวมสรางสรรค รวมถักทอฝน สิ่งดีเพื่อสังคม อยางสมศักดิ์ศรี (Destiny) (Destiny) รวมออกแบบ ทํางานอยางสุนทรีย (Design) 5
  • 6. เมื่อพิจารณาวงจรแหงสุนทรียปรัศนีในผังภาพขางบนจะพบวา แบงไดเปน 4 ขั้นตอนหรือระยะ ที่เนนสิ่งดี (4ดี) และไปพองพานกับคําในภาษาอังกฤษโดยบังเอิญ กลาวคือ 1 Discovery– Appreciate what is 2 Dream – Imagine what might be 3 Design – Determine what should be 4 Destiny – Sustaining/on-going learning ดี1คือการรวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery) เริ่มตนดวยการตั้ง คําถามวา “อะไรใหชีวิต ชีวากับทีมงาน องคกรหรือชุมชน” ดวยการจับคูระหวาง สมาชิกกลุมผลัดกันเลาเรื่องราวจากคําถามที่วา “กรุณาบอกฉันทีวา มีชวงเวลาใดบางที่ คุณตื่นเตนและภาคภูมิใจที่สุดที่ไดมีสวนรวมในการทํางานในองคกรนี้?” ดี 2 คือการรวมถักทอความใฝฝนอยางสมศักดิ์ศรี (Dream) คําถามตั้งตน จาก“อะไรคือสิ่งที่ทานอยากจะ ....?”มันทําใหเราสามารถสรางสรรควิสัยทัศน ใน อนาคตที่รวมเขาไดกับความสําเร็จที่เคยเกิดขึ้นแลวในอดีตและความตื่นตาตื่นใจ วิสัยทัศนกลายเปนประโยคทองในเรื่องโอกาสที่กําลังจะมีมาในอนาคต หลังจากนั้น วิสัยทัศนจะเขามากําหนดชะตาชีวิต โดยผานการนําเสนอที่สรางสรรค ดั่งคําประการ เจตนารมณ การทองเที่ยวทางจินตนาการ ฯลฯ แลวทําใหมันชัดเจน ดี 3 คือการออกแบบสรรสรางอยางสุนทรียะ(Design) ตั้งคําถามวา “หาก จะทําใหความใฝฝนเปนจริง เราจะออกแบบ วิธีการ กระบวนการ โครงสรางและ สัมพันธภาพในการทํางานอะไรบาง?” ดี 4 คือการสรางสรรคสิ่งดีเพื่อชุมชน องคกรหรือสังคม (Destiny) คําถามที่ นําไปสูการทํางานรวมกันอยางสรางสรรคก็คือ “เราจะทํากันอยางสรางสรรคได ยังไง?”เพื่อจะใชขุมพลังที่เรามีอยู รวมทั้งระยะเวลา และการกําหนดลําดับความสําคัญ . ในขั้นตอนนี้ทานตองทํางานเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนที่ไดกําหนดไวแลว 6
  • 7. สุนทรียปรัศนีในการพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพยชมชน ุ การพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพยชุมชนเปนฐาน เปนตัวผลักใหสุนทรียปรัศนีเกิด ความเคลื่อนไหว ความคิดที่เปนกุญแจดอกสําคัญในเรื่องนี้ก็คือ เมื่อใดก็ตามที่ชุมชน ไดรับการมองในสวนที่มีสินทรัพยผลจะเปนไปในทางบวก ในขณะที่หากชุมชนถูกมอง วาขาดแคลนผลก็จะออกมาในทางลบ หรือเปนปญหาที่จะตองแกไขเยียวยา ปรัชญาของการทํางานในชุมชนนั้น เริ่มตั้งตนที่ “ปญญาของชุมชน”แทนที่จะตั้งตนที่“ปญหาของชุมชน” การเสริมสรางพลังชุมชนจึงเปนเรื่องที่ชุมชนนั้นจะตัดสินใจใชวิธีการไหนจัดการกับสิ่ง ที่ทาทายในชุมชนของตนเอง ระหวาง “จะแนวแนแกไขในสิ่งผิด” กับ “จะรักชาติยิ่งชีวิต ทําสิ่งถูก” (We will either Do the THING right or Do the RIGHT thing) 7
  • 8. ตั้งคําถามอยางไรใหเสริมสรางพลัง? หากเรายังไมเคยเรียนรูในเรื่อง “คําถามที่เสริมสรางพลัง”มากอนลองมาให คะแนน คําถามตอไปนี้ดูนะครับ วาคําถามใดจะทําใหเสริมสรางพลังมากกวากัน หากมี ชวงคะแนน ตั้งแต1-10 และ10 คือคะแนนที่เสริมสรางพลังมากที่สุดทานทานจะให คะแนนในคําถามตอไปนี้ กี่คะแนน ? - ตอนนี้กี่โมงแลว? - มีความเปนไปไดอะไรพอมีเหลืออยู ที่เรายังไมไดคิดถึงบาง? - ทานขาวแลวหรือยัง? - ที่วามีจริยธรรมนั้นหมายถึงยังไง? - ทานไปไหนมา? - เสื้อตัวนี้สวยดี ทานซื้อมาจากไหน? คําถามที่เสริมสรางพลัง - ทําใหเกิดความอยากรูอยากเห็นและเชื้อเชิญใหตอบแบบสรางสรรค - มุงเนนไปยังการทําใหสะทอนความคิดออกจากตัวผูถาม - ทําใหอยากตอบดวยดวงตาที่เปนประกาย - คําตอบความหมายที่ลึกไปกวาปรกติและเปนสิ่งที่ผูตอบ“มี”อยูแลว - คําตอบทําใหกลายเปนเรื่องที่แพรกระจายไปในหมูเพื่อนฝูงหรือองคกรได รวดเร็ว (ผูคนสนใจ แพรไปไดเร็ว) 8
  • 9. ลองออกแบบคําถามที่เสริมสรางพลัง คําถามที่เสริมสรางพลังมี 3 มิติ มิติแรก “ออกแบบกอสราง” ทําใหเกิดความแตกตางอยางเห็นไดชัดเจนระหวาง การเปดกวาง กับการปดทางความคิดของผูตอบ คําถามตอไปนี้เรียงกันอยูระหวางการเสริมสรางพลัง จากนอยไปหามาก คําถามแบบ ถูก / ผิด ทําไม ยังไง อะไร สิ่งใด หากวา... ใคร เมื่อไหร ที่ไหน ลองผูกเปนประโยคคําถามดูนะครับ ลูกหลานของเราที่นี่ไดออกกําลังกายตามที่อยากทําหรือไม? กรุณาอธิบายถึงตอนที่เด็ก ๆในชุมชนของเราเทาที่ผานมาไดมีความสุข และออกกําลังกายกันอยาง สนุกสนานไดไหมครับ ? มีการสนับสนุนกันในชุมชนของเราใหเด็ก ๆ มีสขภาพดี ยังไงกันบาง ุ ครับ? และหาไดจากไหน? ทําไมเด็ก ๆที่นี่จึงดูเฉื่อยชาไมสดใสและรับประทานกันอยางแยๆ ครับ? หากคิดจะทําดีใหลูก ทําถูกใหหลานของเราทานคิดวาชุมชนของเราจะ สนับสนุนใหเด็ก มีชีวิตชีวา มีความสุข และรางกายแข็งแรงอยางไรได บางครับ? หากทาน เปลี่ยนจากคําถาม ถูก/ผิด? มาเปน ทําไม? แลวไปสู อะไรจะเกิดขึ้นบาง หาก เรา….? คําถามจะทําใหมีการสะทอนความคิด และสรางสรรคมากขึ้นกวาเดิม 9
  • 10. ขอพึงระวัง ในกรณีที่มีการถามวาทําไม ? บางครั้งอาจยั่วยุใหผูตอบปกปองตัวเองจากการถูกตําหนิ มากวาที่จะคิดออกแบบอยางสรางสรรค ดังเชน ...ทําไมแนวรวมของเราจึงสดุดและไม ขยายวงออกไป ? มิติที่ 2 ขอบเขตของคําถาม การตั้งคําถามตองสื่อไดอยางเหมาะสม ลองดูผลกระทบของขอบเขตตอไปนี้ ในฐานะทีมงานเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร? ในฐานะแนวรวม เราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร? ในชุมชนของเราเองเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร? คําถามขางบนแสดงถึงการตั้งคําถามที่กาวหนาและกวางขวางพอเหมาะ แตบางคําถาม อาจกวางเกินไป แมวาจะนาสนใจ อาทิ เราจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพคนในชาติของเราไดอยางไร? มิติที่ 3 สมมติฐาน ปรกติแลวคําถามสวนใหญจะมีสมมติฐานอยูภายในตัวคําถาม เราจะสรางระบบการศึกษาที่มี2ภาษาไดอยางไรในภาคเหนือ? เราไดทําผิดอะไร และใครควรจะรับผิดชอบ? เราลองคนหาดูวาอะไรทําใหเกิดความไมรวมมือกันระหวางพหุภาคี? มีบทเรียนอะไรบางจากสิ่งที่เกิดขึ้นและความเปนไปไดในอนาคตมีอะไรบาง? 10
  • 11. ลองตีความจากคําถามขางบนวา • คําถามใดที่ทําใหเกิดการแกไขปญหา ? • คําถามใดที่นําไปสูการตําหนิ? • คําถามใดที่กอใหเกิดการปกปองตัวเอง? คําถามใดที่นําไปสูการสะทอนความคิด ความสรางสรรค? คําถามใดที่กอใหเกิดความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ? -/+ กรณาตรวจสอบตอไปอีกวาแตละคําถามนําไปสูอะไรเปนสําคัญ มีคติฐานหรือความเชื่ออะไรที่แฝงอยูในคําถามนั้น ๆ ? เราจะใชวิธีการอยางไรหากระบบความเชื่อดังกลาวแตกตางกันโดยสิ้นเชิง? การทดลองตั้งคําถามเพื่อนําไปการใชกระบวนการสุนทรียปรัศนี จงใหความสนใจในเรื่อง การออกแบบ ขอบเขต และความเชื่อในคําถามที่เราตั้ง เมื่อเรา ทํางานรวมกันเปนทีม เราใชเวลาในการตั้งคําถาม 1 เริ่มจากการสนทนา ถึงวัตถุประสงคและ กระบวนการทํางาน 2 ทํางานกับทีมงานใหเขียนคําถามหลายคําถามในประเด็นที่เกี่ยวของกัน 3 พิจารณาและใหคะแนนคําถามเหลานั้นวา คําถามใดที่ทําใหเกิดการสะทอนความคิดและความสรางสรรคไดดี ที่สุด? คําถามใดที่ผลของมันจะออกมาในเชิงบวก? มีคติฐานอะไรที่แฝงอยูในแตละคําถามนั้น? 4 ลองเอาไปถามกับคนนอกที่ไมไดเกี่ยวของกับกรณีนั้น เพื่อดูวามันใชการไดดียังไง? และ พิจารณาวามันนําไปสูการสนทนาในแบบไหน? 11
  • 12. D1 ตัวอยางการตั้งคําถามเพื่อใชในกระบวนการสุนทรียสนทนา 1 การรวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery) ตัวอยางคําถามที่รวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม ทานมีความสุข และความสําเร็จที่สุดในการงาน ตอนไหน ? อะไรทําใหงานของทานมีคา/มีความหมาย? บทบาทของทานมีคุณคาหรือนาตื่นเตนอยางไรบาง? คุณไดรับความบันดาลใจมาจากไหน/ใคร? หากคุณเปนผูจัดการในองคกรคุณจะใหเวลามากกวาในสวนไหน? คุณมีความยินดีและภาคภูมิใจในอะไรมากที่สุด? คุณรูสึกมั่นใจในอะไรมากที่สุด? บอกมา 3 อยางที่ทานชอบมากที่สุดที่นี่? ธรรมชาติของงาน ตรงไหนที่ทานเห็นวามีคาที่สุด? งานที่นี่มีเสนหดึงดูดผูคนยังไงบาง? หากคุณสามารถจะคุยกับหัวหนาองคกรนี้ได คุณจะบอกทานวา ทานมี ความสามารถอะไรที่จะทําใหงานของคุณดีขึ้น/เร็วขึ้น/สนุกกวาเดิม? 12
  • 13. D2 2 การรวมถักทอฝนอยางสมศักดศรี (Dream) ตัวอยางคําถามที่ถักทอความใฝฝนรวมกัน: ทานลองจินตนาการแลวบอกผมสิครับวา อะไรคือสิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นจากนี้ตอไป ในอนาคต อีก 5-10ปขางหนา? คุณปรารถนาอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นกับองคกรที่นี่ในอนาคตบาง? หากคุณมีเวทมนต เสกใหสิ่งดีๆเกิดขึ้นในอนาคต คุณจะเสกอะไรสําหรับองคกร นี้? คุณอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นในอีก 5 ปตอไปขางหนาที่องคกรนี้? มีวิถีทางใดบางที่เราจะอยูรวมกันกับผองเพื่อนที่นี่อยางมีความสุข? หากมีโอกาสอยางไมมีที่สิ้นสุด ทานและชุมชนทีนี่ ทานอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้น ่ ระหวางเราดวยกันบาง? **แบงกลุมยอย พัฒนาวิสัยทัศน นําเสนอมันอยางมีศิลปะและสรางสรรค โดยใช  ถอยคํา บัตรคํา การวาดรูป ใชแผนที่ความคิด และอื่น ๆ D3 3 รวมออกแบบสรรคสรางอยางสุนทรียะ (Design) ตัวอยางคําถามในการออกแบบ “วิธีการ”รวมกัน เมื่อคุณคนพบจุดแข็งและโอกาสในชวงแรกไดแลว เราจะหาทางสูฝนของเรา มัน จะมีหนาตาเปนยังไง? ลงเขียนประโยคทองที่สรางสรรค,ทาทายและนาตื่นเตน จากจุดปจจุบันที่เปนอยู,ใชความภาคภูมิใจในอดีตเปนตัวเริ่ม - ความสําเร็จที่มี ที่ปรารถนาปจจุบันสูอนาคต คําถามคือ 13
  • 14. เราจะทําใหความปรารถนาของเราบรรลุผลสําเร็จไดอยางไร? หากจะทําใหฝนเปนจริง ลองหาวิธีการใหมๆที่จะสรางใหฝนเปนจริง? ปจเจก เขียน สิ่งที่ตนสนใจ เล็ก ๆ จากนั้นระดมความคิดเปนกลุม ทําใหเปนโมเดล นําไปสูการสรางแผนปฏิบัติการ D4 4.รวมสรางสรรคสิ่งดีเพื่อสังคม (Destiny) ตัวอยางคําถามที่กําหนดชะตากรรมรวมกัน หากจะมีสิ่งดีๆเกิดขึ้นแกเรา เพื่อนรวมงานและองคกรของเรา เราจะตั้ง ตนทําอะไร รวมกันในวิธีการ/แนวทาง/กระบวนการ/กิจกรรม/เทคนิค ใหม? หากเราหวังจะประสบความสําเร็จที่ยิ่งไมเคยมีมากอน เราจะตองไมทํา แบบเดิมๆ ทีมงานทางแผนปฏิบัติการแลวใหแตละคน กําหนดวา ตัวเองจะ เหมาะสมในงานไหน ตามความสามารถ / พรสวรรค และใชขมพลัง ุ สินทรัพยที่มีอยู ? 14
  • 15. วิธีการคิดและตั้งคําถาม แบบ สุนทรียปรัศนี “มรรค 8: สัมมาทิฐิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาอาชีวะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ” 1 ใน อริยสัจ 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจา เริ่มจาก การมองโลกในแงดเี สมอ คําถามจึงเวียนวนอยูในแงบวก อาทิ ความมีชีวิตชีวา มี  ความหมาย มีคุณคา ความสุข ความสําเร็จ ความหวัง พลังของตัวเรา องคกรของเราและชุมชนของ เรา เมื่อชุมชนใช สุนทรียปรัศนี การแลกเปลี่ยนเรียนรูจึงสกัดความรูจาก • • • • • • สิ่งที่ดีที่สุดของการปฏิบัติในชวงอดีตที่ผานมา การมองไปในอนาคตขางหนาอยางงดงามสดใส กระจางชัด การชื่นชมในคุณคาของสิ่งที่ประสพรวมกัน การออกแบบทางเลือกใหมที่ตนเองเปนผูปฏิบัติในฐานะพลเมือง  การดําเนินกิจกรรมอยางขันอาสา และรูคุณคาของสิ่งที่มี ขอสําคัญที่สุดอยูที่ การจินตนาการ มองเห็นตนเองเปน ผูปฏิบัติการ ผูให ผูโรมรุกหรือ ผูเปลี่ยนแปลง แทนที่จะเปน ผูรับกรรม ผูถูกปฏิบัติ ผูรับ หรือผูรองรับ ดังนั้น ผูที่ตั้งคําถาม แบบสุนทรียปรัศนี จะตองรําลึกไวเสมอก็คือ 1.ถามถึงสิ่งที่ดีที่สุด ไมวาจะใหเลาในเรื่อง • ผลลัพธที่เคยเกิดขึ้น ในเรื่องของปริมาณ คุณภาพ อะไร อยางไร เทาใด ? 15
  • 16. • วิธีการที่ทําใหเกิด ในรูปแบบใด กลวิธีใด กุศโลบายใด หรือยุทธศาสตรใด ? • ปจจัยที่เอื้ออํานวยใหเกิด อาทิ ผูรวมกันทําคือใคร ในชวงเวลาใด ที่สิ่งที่มีคุณคาใดทีไดถูก ่ นํามาใชใหเกิดผลลัพธ เชนนั้น ? ฯลฯ 2. ใชคําถามในเชิงบวก ที่มาจากคติฐานในทางบวกเชนเดียวกัน เชน เพื่อนรวมงานของเราเปน ่ ้ อยางไรบาง ทีทําใหทานดีใจที่ไดทํางานชินนี้ ? 3. ใชประเด็นที่ทําใหเกิดความตื่นเตน ทาทาย เชน “ผูนํา”นั้นอาจเปนใครก็ไดที่ตองการชวยให  งานชิ้นนี้ประสพความสําเร็จ. 4. ใชคําถามที่แสดงออกถึงการเชื้อเชิญ การใหแสดงความรูสึกที่ดี ๆ หรือ การใหเห็นโลกในแง บวก 5. ตั้งคําถามที่นําไปสูการ เลาเรื่องราวประสบการณที่นาประทัปใจของผูตอบเอง เปนหลัก  6. ทาทีของการตั้งคําถามใหออกเปนทํานอง ชวนสนทนา ไมเปนทางการ เปนแบบพี่ ๆ นอง ๆ และที่สําคัญที่สุดคือ ทาทีของการตั้งใจฟง ใหเกียรติ สุภาพ ชื่นชม ยกยอง ประดุจกัลยาณมิตร หรือ ญาติธรรม ปราศจาก การหักหาญน้ําใจ ประชด แซว หรือลบหลู 7. ใชคําถามปลายเปด ซึ่งไมตองการคําตอบตายตัว ยิ่งเปนการไมคาดฝน หรือนาอัศจรรยใจ ยิ่งทํา ใหเกิดรดชาด และความรูสึกที่ดี คาดหวังวาจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางอยางที่นาตื่นเตน ประหลาด ใจ 8. แสดงความชิ่นชมในประสบการณที่เขาเลาอยางจริงใจ คิดบวก มองบวก เห็นบวก พูดบวก เมื่อลงมือทําก็เลยบวกตามไปดวย !!!!!!! คิดในทางบวก “พลังของการตั้งคําถามที่เปนตนตอแหงปญญาและสัมมาทิฐ” ิ √ ใครก็ตามทีตั้งคําถามจะเปนผูชี้นําแนวทางและมีพลังของผูนําการเปลี่ยนแปลง (โปรดพิจารณา ่ ความแตกตางระหวางการถามหัวหนาตํารวจ เกี่สวกับอาชยากรรมกับการรักษาความปลอดภัยของ ชุมชน) 16
  • 17. √ ภาพลักษณแหงอนาคตนั้นมีอิทธิพล เราสามารถเคลื่อนไปในทิศทางที่เราสรางจินตนาการ √ ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนลบนั้นทําใหเราสิ้นหวังและออนแอทั้งกายและใจ ในทางกลับกัน ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนบวกนันก็ทําใหเราเต็มเปยมไปดวย ้ ความหวังและเขมแข็ง มันสามารถนําเราไปในทิศทางที่เราประสพความสําเร็จได √ การสนทนาวิสาสะในทางบวกนันมีอิทธิพลตอสุขภาพจิต และจําเปนที่พวกเราตองไดรับการฝก ้ หัด ในชีวตประจําวันของเรานั้นแวดลอมดวยเหตุการณและถอยคําที่เปนลบ มันบั่นทอนทั้งพลังกาย ิ และพลังจิตเราจึงตองแทนทีมันดวยการสรางความเชื่อมันใหกับตัวเอง และผูคนในชุมชนดวย ่ ่ √ ภาพลักษณที่เปนบวกของเยาวชนมีความสําคัญตอการกอรางสรางวัฒนธรรมทางสังคมใหม ใน อันที่จะจุดประกายปลุกเราและกระตุนใหเยาวชนทําสิ่งดีงามใหกับสังคม ทุกวันนี้เราไดรับขอมูล ขาวสารทั้งในทางวิทยุ โทรทัศนและในวงสนทนาที่สอใหเห็นวาเยาวชนเปนผูกอปญหา หรือกอ อาชญากรรมที่นากลัว เราจําเปนตองมีตัวอยางของเยาวชนที่แสดงออกอยางสุนทรียะ มีความมุงมัน ่ มานะพยายาม ทําตัวเองใหมคุณคา และแสดงออกตอเพื่อนมนุษยอยางผูที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรีและ ี ประสพความสําเร็จ เหนือสิ่งอื่นใด เราตองเสริมสรางพลังเยาวชน ดวยการเปลี่ยนแปลงมุมมอง ของผูใหญที่มีตอเยาวชนเสียใหม √ ระบบชีวิตของมนุษยตองการการเลื่อนไหวไปสูทิศทางที่เปนบวก ดุจดอกทานตะวันที่หันหนา ไปทางที่มีแสงตะวันอยูเปนนิจ การตั้งคําถามที่เปนไปในทางบวกรวมทังการแสดงความรูสึก ้ ในทางชื่นชมอยางไมมีเงื่อนไข ทําใหเกิดพลังงาน เปรียบประดุจแสงตะวันทําใหพชพันธมีชีวิตชีวา ื และเติบโต √ คนหนุมสาวสามารถชวยใหสังคมที่พลังสดใสและมีภาวะแวดลอมเปนไปในทางบวก สิ่ง ทั้งหลายทั้งปวงขึ้นอยูกับชีวตและทิศทางของผูใหญที่จะมองบวกและทําใหเกิดความเปนไปไดใน ิ ทางบวก โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกตองการภาวะผูนําและความกลาหาญของผูใหญเปนสําคัญ √ การตราชื่อ การใหรางวัลและการถามหาสิ่งที่ตองการพบพานนัน กอใหเกิดผลลัพธอันเลอเลิศใน ้ การทํางานรวมกันอยางไมตองสงสัย มันสามารถเขาไปแทนที่การลําเลิก ตําหนิตเิ ตียน ประณาม  พร่ําบน ดวยความประสงคทาใหเกิดผลลัพธที่ดีขึ้นไดอยางนาอัศจรรย ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองทํา ํ ใหไดจนเปนนิสัย “…..ระบบชีวิตของมนุษยเติบโตไดอยางงดงาม จากการตั้งคําถามที่ทรงพลัง” เดวิด คูเปอรริเดอร และ ไดนา วิทนีย 17
  • 18. REFERENCES Barrett, F.J. (1998). “Creativity and Improvisation in Jazz and Organizations: Implications for Organizational Learning,” Organization Science, 9(5), 605-622. Brewer, J., & Hunter, A. (1989). Multi-method Research: A Synthesis of Styles, Newbury Park, California: Sage Publications. Cooperrider, D.L. & Srivastva, S. (1987). “Appreciative Inquiry in Organizational Life,” Research in Organizational Change and Development, I, 129-169. Cooperrider, D.L., (1990). “Positive Image, Positive Action: The Affirmative Basis of Organizing,” Appreciative Management and Leadership, San Francisco, CA: Jossey Bass. Cooperrider, D. L. & Whitney, D., (1999). Appreciative Inquiry: Collaborating for Change. San Francisco, California: Berrett-Koehler Communications, Inc. Cooperrider, D.L., Whitney, D., & Stavros, J.M. (2003). Appreciative Inquiry Handbook: The First in a Series of AI Workbooks for Leaders of Change. Cleveland, Ohio: Lakeshore Communications. Creswell, J. W. (1994). Research Design: Qualitative & Quantitative Approaches. Thousand Oaks, California: Sage Publications. Fry, R., Barrett, F., Seiling, J., & Whitney, D. (2002). Appreciative Inquiry and Organization Transformation, Reports From The Field. Westport, Connecticut: Quorum Books. Ludema, J.D., Cooperrider, D.L. & Barrett, F.J. (2001). Appreciative Inquiry: the Power of the Unconditional Positive Question. In P. Reason and H. Bradbury (Eds.), Handbook of Action Research: Participatory Inquiry and Practice. (pp.189-199). Thousand Oaks, California:Sage Publications. Strauss, A. & Corbin, J. (1990). Basics of Qualitative Research: Grounded Theory Procedures and Techniques. Newbury Park, California: Sage Publications. U.S. Department of Health and Human Services, National Center for Health Statistics. (1997, September). National Nursing Home Survey (ICPSR 6998). Ann Arbor, MI: ICPSR. Watkins, J. M. & Mohr, B. J. (2001). Appreciative Inquiry: Change at the Speed of Imagination. San Francisco, California: Jossey-Bass/Pfeiffer Vogt, E., Brown, J., and Issacs, D. (2003). The Art of Powerful Questions: Catalyzing Insight, Innovation, and Action. Yaeger, T.F. & Sorensen, Jr., P.F. (2001). What Matters Most in Appreciative Inquiry. In D. Cooperider, P. Sorensen, Jr., T. Yaeger, & D. Whitney (Eds.), Appreciative Inquiry: An Emerging Direction For Organization Development. (pp.129-142). Champaign, Illinois: Stipes Publishing L.L.C. 18