SlideShare a Scribd company logo
ทุนทางสังคมในการจัดการภัย
พิบัติบนฐานชุมชน
ศิรินันต์
สุวรรณโมลี
50401820
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทุนทางสังคมว่ามีผลต่อการ
จัดการภัยพิบัติฐานชุมชนเพียงใด
ขอบเขตการศึกษา
ชุมชนที่มีการจัดการฟื้นฟูตนเองได้
ในพื้นที่ประสบภัยพิบัติโดยไม่รอพึ่งพาการดำาเนิน
งานของรัฐ
สมมุติฐาน
ทุนทางสังคมที่มีอยู่เดิมในชุมชนเป็นปัจจัยที่ช่วย
ให้
ชุมชนจัดการตนเองได้เมื่อประสบภัยพิบัติ
ประโยชน์ที่ได้รับ
เพื่อนำาสิ่งที่ค้นพบไปปรับปรุงการออกแบบการ
จัดการภัยพิบัติฐานชุมชน (disaster based
community Management) ในการลดความสูญ
เสียที่เกิดขึ้นหลังภัยพิบัติ จากภาวะสับสนวุ่นวาย
จากการขาดการประสานความช่วยเหลือกันใน
ชุมชน ให้เหมาะสมกับบริบททางสังคมและวิถี
ชีวิตคนไทยมากขึ้น
1. แนวคิดเกี่ยวกับภัยพิบัติ
1.1 ความหมายและประเภทของภัยพิบัติ
1.2 แนวทางการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.1 แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.2 กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for Action 2005-2015)
1.2.3 การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community Base
Disaster Management)
2. แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
2.1 ความหมายของทุนทางสังคม
2.2 มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
2.3 องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
3. ทุนทางสังคมกับการจัดการภัยพิบัติ
3.1 ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทางสังคม
3.2 ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่พบในพื้นที่ประสบภัย
3.3 วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.4 กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.5 สรุปผลการศึกษา
4. สรุป
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
ความหมายและประเภท
ของภัยพิบัติ
เหตุการณ์ร้ายแรงทั้งภัยจากธรรมชาติ
และภัยจากการกระทำาของมนุษย์
ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชุมชนหรือคนหมู่มาก
จนคนในชุมชนไม่สามารถรับมือกับภัยนั้นได้ด้วยตนเอง
ทำาให้การดำาเนินงานของชุมชนหรือสังคมต้องหยุดชะงัก
ภัยพิบัติ
มูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจจากภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติ (1987-2006)
จำานวนผู้ประสบภัยจากภัย
ธรรมชาติในปี 1987-2006
จำานวนภัยพิบัติทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน
ปี 1987 - 2006
© 2007 CRED and UN
http://www.unisdr.org/disaster-statistics/occurrence-trends-centu
การจัดการนำ้า
ล้มเหลว
การกักเก็บนำ้า
โรคติดต่อ
สังคม-กายภาพ
กายภาพ
เสียพื้นที่พักผ่อน
ทางนำ้า
แหล่งสัตว์นำ้า
ประสิทธิภาพ
ารดำาเนินงานลดลง
เศรษฐกิจ
สิ่งปลูกสร้าง
สังคม เกษตรกรรม
ลักษณะผิวดิน
ระบบนิเวศน์
ภูมิอากาศ
ภัยพิบัติ
คลังสินค้า
จุดเชือมต่อ
อาคาร
สิ่งปลูกสร้าง
พาณิชย์
อุตสาหกรรม
ที่พักอาศัย
ราชการ
ไฟฟ้า
เชื้อเพลิง
สุขอนามัย
นำ้า
การสื่อสาร
การเจ็บป่วย
การตาย
ขาดแคลนอาหาร
ความไม่มั่นคง
วิถีชิวิต
ภาวะพึ่งพิง
ขยะในแหล่งเก็บนำ้า
/เขื่อนเปลี่ยนสภาพ
เสีย
ทัศนียภาพ
สูญเสีย
พื้นที่
การเกษตร
ถูกทำาลาย
ความอุดมสมบูรณ์
ของถิ่นที่อยู่เปลี่ยนไป
สูญเสีย
สิ่งปลูกสร้าง
ทางการเกษตร
สูญเสีย
เมล็ดพันธุ์
อุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลง
ฝนเปลี่ยนแปลง
การจ้างงาน
ไร้ที่อยู่อาศัย
การศึกษา
โครงสร้าง
ชุมชน
สุขภาพ
สภาพถิ่นที่อยู่
เปลี่ยนไป
การขนส่ง
อาคาร
สาธารณูปโภค
สูญเสียต้นทุน
ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง
การดำาเนินงาน
หยุดชะงัก
1. แนวคิดเกี่ยวกับภัยพิบัติ
1.1 ความหมายและประเภทของภัยพิบัติ
1.2 แนวทางการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.1 แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.2 กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for Action 2005-2015)
1.2.3 การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community Base
Disaster Management)
2. แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
2.1 ความหมายของทุนทางสังคม
2.2 มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
2.3 องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
3. ทุนทางสังคมกับการจัดการภัยพิบัติ
3.1 ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทางสังคม
3.2 ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่พบในพื้นที่ประสบภัย
3.3 วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.4 กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.5 สรุปผลการศึกษา
4. สรุป
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community BaseDisaster Management)
รูปแบบการจัดการภัยพิบัติ
โดยชุมชนเป็นฐาน
ความหมาย ลักษณะสำาคัญของ CBDM
ประโยชน์ของ CBDM
เป้าหมายของ CBDM
แนวคิดในอดีต
แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
ในอดีตและปัจจุบัน
แนวคิดในปัจจุบัน กรอบงานเฮียวโง
(Hyogo Framework for Action 2005-2015)
การลดความเสี่ยง
รู้ถึงความเสี่ยงและ
วิธีจัดการกับความเสี่ยงสร้างความเข้าใจ
และการตระหนัก
ดำาเนินงานลดความเสี่ยงเตรียมความพร้อม
ซึ่งสามารถนำาไปปฏิบัติได้ทันที
แนวทาง
การจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติ
อดีตและปัจจุบัน
ลักษณะเด่นของการจัดการภัยพิบัติใน
ปัจจุบัน
1. การป้องกันได้ผลดีที่สุด เมื่อมีความร่วมมือทุกระดับ
ในชุมชนสู่ ท้องถิ่น ภูมิภาค และระดับรัฐบาล
2. การอาศัยชุมชนมีความเหมาะสมกับสภาพความ
เปลี่ยนแปลงทั้งการเกิด การสูญเสีย และความ
รุนแรงของภัยพิบัติ
3. หลักการมีส่วนร่วมอยู่บนพื้นฐานของชุมชน
- ไม่มีใครเข้าใจข้อดีข้อเสีย ปัญหาอุปสรรคและ
โอกาสของชุมชนได้ดีเท่ากับคนในชุมชน
- ไม่มีใครสนใจและเข้าใจชุมชนมากกว่าคนใน
ชุมชนเองซึ่งเสี่ยงภัยเพื่อการอยู่รอด
- ประชาชนเป็นทรัพยากรมีค่า ต้องส่งเสริมพัฒนาให้
เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ
ปัจจุบัน จากประสบการณ์การปฏิบัติงานบนฐานของ
ชุมชนก็ได้ทำาให้ผู้ดำาเนินงานพบกุญแจสำาคัญดอก
แรกในการไขปัญหาการจัดการภัยพิบัติคือ
การมีส่วนร่วมของชุมชน เพราะคนในชุมชนเป็น
ผู้ที่รู้จักสภาพและลักษณะพื้นที่ของชุมชนของตนและ
เป็นผู้มีประสบการณ์จากอันตรายมาก่อน อีกทั้งยังจะ
เป็นบุคคลกลุ่มแรกที่อาจจะต้องเผชิญกับภัยพิบัติใน
ชุมชนในครั้งต่อไป
ข้อเสียของแนวคิดแบบเดิม
• เน้นที่การตั้งรับ ซึ่งเป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุ
• การดำาเนินการแบบ TOPDOWN ไม่เหมาะสมกับ
สถานการณ์และตอบสนองต่อชุมชนเพียงพอ
• การดำาเนินการแบบ TOPDOWN ไม่สนใจ
ทรัพยากรและบุคลากรในพื้นที่ และบางครั้งยัง
ทำาให้เกิดความเสี่ยงและความล่อแหลมเพิ่มขึ้นอีก
ในอดีตเรามักจะมองว่าผลกระทบจากภัยพิบัติ
ไม่สามารถคาดการณ์ได้ เราจึงไม่มีการประเมิน
ความเสี่ยงและความล่อแหลม คนส่วนใหญ่มักจะ
คิดว่า ผู้ประสบภัย คือ“เหยื่อ” ของภัยพิบัติซึ่งไม่
สามารถช่วยเหลือตนเองได้และเป็นเพียงผู้รอรับ
ความช่วยเหลือจากรัฐและองค์กรภายนอก การ
จัดการภัยพิบัติในอดีตจึงออกมาในแนว “รอให้
เกิดภัยพิบัติเสียก่อนแล้วจึงค่อยหาทางจัดการ”
โดยไม่มีการกำาหนดมาตรการและวิธีป้องกันหรือ
ลดผลกระทบที่จะเกิดจากภัยพิบัติ แต่ใช้การตั้ง
รับซึ่งเน้นการรับมือต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน
(Emergency Response) การบรรเทาทุกข์
(Relief) และการฟื้นฟู (Rehabilitation) หลังเกิด
ภัย (นิลุบล สู่พานิช, 2006)
ภัย
พิบัติ
DISASTER
IMPACT
การลดภัยพิบัติและการลดความเสี่ยง
VULNERABILITY AND HAZARD
ASSESSMENT
การเตรียมความ
พร้อมPREPAREDNESS
การช่วยเหลือและ
บรรเทาภัยRESCUEANDRELIEF
การฟื้นฟูและ
บูรณะREHABILITATION AND
RECONSTRUCTION
การประเมินความเสียหาย
และความต้องการDAMAGEANDNEEDS
ASSESSMENT
กิจกรรมหลังเกิดภัย
พิบัติ
HAZARDANDRISK
REDUCTION
การประเมินความล่อแหลมและการ
เกิดภัย
กิจกรรมก่อน
เกิดภัยพิบัติ
PREVENTION ANDMITIGATION
การป้องกันและลด
ผลกระทบของภัย
วงจรการจัดการภัยพิบัติเชิงรุก
โดย ปภ., 2007
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community BaseDisaster Management)
แนวคิดในอดีต
รูปแบบการจัดการภัยพิบัติ
โดยชุมชนเป็นฐาน
ความหมาย ลักษณะสำาคัญของ CBDM
ประโยชน์ของ CBDM
เป้าหมายของ CBDM
แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
ในอดีตและปัจจุบัน
แนวคิดในปัจจุบัน กรอบงานเฮียวโง
(Hyogo Framework for Action 2005-2015)
การลดความเสี่ยง
รู้ถึงความเสี่ยงและ
วิธีจัดการกับความเสี่ยงสร้างความเข้าใจ
และการตระหนัก
ดำาเนินงานลดความเสี่ยงเตรียมความพร้อม
ซึ่งสามารถนำาไปปฏิบัติได้ทันที
แนวทาง
การจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
าระของการประชุมในครั้งนี้ส่งผลให้ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยเริ่มหันมาปรับ
จัดการภัยพิบัติจากรูปแบบและวิธีการเดิม คือ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน(Emerg
ซึ่งจะเน้นที่การรับมือการบรรเทาและให้การช่วยเหลือหลังการเกิดภัย
ป็นการจัดการภัยพิบัติโดยเน้นการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk M
เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบ
ะบวนการบริหารปัจจัย ควบคุมทรัพยากร กิจกรรมและกระบวนการในการดำาเน
ในชุมชนโดยลดสาเหตุของแต่ละโอกาสที่ชุมชนจะเกิดความเสียหาย
พื่อให้ผลกระทบและระดับความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ชุมชนรับมือได้ (ปภ.,
กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for
Action 2005-2015)
(UN, 2005)
เตรียมความพร้อมซึ่งสามารถนำาไปปฏิบัติได้ทันที
สร้างเสริมการเตรียมความพร้อมให้เข้มแข็งเพื่อตอบโต้ภัยพิบัติ
ด้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกระดับ เตรียมความพร้อมซึ่งรวมถึงการประเมินควา
จะสามารถทำาให้ประชาชนมีความเข้มแข็งพร้อมที่จะป้องกันตนเองจากภัยธรร
มีการดำาเนินการเพื่อลดความเสี่ยง
ลดปัจจัยของความเสี่ยงที่แท้จริง
สร้างความเข้าใจและการตระหนักถึงภัยแก่สาธารณชน
ใช้ความรู้ นวัตกรรม และการศึกษาเพื่อสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
ะการคืนสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็วในทุกระดับภัยพิบัติสามารถลดลงหากประ
ได้รับรู้ถึงมาตรการที่พวกเขาสามารถใช้เพื่อลดความล่อแหลม
และหากพวกเขาได้รับแรงจูงใจที่จะดำาเนินการ
รู้ถึงความเสี่ยงและวิธีจัดการกับความเสี่ยง
ในการลดความล่อแหลมต่อภัยธรรมชาติแต่ละประเทศและชุมชนต้องรู้ถึงคว
เองต้องประสบ และดำาเนินการโดยอาศัยความรู้นั้นพัฒนาระบบการเตือนภัยล
ห้มีประสิทธิภาพ และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง
บการเตือนภัยล่วงหน้าที่มีประสิทธิภาพให้ข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติแก่ประชาชน
และได้นำาแผนมาใช้ปฏิบัติการได้จริง ชีวิตผู้คนนับพันก็จะปลอดภัย
รลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้ความสำาคัญเป็นอ
โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศเป็นสิ่งสำาคัญภัย
จากธรรมชาติต้องได้รับการพิจารณาเพื่อการตัดสินใจของภาครัฐและเอกชน
ในแนวทางเดียวกันกับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและทางสังคม
กำาลังต้องการอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้น ทุกประเทศต้องพัฒนาและปรับเปลี่ยนนโยบ
กฎหมาย และการจัดเตรียมองค์กร รวมทั้งแผนงาน และโครงการ
พื่อบูรณาการการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ และต้องจัดสรรทรัพยากรที่เพียงพ
เพื่อสนับสนุนและรักษาสิ่งเหล่านี้
น้มความรุนแรง ความสูญเสีย และความเสียหายอันเกิดจากภัยพิบัติที่ทวีความ
ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2548 จึงได้มีการจัดการประชุมว่าด
“การลดภัยพิบัติ” ที่เมืองโกเบ (Kobe) จังหวัดเฮียวโง (Hyogo) ประเทศญี่ปุ่น
ผู้แทนรัฐบาลจาก 168 ประเทศทั่วโลกร่วมกันจัดทำาแผนสำาหรับปฏิบัติในช่วง 1
เพื่อให้โลกปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ จากการประชุมในครั้งนี้ก็คือ
กรอบงาน Hyogo สำาหรับการปฏิบัติในปี 2548 – 2558
(Hyogo Framework forAction 2005-2015)
เป้าหมายของกรอบงานนี้คือลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในช่วงทศวรรษหน้า
ลดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ของชุมชนและของประเทศจากภัยพิบัติได้อย่างยั่งยืนภายในปี 2558
แนวคิดในอดีต
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community BaseDisaster Management)
รูปแบบการจัดการภัยพิบัติ
โดยชุมชนเป็นฐาน
ความหมาย ลักษณะสำาคัญของ CBDM
ประโยชน์ของ CBDM
เป้าหมายของ CBDM
แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
ในอดีตและปัจจุบัน
แนวคิดในปัจจุบัน กรอบงานเฮียวโง
(Hyogo Framework for Action 2005-2015)
การลดความเสี่ยง
รู้ถึงความเสี่ยงและ
วิธีจัดการกับความเสี่ยงสร้างความเข้าใจ
และการตระหนัก
ดำาเนินงานลดความเสี่ยงเตรียมความพร้อม
ซึ่งสามารถนำาไปปฏิบัติได้ทันที
แนวทาง
การจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community Base DisasterManagement)
2. การมีส่วนร่วมของชุมชน(COMMUNITY
PARTICIPATION) หมายถึงการที่ชุมชนมีส่วนรับผิดชอบ
ในทุกขั้นตอนของการจัดการภัยพิบัติของชุมชน ตั้งแต่
การวางแผน กำาหนดมาตรการ ตั้งองค์กรจัดการการ
ดำาเนินงานในขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย โดยขอความ
สนับสนุนจากหน่วยงานองค์กรภายนอกเฉพาะในสิ่งที่
จำาเป็น และเกินขีดความสามารถของชุมชน
1. การเข้าร่วมของชุมชน (COMMUNITY
INVOLVEMENT) หมายถึงการที่ชุมชนเข้าร่วม
ในการจัดการภัยพิบัติของชุมชน ซึ่งถูกออกแบบ
หรือวางแผนมาโดยหน่วยงาน องค์กรภายนอก
ชุมชนไม่ใช่จากคนในชุมชนเอง
รูปแบบการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็น
ฐาน
Q : ชุมชนจะดำาเนินการจัดการภัยพิบัติได้
ในรูปแบบใดบ้าง
A : ชุมชนสามารถดำาเนินการจัดการกับภัย
พิบัติได้ในหลายแบบของการมีส่วนร่วม
ดังนี้
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community Base DisasterManagement)CBDMคือ การจัดการภัยพิบัติที่มุ่งเน้นการมี
ส่วนร่วมของชุมชนทั้งในด้านร่วมคิด ร่วม
ทำา และร่วมตัดสินใจซึ่งเป็นวิธีการดำาเนิน
งานแบบล่างขึ้นบน
ร่วมคิด = การวางแผน (Bottom – Up
Approach)
ร่วมทำา = ใช้คน และ ทรัพยากร ของ
ชุมชน
ร่วมตัดสินใจ = เลือกทำาในสิ่งที่เป็น
ประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริง
การมีส่วนร่วมของชุมชนการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community
Participation)
หมายถึง การที่ชุมชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในทุก
ขั้นตอนของการทำางานตั้งแต่การวางแผนไปจน
กระทั่งการดำาเนินการในระดับต่างๆร่วมกัน
ชุมชนชุมชน หมายถึง
• กลุ่มบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ตั้งแต่หมู่บ้านขนาด
เล็กไปจนถึงเมืองขนาดใหญ่
• กลุ่มคนที่มีประสบการณ์ หรือความสนใจร่วม
กัน หรือกลุ่มคนที่ประสบภัยพิบัติที่เหมือนๆกัน
• กลุ่มคนอาชีพเดียวกัน
ความหมายของคำาต่างๆความหมายของคำาต่างๆ
ในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็น
ฐานฐาน
การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน
(Community Base DisasterManagement)ประโยชน์ของ CBDM
เตือนภัยได้รวดเร็ว
- คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในชุมชนของ
ตนเองจึงสามารถบอกได้ว่า
จะมีเหตุการณ์ไม่ดีอะไรเกิดขึ้นในชุมชน อีกทั้งมี
ประสบการณ์มากมายในการที่จะจัดการ
ทั้งในด้านการเตรียมพร้อมรับภัย และ การปฏิบัติในขณะ
เกิดเหตุฉุกเฉิน
ช่วยให้ชุมชนเข้มแข็ง
- ไม่ต้องรอความช่วยเหลือจากภายนอกชุมชน
- ประชาชนได้รับความรู้ และทักษะใหม่ๆ นำาไปสู่การสร้าง
เสริม
ความสามารถในการคิดริเริ่มพัฒนาชุมชนของตนเอง
- ช่วยลด หรือขจัดความล่อแหลมเสี่ยงภัยของชุมชน ซึ่งจะ
เป็นการ
ลดผลกระทบของภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ลักษณะสำาคัญของลักษณะสำาคัญของ CBDMCBDM
ชุมชนเป็นศูนย์กลางของการจัดการภัยพิบัติ
มุ่งใช้กลยุทธ์การสร้างเสริมกำาลังความสามารถการใช้
ทรัพยากรและการแก้ไขปัญหาภายในชุมชน
ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีผลต่อการดำารงชีพ
ของตนเองและได้รับประโยชน์จากการมีสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อ
สุขภาพ
ชุมชนเป็นตัวจักรสำาคัญในการเสี่ยงจากภัยพิบัติ และ
เป็นกลุ่มแรกที่ได้รับประโยชน์
เป็นการดำาเนินการโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย และ
เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ทั้งในระดับชุมชน ถึงระดับ
ชาติ
เป้าหมายของเป้าหมายของ CBDMCBDM
- ลดความล่อแหลมเสี่ยงภัยของชุมชน
- เพิ่มขีดความสามารถของตนเองในชุมชน
- ความสามารถในการจัดการกับภัยต่างๆในชุมชน
- ความสามารถในการประเมินความเสี่ยงภัย และการ
วิเคราะห์ความล่อแหลม
- ความสามารถในการประเมินความสามารถของ
ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ปลอดภัย และการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. แนวคิดเกี่ยวกับภัยพิบัติ
1.1 ความหมายและประเภทของภัยพิบัติ
1.2 แนวทางการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.1 แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.2 กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for Action 2005-2015)
1.2.3 การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community Base
Disaster Management)
2. แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
2.1 ความหมายของทุนทางสังคม
2.2 มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
2.3 องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
3. ทุนทางสังคมกับการจัดการภัยพิบัติ
3.1 ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทางสังคม
3.2 ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่พบในพื้นที่ประสบภัย
3.3 วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.4 กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.5 สรุปผลการศึกษา
4. สรุป
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
วคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
องค์ประกอบของทุนทางสังคม
ที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
ความสัมพันธ์
(Bonding)
การปฏิบัติต่อกันในสังคม
(Sanctions)บรรทัดฐานทางสังคม
(social norms)
มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
มิติความไว้วางใจ
มิติความร่วมมือ
มิติความสมานฉันท์มิติอำานาจหน้าที่
ทุนทางสังคมยึดเหนี่ยว
(Bonding Social Capital)
ทุนทางสังคมยึดโยง
(Linking Social Capital)
ทุนทางสังคมเชื่อมโยง
(Bridging Social Capital)
เป็นกาว
เป็นเกียร์
ความหมายของทุนทางสังคม
มิติกลุ่มและเครือข่าย
ความหมายของทุนทางสังคมทุนทางสังคม คือผลรวมของสิ่งดีงามต่างๆ ที่มีอยู่ใน
สังคม ทั้งในส่วนที่ได้จากการสั่งสมและการต่อยอด
รวมถึงการรวมตัวของคนที่มีคุณภาพเพื่อสร้าง
ประโยชน์ต่อส่วนรวม บนพื้นฐานของความไว้เนื้อ
เชื่อใจ สายใยแห่งความผูกพันและวัฒนธรรมที่ดีงาม
การจัดการชุมชนในภาวะภัยพิบัตินั้นทุนทาง
สังคมมีบทบาท 2 ทางคือ
เป็นเกียร์ (gear) ที่ขับเคลื่อนการดำาเนินงาน
ของชุมชนทั้งช่วงเตรียมลดผลกระทบก่อนเกิด
ภัยพิบัติและช่วงฟื้นฟูชุมชนหลังภัยพิบัติ
เป็นกาว (glue) ที่เชื่อมความสัมพันธ์ในแง่
ของความเป็นเครือข่าย ความร่วมมือร่วมใจกัน
และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ซึ่งช่วยลดมูลค่า
ในการจัดการและทำาให้การจัดการต่างๆง่าย
ขึ้น
วคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
องค์ประกอบของทุนทางสังคม
ที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
เป็นกาว
ความสัมพันธ์
(Bonding)
การปฏิบัติต่อกันในสังคม
(Sanctions)บรรทัดฐานทางสังคม
(social norms)
เป็นเกียร์
ทุนทางสังคมยึดเหนี่ยว
(Bonding Social Capital)
ทุนทางสังคมยึดโยง
(Linking Social Capital)
ทุนทางสังคมเชื่อมโยง
(Bridging Social Capital)
ความหมายของทุนทางสังคม
มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
มิติความไว้วางใจ
มิติความร่วมมือ
มิติความสมานฉันท์มิติอำานาจหน้าที่
มิติกลุ่มและเครือข่าย
มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
5. มิติอำานาจหน้าที่และกิจกรรมทางการ
เมือง ความเป็นอิสระในการตัดสิน
กำาหนดการดำาเนินชีวิตของตนเอง การ
ตระหนักในความสำาคัญที่ตนเองมีต่อชุมชน
และสังคมความสามารถในการต่อสู้กับความ
ไม่เป็นธรรมที่ได้รับ
4. มิติความสมานฉันท์ทางสังคม การอยู่ร่วม
กันในสังคม และความขัดแย้งและความรุนแรง
ความสมานฉันท์ทางสังคมเป็นสิ่งที่ทำาให้ทราบ
ถึงระดับการยอมรับในความหลากหลายด้าน
เชื้อชาติและศาสนา
3. มิติกิจกรรมและความร่วมมือ การเข้า
ร่วมกิจกรรมของส่วนรวมในชุมชนของปัจเจก
ชน เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงบรรทัดฐานของ
ชุมชนนั้นว่ามีความเข้มแข็งหรืออ่อนแอ
ชุมชนที่มีบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมมากย่อม
แสดงให้เห็นว่ากฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐาน
ของชุมชนได้รับการยึดถือและปฏิบัติ
อย่างเข้มแข็ง
2. มิติความไว้วางใจและความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกัน เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำาคัญให้
กับกิจกรรมในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นสังคม
การเมือง และเศรษฐกิจของชีวิตครอบครัว
กลุ่ม และสังคม จะมีความสงบสันติ ยั่งยืน และ
เกิดความเจริญเติบโตได้เมื่อสมาชิกมีความไว้
วางใจและกัน และมีความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน
1. มิติกลุ่มและเครือข่าย กลุ่มเป็นแหล่งให้
สมาชิกมีการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และเมื่อ
กลุ่มมีการเชื่อมโยงกับกลุ่มอื่นๆ ก็ก่อให้เกิดการ
ขยายโอกาสในการแสวงหาแลกเปลี่ยนและช่วย
เหลือทั้งในด้านข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากรอื่นๆ
ที่ส่งเสริมให้กลุ่มขยายตัวและเกิดความเข้มแข็ง
ขึ้นมา
วคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
เป็นกาว
เป็นเกียร์
มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
มิติความไว้วางใจ
มิติความร่วมมือ
มิติความสมานฉันท์มิติอำานาจหน้าที่
องค์ประกอบของทุนทางสังคม
ที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
ความสัมพันธ์
(Bonding)
การปฏิบัติต่อกันในสังคม
(Sanctions)บรรทัดฐานทางสังคม
(social norms)
ทุนทางสังคมยึดเหนี่ยว
(Bonding Social Capital)
ทุนทางสังคมยึดโยง
(Linking Social Capital)
ทุนทางสังคมเชื่อมโยง
(Bridging Social Capital)
ความหมายของทุนทางสังคม
มิติกลุ่มและเครือข่าย
ขั้นที่ 3 ทุนทางสังคมยึดโยง (Linking
Social Capital)
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและ
องค์กรรัฐ
องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยว
กับการจัดการภัยพิบัติประการที่หนึ่ง ความสัมพันธ์
(Bonding)
แรงยึดเหนี่ยว และความ
เชื่อมโยงของบุคคลในสังคมหรือ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ใครรู้จักใคร,
ใครเกี่ยวข้องกับใคร, ใครมีความ
สัมพันธ์กับใคร เป็นต้น เรียกรวมกัน
ว่า สายสัมพันธ์ทางสังคม (social
networks) คุณสมบัติเหล่านี้ก่อให้เกิด
ทุนทางสังคมใน 3 ลักษณะซึ่ง Golam
Mathbor (2007) ได้กล่าวไว้
สอดคล้องกับแนวคิดของนพดล
เหลืองภิรมย์ (2549) เกี่ยวกับ
กระบวนการทำางานของทุนทางสังคม
ในการเกิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ใน
สังคม 3 ลำาดับขั้นดังนี้
ขั้นที่ 2 ทุนทางสังคมเชื่อมโยง
(Bridging Social Capital) สร้าง
สะพานความสัมพันธ์ระหว่าง
ชุมชน
ขั้นที่ 1 ทุนทางสังคมยึดเหนี่ยว (Bonding Social Capita
ทำาหน้าที่ผนึกความสัมพันธ์ภายในชุมชนเข้าด้วยกัน
ประการที่สอง บรรทัดฐานทางสังคม (social
norm)
เป็นกฎเกณฑ์กติกาที่ยอมรับเพื่อกำาหนดให้บุคคลใน
สังคมต้องปฏิบัติตาม
การปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐานทางสังคมจะ
ได้รับการปฏิเสธ และต่อต้านจนถึงมีมาตรการนี้
ตอบโต้ หรือลงโทษในทางสังคม
ประการที่สาม การปฏิบัติต่อกันในสังคม
(Sanctions)
การปฏิบัติต่อกันในสังคมนี้เป็นกลไกในการควบคุม
สมาชิกในสังคมให้อยู่ในกรอบ ของบรรทัดฐานทาง
สังคม โดยมี ความสัมพันธ์, แรงยึดเหนี่ยว และความ
เชื่อมโยง เป็นกรอบในการปฏิบัติต่อกัน ภายใต้
บรรทัดฐานทางสังคม ที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1. แนวคิดเกี่ยวกับภัยพิบัติ
1.1 ความหมายและประเภทของภัยพิบัติ
1.2 แนวทางการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.1 แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.2 กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for Action 2005-2015)
1.2.3 การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community Base
Disaster Management)
2. แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
2.1 ความหมายของทุนทางสังคม
2.2 มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
2.3 องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
3. ทุนทางสังคมกับการจัดการภัยพิบัติ
3.1 ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทางสังคม
3.2 ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่พบในพื้นที่ประสบภัย
3.3 วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.4 กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.5 สรุปผลการศึกษา
4. สรุป
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทาง
สังคมในเหตุการณ์สึนามิที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยนั้นมีปรากฏการณ์ที่คนในชุมชน
ช่วยกันจัดการกับปัญหาภาวะวิกฤตกันเองตั้งแต่เริ่มประสบภัยโดยไม่รอการแต่
พึ่งพาความช่วยเหลือจากรัฐ ที่เรียกว่า การจัดระบบตนเอง (self
organizing) สิ่งนี้เกิดขึ้นจาก
เวลาจำากัด
ทำาให้ไม่มีเวลาคิดเล็ก
คิดน้อย
ช่วยเหลือ
ด้วยมนุษยธรรม
ความไว้วางใจ การร่วมแรงร่วมใจกัน
สะพานของความไว้วางใจเป็นตัวเชื่อม
(bridging social capital)
ทุกส่วนสามารถร่วม
กันทำางาน
ในภาวะวิกฤตได้ใน
ฉับพลัน
ลดช่องว่าง
ระหว่างบุคคลหรือองค์กร
เชื่อมเอาความช่วยเหลือจากภายนอกที่เป็นผู้ที่มีความรู้สึก
ร่วมหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง
ที่อยู่ต่างสายงาน ต่างองค์กรและต่างฐานะ ให้ร่วมมือร่วมใจ
กันได้
ทุนทางสังคม
จิตอาสา
ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่
พบในพื้นที่ประสบภัย
ปัญหาที่พบบ่อยจากการปฏิบัติงานที่ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิใน
ระยะแรก
• การจัดการต่างๆ มักไม่เป็นไปตามที่คาดไว้
• ขาดความเตรียมพร้อม
• ขาดความไหลลื่นในการสื่อสาร
พื้นที่ประสบภัยสึนามิ
ทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาหลัก จ.พังงา
5) มีการแบ่งเขตเป็นเขตพิเศษในแผนการฟื้นฟู4) มีความรุนแรงระดับใกล้เคียงกัน
3) เป็นตัวแทนการดำาเนินงานของ
ประเทศที่กำาลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแล้ว
2) ต้องวางแผนผังเมืองใหม่เหมือนกัน1) ทั้งสองกรณีประสบภัยแผ่นดินไหวเหมือนกัน
วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
Yuko and Rajib (2004)
งานวิจัยนี้ใช้การพิจารณาอัตราความพึงพอใจสูงสุดใน
การวางแผนผังเมืองใหม่ และอัตราเร็วใจการฟื้นฟูชุมชน
ที่ได้รับเป็นตัวชี้วัด โดยเลือก 2 พื้นที่คือเมืองโกเบ
(Kobe) จ.เฮียวโง (Hyogo) ประเทศญี่ปุ่นและเมือ
งบุจ (Bhuj) แค้วนกุจราช (Gujarat) ประเทศ
อินเดีย โดยพิจารณาเลือกชุมชนด้วยเหตุผลคือ
2) ศึกษาข้อมูลจากบันทึกการดำาเนินงานของรัฐ กรณีศึกษาที่มี
คนทำาไว้ก่อนหน้า หนังสือ บทความ รายงาน อินเตอร์เนท
และเอกสารทั่วไปที่เกี่ยวข้อง
เน้นที่บทบาทของทุนทางสังคมในแผนการฟื้นฟูชุมชน
1) เก็บข้อมูลด้วยการใช้แบบสอบถามโดยผสานคำาถามที่เป็นตัวชี้วัด
ทุนทางสังคมร่วมกับการลงสัมภาษณ์ผู้ประสบภัยและผู้ที่
มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำาเนินงานฟื้นฟูภัยพิบัติ
วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
Golam Mathbor (2007)
ใช้การถอดประสบการณ์จากการทำางาน
ในพื้นที่ประสบภัยของผู้วิจัยมาถ่ายทอดสิ่งที่พบ
บทบาทของประชาชน
การใช้อำานาจทางการเมือง
เศรษฐกิจ-สังคม
และการมีส่วนร่วมของชุมชนใน
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ในการดำาเนินงานของโปรแกรมเตรียมพร้อมรับมือ
พายุไซโคลน (CyclonePreparednessProgram)
ของประเทศบังคลาเทศ
กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมใน
การจัดการภัยพิบัติ
2. กรณีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติในภาวะ
วิกฤติที่ประสบภัยพิบัติ
สามัคคีธรรมชุมชนวัดป่าส้าน ในเหตุการณ์สึนามิ จ.พังงา (ศิรินันต์
สุวรรณโมลี, 2548)
1. กรณีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติระยะเตรียม
การลดผลกระทบก่อนภัยพิบัติ
โปรแกรมเตรียมพร้อมรับมือพายุไซโคลน ประเทศบังคลาเทศ (Golam
M. Mathbor, 2007)
3. กรณีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติระยะฟื้นฟู
ชุมชนจากภัยพิบัติ
การฟื้นฟูชุมชนจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมืองโกเบ จ.เฮียวโง
ประเทศญี่ปุ่น (Yuko and Rajib ,2004)
การฟื้นฟูชุมชนจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวแคว้นกุจราช
ประเทศอินเดีย (Yuko and Rajib ,2004)
เลือกชุมชนตัวอย่างจากบทความและรายงานการวิจัยเกี่ยวกับ
การใช้ทุนทางสังคมเข้ามาร่วมจัดการภัยพิบัติภายใต้วงจรการ
จัดการภัยพิบัติเชิงรุกใน 3 ระยะคือ ระยะเตรียมการลดผลกระ
ทบก่อนภัยพิบัติ ภาวะวิกฤติที่ประสบภัยพิบัติและระยะฟื้นฟู
ชุมชนจากภัยพิบัติ
บแต่เกิดเหตุจนปัจจุบันวัดป่าส้านเป็นจุดประสานความช่วยเหลือจากหน่วยงาน
ผู้ประสบภัยทั้งชาวมอแกนและชาวไทยพุทธจนขณะนี้วัดป่าส้านไปสู่การเป็นท
ศูนย์ประสานงานและสร้างความพร้อมกรณีภัยพิบัติชุมชนแล้ว
พระครูให้คำาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ตามหลักศาสนาไว้ว่า
รรมนั้นเหมือนกับเกลือ กรรมนั้นเหมือนเกลือ ถ้าอยากให้เกลือเค็มน้อ
ก็ให้เติมนำ้าลงไป นำ้านั้นก็คือความดี ยิ่งนำ้ามากความเค็มก็จะน้อยลง
หมายความว่าถ้าคนเราทำาความดีแล้วทุกข์ที่ได้รับก็จะบรรเทา
กรณีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติในภาวะ
วิกฤติที่ประสบภัยพิบัติ
สามัคคีธรรมชุมชนวัดป่าส้าน ในเหตุการณ์สึนามิ จ.พังงา (ศิรินันต์
สุวรรณโมลี, 2548)
ตอนที่เกิดคลื่นยักษ์ทางวัดของท่านได้ช่วยเหลือผู้คนทั้งนักท่องเที่ยวและชาวบ้านไว้เป็นจำาน
โดยเฉพาะฝรั่งที่บาดเจ็บและเสียชีวิต ท่านได้ติดต่อประสานงานกับสถานทูตของประเทศนั้น
ให้ช่วยติดต่อญาติมารับกลับประเทศไป สร้างความซาบซึ้งใจให้แก่ชาวต่างชาติเหล่านั้น
จนทางกงศุลของหลายๆประเทศส่งอาสาสมัครกลับมาช่วยเหลือในการพัฒนาและบริจาค
แก่ชาวไทยที่เคยช่วยเหลือ
ัดสามัคคีธรรมหรือวัดป่าส้าน อ.คุระบุรี จ.พังงา เป็นจุดที่ผู้ประสบภัยสึนามิกว่าร้อยคนอพยพม
วามช่วยเหลือ
ทางวัดได้ช่วยเหลือทุกคนไม่ว่าจะเป็นชาวไทยพุทธ หรือชาวมอแกน ไม่ว่าจะเป็นการให้ที่พัก
หาร การรักษา เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ทางวัดแบ่งปันให้ประชาชนหมดทุกอย่าง
ร่วมแรงกัน ซ่อมแซมบ้านเรือนที่เสียหาย สร้างชุมชนผู้ประสบภัยเป็นบ้านใต้ถุนสูง
สอนคนให้รู้จักคุณค่าของเงินผ่านการทำางาน ไม่เอาแต่รอของบริจาค หรือรอแต่ความช่วยเหล
พระครูสุวัตถิธรรมรัต
เจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน)
างสังคมในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและองค์กรรัฐ
king social capital)
ร่วมงานกันอย่างเป็นทางการ มีปฏิสัมพันธ์กับหน่วยงานรัฐในกิจกรรมพัฒนาช
กรณีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติในภาวะ
วิกฤติที่ประสบภัยพิบัติ
งสังคมในการสร้างสะพานความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน (Bridging soc
รเป็นเครือข่าย มีความร่วมมือกันระหว่างเครือข่ายชุมชนและเครือข่ายอิสระ
ยเป็นตัวเชื่อมกิจกรรมต่างๆโดยโครงการเป็นหน่วยงานประสานความช่วยเหลือ
ในท้องถิ่น ชุมชน และหน่วยงานบรรเทาภัยพิบัติ
ทุนทางสังคมในการผสานความสัมพันธ์ภายในชุมชนเข้าด้วยกัน (bondin
ความเชื่อใจกัน สมาชิกในชุมชนให้ความเชื่อใจผู้นำาชุมชนในการตัดสินใจ
มีบรรทัดฐานของสังคม มีการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน โดยมีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ย
จนเกิดเป็นบรรทัดฐานให้ดำารงชีวิตของคนในชุมชนเป็นไปในทางที่ดีงามโดยไม่เอา
ความแตกต่างด้านเชื้อชาติเป็นพรมแดนกีดกั้นการช่วยเหลือกัน
การมีผู้นำาที่เข้มแข็ง มีผู้นำาในการวางแผนและตัดสินใจที่แน่วแน่
พระครูสุวัตถิธรรมรัต
เจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม (ป่าส้าน)
ยนจากการใช้ทุนทางสังคมของวัดป่าส้านที่ทำาให้เกิดการพัฒนาชุมชน 3
กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทาง
สังคมในการจัดการภัยพิบัติผลร่วมของทุกกรณีศึกษา
ความเชื่อใจกัน สมาชิกในชุมชนให้ความเชื่อใจผู้นำาชุมชน
ในการตัดสินใจความร่วมแรงร่วมใจ มีการรวมตัวกัน ทำากิจกรรม
รือตัดสินใจร่วมกันมีบรรทัดฐานของสังคม มีการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน โดยมีศาสนาเป
ยวจิตใจจนเกิดเป็นบรรทัดฐานให้ดำารงชีวิตของคนในชุมชนเป็นไปในทางที่ดีงามโดยไม่เอาค
ชาติเป็นพรมแดนกีดกั้นการช่วยเหลือกันการมีผู้นำาที่เข้มแข็ง มีผู้นำาในการวางแผนและตัด
ทุนทางสังคมในการผสานความสัมพันธ์ภายในชุมชนเข้าด้วยกัน (bonding social capital)
การเป็นเครือข่าย มีความร่วมมือกันระหว่างเครือข่ายชุมชน
และเครือข่ายอิสระโดยเป็นตัวเชื่อมกิจกรรมต่างๆโดยโครงการเป็นหน่วยงาน
ประสานความช่วยเหลือระหว่างคนในท้องถิ่น ชุมชน และหน่วยงานบรรเทาภัยพิบัติ
ทุนทางสังคมในการสร้างสะพานความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน
(Bridging social capital)
มีปฏิสัมพันธ์กับภายนอกจะช่วยดึงความช่วยเหลือเข้ามาในชุมชนได้
ทุนทางสังคมในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและองค์กรรัฐ
(Linking social capital)
กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทาง
สังคมในการจัดการภัยพิบัติ
จึงอาจกล่าวได้ว่าการใช้แต่เงินหรือ
ทรัพยากรทางกายภาพเพียงอย่าง
เดียวไม่สามารถแก้ปัญหาในการฟื้นฟู
ได้ แต่ต้องมีทุนทางสังคมตัวขับเคลื่อน
ในบทบาทที่สำาคัญอีกด้วย
ทุนทางสังคมช่วยลดช่องว่างจากความเหลื่อมลำ้า
ต่างๆ ระหว่างคนกับคน คนกับสถาบัน ไม่ให้
ความแตกต่างกลายเป็นความแปลกแยกหรือห่าง
เหิน ทำาให้ทุกส่วนสามารถทำางานร่วมกันจน
บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้
1. แนวคิดเกี่ยวกับภัยพิบัติ
1.1 ความหมายและประเภทของภัยพิบัติ
1.2 แนวทางการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.1 แนวคิดและที่มาของการจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน
1.2.2 กรอบงานเฮียวโง (Hyogo Framework for Action 2005-2015)
1.2.3 การจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community Base
Disaster Management)
2. แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม
2.1 ความหมายของทุนทางสังคม
2.2 มิติทุนทางสังคมของประเทศไทย
2.3 องค์ประกอบของทุนทางสังคมที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ
3. ทุนทางสังคมกับการจัดการภัยพิบัติ
3.1 ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับทุนทางสังคม
3.2 ปัญหาและข้อจำากัดของการทำางานที่พบในพื้นที่ประสบภัย
3.3 วิธีศึกษาทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.4 กรณีศึกษาทุนและผลการศึกษาทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ
3.5 สรุปผลการศึกษา
4. สรุป
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
สรุป
ทุนทางสังคมเป็นสิ่งที่มีลักษณะเป็นสากล มีฟังก์ชั่นการทำางานที่
ไม่ถูกกั้นขวางด้วยความแตกต่างของพรหมแดนทางกายภาพ
ศาสนา หรือชาติพันธ์ความร่วมมือร่วมใจกันของคนในชุมชนช่วยให้การวางแผนและ
การฟื้นฟูชุมชนเป็นไปได้รวดเร็วและราบขึ้น ความไว้เนื้อเชื่อ
ใจในตัวผู้นำา ความหวงแหนชุมชน ความเอื้ออารี 3 สิ่งนี้
ก่อให้เกิด การร่วมมือกันตอบแทนกันและกัน และเกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน
ทุนทางสังคมเป็นพลังที่ขับเคลื่อนการดำาเนินงานของชุมชน
โดยเฉพาะในการจัดการภัยพิบัติฐานชุมชนนั้น จะอาศัยทุนทาง
สังคมด้านทุนความรู้หรือภูมิปัญญาจากชุมชนเป็นฐานในการ
จัดการ
หากผนวกการศึกษาและประเมินทุนทางสังคมของชุมชนเพิ่ม
เข้าไปในการจัดการชุมชน (ทั้งชุมชนทั่วไปและชุมชนที่ประสบภัย
พิบัติ) ก็จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานพบปัจจัยด้านความพร้อมในการให้
ความร่วมมือ ประสานการดำาเนินงานกับกลุ่มและเครือข่ายเพื่อ
พัฒนาชุมชนซึ่งนำาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการดำาเนินงาน
และช่วยให้การดำาเนินงานสะดวกขึ้น

More Related Content

More from freelance

Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
freelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
freelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
freelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
freelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
freelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
freelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
freelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
freelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
freelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
freelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
freelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
freelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
freelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
freelance
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
freelance
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
freelance
 

More from freelance (20)

Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
 

ทุนทางสังคมในการจัดการภัยพิบัติ