SlideShare a Scribd company logo
“กรมอนามัย สงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี”
วิสัยทัศน
เปนองคกรหลักของประเทศในการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม เพื่อสงเสริมให
ประชาชนมีสุขภาพดี
เปาหมาย
ประชาชนมีพฤติกรรมเหมาะสมตามกลุมวัยและอยูในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาพดี
พันธกิจ
1. พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนใหเกิดนโยบาย และกฎหมายที่จําเปนในดานการสงเสริม
สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมของประเทศ
2. ผลิต พัฒนาองคความรู และนวัตกรรม เพื่อการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมที่มี
คุณภาพและสอดคลองกับวิถีชีวิตของคนไทย
3. ถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมใหกับเครือขาย
รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนใหเครือขายดําเนินงานเปนไปตามมาตรฐานและกฎหมาย
เพื่อใหประชาชนไดรับการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมที่ดีและมีคุณภาพ
4. พัฒนาระบบการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมใหเขมแข็ง รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวของ
โดยการกํากับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อนํามาสูการพัฒนานโยบาย กฎหมาย และระบบ
อยางตอเนื่องและมีคุณภาพ
กลยุทธการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม
กรมอนามัยไดนําแนวคิดและหลักการของกฎบัตรออตตาวาและกฎบัตรกรุงเทพมาประยุกตใชใน
การพัฒนางานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม เปนการสงเสริมสุขภาพแนวใหมในยุคโลกาภิวัตนที่
สังคมมีความสลับซับซอนและมีปฏิสัมพันธกันมากขึ้น กลยุทธการทํางานสงเสริมสุขภาพแนวใหมจึงเปน
กลยุทธที่เนนการมองปญหาแบบองครวม ไมเฉพาะแตดานพยาธิวิทยา ชีววิทยา แตมองปจจัยอื่นๆที่
เกี่ยวของในลักษณะ PEST Analysis นอกจากนี้ยังเนนการมีสวนรวมของประชาชน กระจายอํานาจสู
ชุมชน ลดการพึ่งพิง ขณะเดียวกันบทบาทของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับ
แนวทางใหม จากเดิมที่เปนผูกําหนดวาประชาชนสมควรไดรับบริการอะไร และสมควรไดรับอยางไร
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 1
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 2
1. พัฒนาความเขมแข็งและสรางการมีสวนรวมกับภาคีเครือขายภาครัฐ เอกชน และประชา
สังคมเพื่อสรางกิจกรรมสงเสริมสุขภาพที่ยั่งยืน (Partner and build alliance) โดยมี
แนวทางสรางเสริมบทบาทและศักยภาพภาคีเครือขายในการแกไขปญหาเชิงบูรณาการ
อยางมีสวนรวมอยางจริงจัง มุงพัฒนาฐานขอมูลเครือขายในประเทศและตางประเทศ
ใหสามารถใชประโยชนกันระหวางภาคีไดอยางมีประสิทธิภาพ
2. ลงทุนเพื่อการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบงานใหไดมาตรฐานเพื่อจัดการกับปจจัย
กําหนดดานสุขภาพ (Invest) โดยมีแนวทางในการแสวงหาแหลงทุนและบริหารจัดการ
ทุนอยางมีคุณภาพ พัฒนาองคกรเปนศูนยกลางทางวิชาการดานการสงเสริมสุขภาพและ
อนามัยสิ่งแวดลอม และพัฒนาระบบ กลไกการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการใหมี
ศักยภาพสูง
3. พัฒนากระบวนการกําหนดและบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมายดานสุขภาพจาก
ฐานความรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาและวิถีชีวิตคนไทยเพื่อใหประชาชนไดรับการ
คุมครองและสงเสริมโอกาสที่เทาเทียมกันทางสุขภาพ (Regulate and Legislate) โดยมี
แนวทางสรางนโยบายสาธารณะและพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ
สังคม และวิถีชีวิตของประชาชน โดยรับฟงความคิดเห็นของผูเกี่ยวของ สงเสริมการ
บังคับใชกฎหมาย อยางถูกตองและเปนธรรม จัดทํามาตรฐานการปฏิบัติ (SOP) ในการ
สรางนโยบายสาธารณะและการพัฒนากฎหมาย
4. ชี้แนะและสรางความตระหนักรูเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Advocate) โดยมี
แนวทางในการสงเสริมบทบาทของสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะในการสรางคานิยม “สราง
นําซอม”
5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหเปนมืออาชีพและทันตอการเปลี่ยนแปลง (Build capacity)
เพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานขององคกรใหเทียบเทาเกณฑ
สากล โดยเนนการสนับสนุนการสรางทุนเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย ในทุกระดับ
และสายอาชีพ
บทบาทกรมอนามัย บทบาทสําคัญแหงการเปนกรมวิชาการ
บทบาทสําคัญของกรมวิชาการ คือ การพัฒนา “พลังความรู” พลังความรู คือ องคความรู รูปแบบ
วิธีการ เทคโนโลยี ที่จะนําไปเสนอตอหนวยงานปฏิบัติ(หรือภาคีเครือขาย) เพื่อนําไปใชบริการแกประชาชน
ในพื้นที่ตามภารกิจหนาที่ของหนวยงานปฏิบัตินั้นๆ ดังนั้น กรมอนามัยอยูในฐานะองคการหลักที่เปนที่พึ่ง
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 3
1. การเฝาระวัง (Surveillance) เปนการติดตามสถานการณสงเสริมสุขภาพและอนามัย
สิ่งแวดลอม รวมถึงองคประกอบที่มีผลตอภาวะสุขภาพ และการปฏิบัติงานใน
สถานการณดังกลาว เพื่อตรวจพบความผิดปกติหรือปญหาอุปสรรค และสามารถปองกัน
หรือควบคุมไดตั้งแตในระยะเริ่มแรก นอกจากนี้ขอมูลที่ไดจากการเฝาระวังจะเปน
ประโยชนในการจัดลําดับความสําคัญของปญหา การเลือกกลุมเปาหมายที่จะลงมือ
ปฏิบัติงาน และการประเมินผลงาน
2. การวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) เพื่อตอบคําถามที่เกิดจาก
การเฝาระวัง การติดตาม การประเมินผลและพบวารูปแบบ วิธีการที่ใชอยูไมตอบรับกับ
สภาพความเปนจริงที่ซับซอนมากขึ้น หรือเกิดปญหาใหมที่ตองการองคความรู เทคโนโลยี
รูปแบบใหมที่เหมาะสมกวาเดิม ชองวางนี้นําไปสูการวิจัยในสิ่งใหมที่ตองรู ตองใช
3. การติดตามประเมินผล (Monitoring and Evaluation : M&D) ระดับนโยบาย แผนงาน
โครงการซึ่งสามารถทําไดในดานปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิต/ผลลัพธ ใหไดมา
ซึ่งขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพที่ประจักษชัดนํามาใชประโยชนในการปรับปรุงแกไข
นโยบาย แผนงาน/โครงการใหเหมาะสม เกิดประโยชนและคุมคายิ่งขึ้น
4. การสนับสนุนหนวยใหบริการ (Provider Support) มีขีดความสามารถ ดวยการถายทอด
สงตอองคความรู เทคโนโลยี มาตรฐาน ขอกฎหมาย และรูปแบบตางๆ ใหแกหนวยปฏิบัติ
หรือหนวยใหบริการ ซึ่งไมใชเฉพาะแตหนวยงานสาธารณสุขเทานั้น แตรวมถึงภาคีภาครัฐ
เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาสังคม
5. การเปนพันธมิตรกับแหลงทุน (Funder Alliance) ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึง
การแสดงศักยภาพในการบริหารจัดการทุนอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
6. การคุมครองประชาชนผูรับบริการ (Consumer Protection) ผานการใหบริการที่มีคุณภาพ
และการใหขอมูลขาวสารเพื่อเปนภูมิคุมกันใหประชาชนและชุมชนมีความเขมแข็ง
สามารถจัดการกับปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพและดูแลสุขภาพไดดวยตนเอง
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 4
วัฒนธรรมองคกร
การที่บุคลากรกรมอนามัยจะมีขีดสมรรถนะและขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธการสงเสริม
สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม และปฏิบัติตามภารกิจหลัก 6 ประการนั้น การเสริมสรางบุคลากรใหมี
พฤติกรรมที่ดีที่พึงประสงค จนกลายเปน “วัฒนธรรมองคกร” ซึ่งถือวาเปนรากฐานสําคัญดวยเหตุผลตอไปนี้
วัฒนธรรม
กรมอนามัย
พฤติกรรม
ที่พึงประสงค
เหตุผล/ความสําคัญ
H = Health
Model
- การเปนตนแบบ
การดูแลสุขภาพ
ตนเอง
- การที่เราจะเปนผูนําในการสงเสริมสุขภาพที่ดี เราควรตองปฏิบัติใหเปน
ตัวอยางและเพื่อการเรียนรูรูปแบบวิธีการปฏิบัติดวยตนเอง เพื่อประโยชนใน
การพัฒนาปรับปรุงรูปแบบดวย
E = Ethics - การปฏิบัติงาน
อยางมีจริยธรรม
- การปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม ซึ่งหมายถึง ความซื่อสัตย โปรงใส
ไมเลือกปฏิบัติ และไมแสวงหาประโยชนในการปฏิบัติงาน จะเปนเกราะคุม
กันใหเราสามารถแสดงบทบาทของการตรวจพิสูจนทราบและใหความเปน
ธรรมแกประชาชนและผูประกอบการที่เกี่ยวของ กรณีมีปญหาการกอ
มลภาวะที่มีผลกระทบตอสุขภาพ หรือ กรณีผลกระทบจากการรับบริการ
สงเสริมสุขภาพจากผูใหบริการของเรา
A =
Achievement
- การปฏิบัติงานที่
มุงผลสัมฤทธิ์
- หมายถึงการมุงมั่น รับผิดชอบในการปฏิบัติงานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย เกิด
ผลสัมฤทธิ์ และตอบสนองตอความตองการของลูกคาและผูที่เกี่ยวของ ซึ่ง
เปนคุณลักษณะที่สําคัญของบุคลากรที่จะนําพาใหองคกรพัฒนาไปสูความ
เปนเลิศและมีความสําเร็จสูง
L = Learning - การเรียนรู
รวมกัน
- ในการที่จะพัฒนาบุคลากรใหเปน “ผูเชี่ยวชาญ” (Expert) ไดนั้น จําเปน
จะตองใชกระบวนการจัดการความรู(Knowledge Management) ที่มีการ
รวบรวมคนควาองคความรู จัดทําคลังความรู และสรางกลไกการแลกเปลี่ยน
เรียนรูรวมกันดวยรูปแบบตางๆอยางตอเนื่อง รวมทั้งเนนการสกัดความรูใน
ตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ใหเปน Explicit Knowledge ที่องคการสามารถ
นําไปพัฒนางาน และขยายสูบุคลากรรุนหลังไดอยางตอเนื่อง ซึ่งจะนําไปสู
การพัฒนาเปนองคการแหงเรียนรู (Learning Organization) ไดในอนาคต
T = Trust - การเคารพ
เชื่อมั่น กันและ
กัน
- ซึ่งหมายถึง การมีความเคารพในสิทธิ หนาที่ ของตนเองและผูอื่น รวมทั้งมี
ความเชื่อมั่นและไววางใจตอเพื่อนรวมงาน ซึ่งเปนคุณสมบัติที่จะทําให
บุคลากรมีความรับผิดชอบตอหนาที่ของตน เขาใจและมีการประสานงาน
ระหวางกันไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งจะเปดโอกาสใหบุคลากรไดแสดงศักยภาพของ
ตนเองไดมากขึ้นดวย
H = Harmony - ความเปน
อันหนึ่งอัน
เดียวกัน
- ซึ่งหมายถึง การมุงเนนการทํางานเปนทีม และยอมรับผลสําเร็จของทีมงาน
รวมกันไมวาจะสําเร็จหรือลมเหลว ถือเปนวัฒนธรรมของการทํางานเปนทีม
ที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งเรื่องนี้จะตองอาศัยความเปนผูนําขององคการ
ทุกระดับในการบริหารจัดการและการสื่อสารกับบุคลากรภายในองคการ
โครงสรางองคกร
กรมอนามัย
สํานักที่ปรึกษากลุมตรวจสอบภายใน
กลุมภารกิจบริหารกลยุทธ
สํานักสงเสริมสุขภาพ
สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม
ศูนยอนามัยที่ 1-12
ศูนยบริหารกฎหมายสาธารณสุข
ศูนยหองปฏิบัติการกรมอนามัย
กลุมภารกิจพัฒนาองคความรู
และเทคโนโลยี
กองทันตสาธารณสุข
กองโภชนาการ
กองอนามัยการเจริญพันธุ
กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
กองสุขาภิบาลอาหารและน้ํา
กองสุขาภิบาลชุมชนและประเมิน
ผลกระทบตอสุขภาพ
กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กองแผนงาน
กองการเจาหนาที่
กองคลัง
กลุมภารกิจอํานวยการ
สํานักงานเลขานุการกรม
อัตรากําลัง
กรมอนามัยมีบุคลากรรวม 3,738 คน เปนขาราชการ 2,176 คน พนักงานราชการ 108 คน
และลูกจางประจํา 1,454 คน สวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรีและดํารงตําแหนงระดับ 5 – 7
(ขอมูลนําเสนอ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2553 ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2552)
งบประมาณ
ตามรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ.2553 กรมอนามัยจะไดรับ
งบประมาณ 1,524,539,400 บาท ลดลงจากป 2552 รอยละ 14.20 โดยงบบุคลากรลดลงรอยละ 2.56
งบดําเนินงานลดลงรอยละ 15.43 งบลงทุนลดลงรอยละ 100 งบรายจายอื่นลดลงรอยละ 100 และงบ
เงินอุดหนุนลดลงรอยละ 17.52
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 5
แสดงงบประมาณป 2549-2553
1,369.73
1,524.54
1,776.86
0
1000
2000
2549 2550 2551 2552
ลานบาท
2553
1,566.34
1,652.72
3000
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549-2553
ปงบประมาณ
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 6
2549 2550 2551 2552 2553รายจาย
ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาทรอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ
เงินงบประมาณ 1,369.73 100 1,566.34 100 1,652.72 100 1,776.86 100 1,524.54 100
งบบุคลากร 827.09 60.52 915.88 58.46 951.96 57.50 1,000.07 56.28 974.45 63.92
งบดําเนินงาน 475.70 34.81 526.37 33.61 556.85 33.77 598.19 33.67 505.84 33.18
งบลงทุน 15.72 1.15 85.76 5.48 88.31 5.38 91.25 5.14 - -
งบเงินอุดหนุน 50.86 3.72 38.33 2.45 55.59 3.36 53.64 3.02 44.25 2.90
งบรายจายอื่น - - - - - - *33.68 1.90 - -
** 190.75 - 190.75 - 203.83 - 205.87 - 207.93 -เงินนอก
งบประมาณ
1,560.12 - 1,757.09 - 1,856.55 - 1,982.73 - 1,732.47 -รวมทั้งสิ้น
สํานักงบประมาณปรับเปลี่ยนงบประมาณสําหรับการศึกษาวิจัยจากงบดําเนินงานเปนงบรายจายอื่น*
เงินนอกงบประมาณ คือ เงินรายไดของศูนยอนามัย**
ที่มา : เอกสารงบประมาณฉบับที่ 3 งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553 เลมที่ 9
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาอนามัยแมและเด็ก
เปาประสงค : แมและเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น
แมและเด็กอายุต่ํากวา 5 ปเปนกลุมประชากรที่มีความเสี่ยงสูงตอการเจ็บปวยและตาย อัตราสวน
การตายมารดาและอัตราตายทารกจึงเปนตัวบงชี้ระบบบริการสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก สําหรับ
ประเทศไทยปญหาสุขภาพของประชากรกลุมแมและเด็กยังคงปรากฏอยู เชน ภาวะโลหิตจางจากการขาด
ธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภสงผลใหทารกแรกคลอดมีน้ําหนักนอย การขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภมี
ผลทําใหทารกพิการและปญญาเสื่อมและเปนที่นาวิตกวาภาวะขาดสารไอโอดีนไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด การติดเชื้อเอชไอวีจากแมสูลูก อัตราการยอมรับและเลี้ยงลูกดวย
นมแมอยางเดียว 6 เดือนที่ต่ํากวารอยละ 30 ความชุกของโรคฟนผุในฟนน้ํานม และรอยละของเด็กอายุต่ํา
กวา 5 ปที่มีพัฒนาการสมวัยทั้งพัฒนาการกลามเนื้อมัดใหญ กลามเนื้อมัดเล็ก พัฒนาทางสังคมและภาษา
ในภาพรวมลดลง
อัตราสวนการตายมารดาและอัตราทารกตาย
26.9
17.7
20 20
17.3 16.7
15.2
23.8
20.6 21.7
17.4
22.1
17.922
19
16.7
0
5
10
15
20
25
30
2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550
อัตราสวนการตายมารดา
(รายตอการเกิดมีชีพ
100,000 คน)
อัตราทารกตาย (ราย
ตอการเกิดมีชีพ 1,000
คน)
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
- ตัวชี้ : โรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว
ผานเกณฑระดับทอง
แหง 150 154 150 189 100
- ตัวชี้วัด : อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี จากแมสู
ลูกไมเกิน
รอยละ 5 5.4 5 4.2 3.7
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 7
โครงการสําคัญ
โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว
โครงการพระราชดําริในพระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามกุฎราชกุมาร
ระบบบริการคุณภาพ
โรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว
ฝากครรภคุณภาพ
- ฝากครรภกอน 12 เดือน
- คัดกรอง Thal / HIV
โรงเรียนพอแม
อาหาร และโภชนาการ
ทันตสุขภาพ
ชมรมสายใยรักแหง
ครอบครัว
ระยะตั้งครรภ
รพ.ลูกเกิดรอดแมปลอดภัย
รพ.สายสัมพันธแม-ลูก
โรงเรียนพอแม
คลินิกนมแม
คัดกรองทารกแรกเกิด
- Thyroid / PKU
ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว
ระยะคลอด/หลังคลอด
WCC คุณภาพ
โรงเรียนพอแม
ตรวจพัฒนาการเด็ก
โภชนาการ
นิทาน ของเลน
ทันตสุขภาพ
ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว
คลินิกสุขภาพเด็กดี
ชุมชน
ชมรมเลี้ยงลูกดวยนมแม / ชมรมแมอาสา/ ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว
ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ตอพันการเกิดมีชีพ
ทารกแรกเกิดน้ําหนักนอยกวา 2,500 กรัม รอยละ 7 หรือลดลงจากฐานขอมูลเดิม รอยละ 0.5 ตอป
เลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว 6 เดือน รอยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานขอมูลเดิม รอยละ 2.5 ตอป
เด็กแรกเกิดถึง 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 90
กรมอนามัย ไดจัดทําโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว เพื่อสนองโครงการสายใยรัก
แหงครอบครัวในพระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร จุดมุงหมายเพื่อบูรณา
การและเสริมสรางความเขมแข็งระบบคุณภาพบริการอนามัยแมและเด็กในสถานบริการสาธารณสุขใหได
มาตรฐานตอเนื่อง ปจจุบันมีโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนเขารวมโครงการรอยละ 93.4 (892 แหง จาก
1,051 แหง) และมีโรงพยาบาลผานเกณฑประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวผานเกณฑระดับ
ทอง 212 แหง
การดําเนินงานป 2553
1. พัฒนาระบบบริการแมและเด็กตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวใน
โรงพยาบาล จํานวน 902 แหง
2. พัฒนาระบบบริการแมและเด็กตามมาตรฐานสถานีอนามัยสายใยรักแหงครอบครัว
(10%ของสถานีอนามัย)
3. การดูแลผูตั้งครรภแนวใหมตามขอแนะนําองคการอนามัยโลกในสถานบริการสาธารณสุข
(30%ของสถานบริการฯ)
4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและที่เกี่ยวของ เชน อบรมทีมประเมินโรงพยาบาลสายใยรักฯ
มิสนมแม ANC คุณภาพ
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 8
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 9
5. เสริมความเขมแขงภาคีเครือขาย/ชมรม/แกนนํา/อาสาสมัคร เชน อบรมสมาชิกชมรมสายใยรัก
แหงครอบครัว อสม.
6. พัฒนาองคความรู โดยการศึกษาวิจัย เชน รูปแบบสงเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยบุคคลตางวัย
คลินิกเด็กดีคุณภาพ LBW
7. สรางความตระหนัก ขับเคลื่อนทางสังคมประชาสัมพันธความสําคัญ “พัฒนาเด็ก” เชน
รวมพลคนกินนมแม รณรงควันธาลัสซีเมียโลก ANC คุณภาพ
โครงการควบคุมและปองกันโรคขาดสารไอโอดีน
โครงการพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแหงชาติโครงการพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี มีมาตรการหลักคือพัฒนาคุณภาพและสงเสริมการใชเกลือเสริมไอโอดีน ปจจุบันอัตรา
คอพอกลดลงมากจนไมสามารถตรวจวัดได ทําใหหลายฝายคิดวาโรคขาดสารไอโอดีนควบคุมไดแลวไม
จําเปนตองดําเนินการซึ่งเปนการเขาใจผิด เพราะคอพอกเปนดัชนีชี้วัดที่มีความไวและแมนยํานอยเมื่อเทียบ
กับระดับไอโอดีนในปสสาวะ ซึ่งเปนดัชนีวัดที่กรมอนามัยใชอยูในปจจุบัน จากการสํารวจสถานการณโรค
ขาดสารไอโอดีนของประเทศ ดวยการตรวจวัดไอโอดีนในปสสาวะของหญิงมีครรภ สุมตรวจทั่วประเทศ ป
ละ 15 จังหวัดๆ ละ 300 คน รวม 4,500 คน ตั้งแตป พ.ศ. 2543 เปนตนมา พบวาโรคขาดสารไอโอดีนมี
แนวโนมเปนปญหามากขึ้น
ดังนั้น เพื่อขยายความครอบคลุมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนและเกลือที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
กรมอนามัยจึงสนับสนุนใหมีการจัดตั้งชมรมผูประกอบการเกลือเสริมไอโอดีนรายภาค เพื่อรวมมือกันในการ
ผลิตเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพโดยมีการบริหารจัดการใหครอบคลุม ตอเนื่องและยั่งยืน; ควบคุม
ติดตาม คุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนระดับโรงงาน; สนับสนุนน้ําไอโอดีนเขมขนใหแกโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดนและศูนยสุขภาพชุมชน และใชเกลือเสริมไอโอดีนในโครงการอาหารกลางวัน; เฝาระวังโรค
ขาดสารไอโอดีนโดยการตรวจปริมาณไอโอดีนในปสสาวะหญิงตั้งครรภ; สรางความเขมแข็งใหกับองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นเพื่อการมีสวนรวม ตลอดจนสงเสริมและพัฒนาบุคลากรใหมีความรูเรื่องโรคขาดสาร
ไอโอดีนอยางถูกตอง
สถานการณปจจุบัน
1. แหลงผลิตเกลือเสริมไอโอดีน
แหลงผลิตทั้งหมด 186 แหง
แหลงผลิตที่มีกําลังการผลิต มากกวา 700 ตัน/ป
• มีทั้งหมด 47 แหง
• ไดรับเครื่องหมายการรับรองอาหารเพิ่มสารอาหาร 32 แหง
2. ความครอบคลุมของครัวเรือนที่มีการใชเกลือเสริมไอโอดีนที่ไดมาตรฐาน รอยละ 85.4
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 10
3. ปริมาณไอโอดีนในปสสาวะของหญิงตั้งครรภ
Median 125.2 μg/L
หญิงตั้งครรภที่มีคาไอโอดีนในปสสาวะ < 100 μg/L รอยละ 39.72
หญิงตั้งครรภที่มีคาไอโอดีนในปสสาวะ < 150 μg/L รอยละ 58.50
การดําเนินงานป 2553
1. สํารวจแหลงผลิตเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู
3. ศึกษาวิจัย วิเคราะหทางหองปฏิบัติการ
4. ควบคุม กํากับ ติดตามเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ จุดผลิต และกระจายสูผูบริโภค
5. ศึกษาดูงาน รณรงค เผยแพร ประชาสัมพันธ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 ลดปจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุน
เปาประสงค : เด็กวัยเรียนและวัยรุนไทยสุขภาพดีมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยูใน
สิ่งแวดลอมที่เอื้อตอสุขภาพ
ปญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียนและวัยรุนมีแนวโนมคอนขางสูง ภาวะทุพโภชนาการยังคงอยูใน
อัตราที่สูงและเพิ่มขึ้นตามอายุอยางชัดเจนทั้งในเขตเมืองและชนบท เด็กวัยเรียนและเยาวชนขาด
สารอาหารเรื้อรัง (มีภาวะเตี้ย) รอยละ 7.5 และ 12.0 ตามลําดับ ขณะเดียวกัน พบวาเด็กวัยเรียนและ
เยาวชนในเขตเมืองมีภาวะโภชนาการเกินรอยละ 9.5 และ 17.7 ตามลําดับ เด็กอายุ 12 ปมีแนวโนมเปน
โรคฟนผุเพิ่มมากขึ้นแตการเขาถึงบริการทันตกรรมและการสงเสริมปองกันลดนอยลง และที่นาวิตกคือ
ปญหาการตั้งครรภและเยาวชนที่ตั้งครรภอายุต่ํากวา 20 ป เพิ่มขึ้นจากรอยละ 33.7 ในป 2544 เปนรอย
ละ 49.3 ในป 2548 (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข) จากการสํารวจของเอแบค
โพลพบวา รอยละของแมที่คลอดบุตรเมื่ออายุนอยกวา 20 ป เพิ่มขึ้นจาก 12.1 ในป 2545 เปน 14.7 ในป
2549 และเมื่อดูสถิติการทําแทง พบวารอยละ 28.5 เปนการทําแทงในวัยรุน ซึ่งในกลุมที่ทําแทงรอยละ
0.7 อายุต่ํากวา 15 ป รอยละ 20.3 อายุ 15 – 19 ป และ รอยละ 25.8 อายุ 20 – 24 ป นอกจากนี้
เยาวชนไทยมีแนวโนมพฤติกรรมเสี่ยงในการเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคเอดสเพิ่มมากขึ้น
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
*- ตัวชี้วัด :โรงเรียนทุกสังกัดผานเกณฑมาตรฐาน
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพไมนอยกวา
รอยละ 80 93.6 90 94.8 -
**- ตัวชี้วัด: โรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร แหง - - - - 30
***- ตัวชี้วัด: หนวยงานภาครัฐสนับสนุนการ
จัดบริการที่เปนมิตรสําหรับวัยรุน
แหง - - - - 10
* ตัวชี้วัดที่ปรับเปนตัวชี้วัด **
*** เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 11
ทั้งนี้กรมอนามัยจัดทําโครงการเพื่อรองรับแนวทางการดําเนินงาน 2 โครงการสําคัญ คือ
โครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพคือโรงเรียนที่บุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ผูปกครองและชุมชนรวมมือ
รวมใจพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดลอมใหเอื้อตอสุขภาพอยางสม่ําเสมอเพื่อสุขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน
จึงเปนกลยุทธการบูรณาการงานโภชนาการ การออกกําลังกาย ทันตสุขภาพ อนามัยการเจริญพันธุ
สุขภาพจิต การควบคุมปองกันโรค และสงเสริมอนามัยสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนาสุขภาพแบบองครวม อีกทั้ง
เปนกระบวนการพัฒนาการเรียนรู สรางคานิยมเสริมทักษะของนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัย
และใชแบบบันทึกตรวจสุขภาพดวยตนเอง และสงเสริมใหนักเรียนสามารถจัดทําโครงการแกไขปญหา
สุขภาพที่ผานกระบวนการสืบคนและวิเคราะหอยางเปนระบบ
สถานการณปจจุบัน ( ณ มีนาคม 2552)
โรงเรียนทุกสังกัดผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ รอยละ 96.2 (เปาหมาย รอยละ
90) โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร 13 แหง (เปาหมาย 36 แหง )
การดําเนินงานป 2553
1. สนับสนุนใหโรงเรียนพัฒนาเขาสูการเปนโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร
2. จัดตั้งและพัฒนาเครือขายชมรมเด็กไทยทําไดระดับจังหวัด เพื่อเปนแกนหลักและประสานการ
ดําเนินงานกับชมรมเด็กไทยทําไดในโรงเรียนของจังหวัดนั้นๆ
3. ประเมินรับรองและประกวดโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรระดับประเทศ
4. ประชุมสัมมนาวิชาการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ 3
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู สนับสนุนการจัดการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร
โครงการลดปจจัยเสี่ยงดานอนามัยการเจริญพันธุในเด็กวัยเรียนและวัยรุน
เปาหมายการดําเนินงาน คือ ลดการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควรและลดการมีเพศสัมพันธที่ไม
ปลอดภัย
การดําเนินงานป 2553
1. จัดอบรมผูรายงานขอมูลการตั้งครรภของวัยรุนและเยาวชนอายุต่ํากวา 20 ป
2. ประชุมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชน ประชุมเครือขายสภาเด็ก
3. จัดทําหลักสูตรวิชาอนามัยการเจริญพันธุในระดับอุดมศึกษา
4. อบรมผูใหบริการที่เปนมิตรกับวัยรุน(Adolescent Friendly Health Providers)
5. จัดอบรมแพทย/ พยาบาลเรื่องการปองกันการแทงที่ไมปลอดภัยและการใช MVA
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 แกไขปญหาโรคอวนคนไทย
เปาประสงค : ประชาชนอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลัง
กายที่เหมาะสมตามกลุมวัย และอยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการลดโรควิถีชีวิต
อิทธิพลสิ่งแวดลอม/สังคม
- การตลาดดานอาหาร
- กระแสตะวันตก
- ขาดการออกกําลังกาย
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 12
ปจจัยดานพฤติกรรม
กินปริมาณมาก
ปจจัยดานชีวภาพ
พันธุกรรม
ทัศนคติ
อวนลงพุง
ระบบบริการสาธารณสุข
-การใหคําปรึกษา
-การรณรงค PR
-คลินิกลดไขมัน
-ระบบเฝาระวังภาวะเสี่ยง
ขาดการออกกําลังกาย
Energy in (+)
การบริโภคอาหารไมเหมาะสม
Energy out (-)
สรางนโยบายสาธารณะ
และสิ่งแวดลอมที่ลด
ปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบ
ตอโรคไมติดตอเรื้อรัง
22
1
กินหวาน/มันมาก
-พัฒนาองคความรู
-สรางพันธมิตร
ภาคีเครือขาย
ขับเคลื่อนในระดับชาติ
133
ประเทศไทยจัดอยูอันดับที่ 5 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกที่พบความชุกของภาวะน้ําหนักเกินและโรค
อวนถึงรอยละ 50 ตั้งแตป 2529 – 2547 มีคนอวนเพิ่มมากขึ้นถึง 7.5 เทา ประมาณการวามีผูที่มีรูปราง
ทวมจนถึงระดับอวน 10 ลานคน ในคนไทยถือวาเพศชายเสนรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร และเพศหญิงเกิน
80 เซนติเมตรเปนโรคอวน สาเหตุโรคอวนเกิดจากการใชวิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหมที่มีพฤติกรรม
บริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้น สวนใหญเปนอาหารจําพวกขนมขบเคี้ยว น้ําหวาน อาหารสําเร็จรูป
อาหารบริการดวน และมีพฤติกรรมกินผักผลไมนอย ขาดการออกกําลังกาย เสนรอบเอวเปนดัชนีที่ดีใน
การประเมินภาวะไขมันสะสมในชองทอง โดยเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 เซนติเมตร จะเพิ่มโอกาสเกิด
โรคเบาหวาน 3 - 5 เทา คนที่อวนลงพุงคือมีไขมันสะสมที่สวนกลางลําตัว จะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรค
อวนและโรคเรื้อรังที่สัมพันธกับโรคอวนซึ่งเปนสาเหตุการตายอันดับตน คือ โรคเบาหวาน โรคหัวใจและ
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 13
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
*- ตัวชี้วัด : หนวยงานภาครัฐ/เอกชนผาน
เกณฑการประเมินเปนองคกรตนแบบไรพุง
แหง - - - - 130
*- ตัวชี้วัด : ศูนยอนามัยดําเนินงานตาม
แนวทางคลินิก DPAC
รอยละ - - - - 80
**- ตัวชี้วัด : ประชาชนชายอายุ 15 ปขึ้น
ไป มีรอบเอวไมเกิน 90 ซม. (36 นิ้ว)
รอยละ 76 40.08 78.5 81.94 79
**- ตัวชี้วัด : ประชาชนหญิงอายุ 15 ปขึ้น
ไป มีรอบเอวไมเกิน 80 ซม. (32 นิ้ว)
รอยละ 39.5 68.22 42 75.25 42.5
**- ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป มี
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกําลังกาย
เพียงพอตอสุขภาพ
รอยละ 65.4 - 68 74.9 85
* ตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553
** ตัวชี้วัดกระทรวง
โครงการคนไทยไรพุง
ปจจุบันทั่วโลกกําลังเรงรณรงคตอสูกับปญหาภาวะอวน (Obesity) และโรคอวนลงพุง (Metabolic
Syndrome ) เพื่อลดภาวะความรุนแรงของโรควิถีชีวิต อันไดแก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เปนตน “โรคอวน” ถือเปนภัยคุกคามที่กําลัง
ระบาดในกลุมคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในป 2552 โครงการคน
ไทยไรพุงมีแนวคิดการขับเคลื่อนงานตอเนื่องตามประเด็นยุทธศาสตรการแกไขปญหาโรคอวนลงพุงของ
กรมอนามัย คือ ประชาชนไดรับการสงเสริมปองกันและแกไขปญหาโรคอวนลงพุง เปาประสงคของโครงการ
คนไทยไรพุง คือ ประชาชนอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลังกายที่
เหมาะสมตามกลุมวัย และอยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการสรางสุขภาพ
การดําเนินงานป 2553
ในป 2553 การดําเนินงานจะเนนในชุมชน เพื่อใหเกิด ชุมชนไรพุงมุงสูสุขภาพดี ภายใตกรอบ
แนวคิดการขับเคลื่อน “แผนงานสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย รวมใจตานภัยโรคไมติดตอเรื้อรัง” เพื่อลดโรคไม
ติดตอเรื้อรังที่ปญหาระดับประเทศ ซึ่งประกอบดวย
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 14
1. ระบบการเฝาระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และโรคอวนลุงพุง 2 ระดับ (ระดับชุมชนและ
ระดับสถานบริการ)
2. การสรางความตระหนักการใหความรูในวงกวาง และการรณรงคสรางกระแสเนนเรื่องวิถีชีวิต
กินถูกสวน ไดออกแรงเคลื่อนไหว และผอนคลายอารมณ
3. การเสริมสรางสิ่งแวดลอมและลดเสี่ยงเบาหวานและอวนลงพุงในชุมชน
4. การใหคําปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุมเสี่ยงและกลุมปวยในชุมชนและสถานบริการ
5. การลดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานโดยใชมาตรการการดูแลผูปวย
โครงการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
จากการสํารวจของกองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพในป 2547 - 2549 พบวา คนไทยวัยทํางานออก
กําลังกายอยางจริงจังคือ ประมาณสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที มีเพียงรอยละ 22-24 เมื่อพิจารณาถึง
คุณภาพพบวา คนไทยวัยทํางานทั้งหมดมีการออกกําลังกายอยางจริงจังและมีคุณภาพพอเพียงตอสุขภาพ
เพียงรอยละ 10 เทานั้น กรมอนามัยจึงรณรงคสงเสริมการเคลื่อนไหว ออกแรง/ออกกําลังดวยการเดินเพื่อ
สุขภาพ ขึ้นบันไดไมใชลิฟต ซึ่งเปนวิธีที่งายที่สุดวิธีหนึ่งไมเสียคาใชจายมากและมีประโยชนตอสุขภาพ
หากกาวเดินมากกวา 9,999 กาวทุกวัน เชน ลดความเสี่ยงจากการตายดวยโรคหัวใจขาดเลือด , ลดความ
เสี่ยงตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาต อัมพฤกษ , ลดความเสี่ยงตอการเกิด
โรคมะเร็งลําไสใหญ พัฒนาและเผยแพรรูปแบบการออกแรง/ออกกําลังที่เหมาะสมกับสภาพรางกายและ
วิถีชีวิต เสริมศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุขและอาสาสมัครใหสามารถบริหารจัดการความรูเรื่องการออก
กําลังกายที่เหมาะสมกับสภาพรางกายและอายุ
การดําเนินงานป 2553
1. ผลักดันการดําเนินงานสงเสริมและฟนฟูสุขภาพผูสูงวัยดวยการออกกําลังกายโดยผานการ
พัฒนาศักยภาพแกนนําสุขภาพประชาชน (อสม.) พื้นที่ศูนย 12 แหง รวม 2,400 คน การ
ขับเคลื่อนใหเกิดการเดินเพิ่มสูงขึ้นโดยการรณรงคสรางกระแส ในหนวยงานสาธารณสุขที่
บุคลากรไดผานการอบรมการดําเนินงานสงเสริมเดินและการจัดการน้ําหนัก
2. การดําเนินงานคลินิก DPAC ของศูนยอนามัยที่ 1-12
3. การสื่อสารสาธารณะ โดยการจัด “ตลาดนัดความรูออกกําลังกาย” เพื่อจัดแสดงนิทรรศการ
ความรูดานการออกกําลังกาย พรอมใหบริการตางๆ ดานการออกกําลังกาย ณ ศูนยแสดง
สินคา IMPACT เมืองทองธานี
4. จัดทําเนื้อหาความรูดานการออกกําลังกายสําหรับกลุมวัยตางๆ เปน Scoop ความยาว 1 นาที
เผยแพรทางสื่อโทรทัศน พรอมจัดทําเนื้อหาเปนซีดีเสียงเพื่อเผยแพรทางสื่อวิทยุ วิทยุชุมชน
และหอกระจายขาวในชุมชนอีกดวย
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 สงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ
เปาประสงค : ผูสูงอายุมีสุขภาพดี อยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ
ปจจุบันโครงสรางประชากรของประเทศไทยพบวาสัดสวนผูสูงอายุ (อายุ 60 ปขึ้นไป) เพิ่มขึ้นใน
อัตราที่รวดเร็ว จากรอยละ 9.5 ในป 2543 และคาดการณวาเปนรอยละ 16.8 ในป 2563 และ รอยละ 22.7
ในป 2573 สงผลใหประเทศไทยเขาสูภาวะสังคมผูสูงอายุ หรือภาวะประชากรผูสูงอายุ (Population
Ageing) อันจะกอใหเกิดปญหาสุขภาพเจ็บปวยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ปญหาสําคัญอยางหนึ่งของผูสูงอายุ คือ
ปญหาการสูญเสียฟนและสุขภาพชองปาก ปญหาการขาดแคลนผูดูแลผูสูงอายุยามเจ็บปวย ซึ่งจะมี
ผลกระทบตอสุขภาพผูสูงอายุและคาใชจายที่สูงขึ้นในการดูแลตนเอง ปจจุบันรอยละ 70 ของประชากรอายุ
60 – 69 ป เจ็บปวยดวยโรคเรื้อรัง รอยละ 31.60 ไมมีผูชวยดูแลยามเจ็บปวย และรอยละ 81.40 อยูในบาน
ที่ไมมีโทรศัพทซึ่งหมายถึงวาหากเจ็บปวยกระทันหัน ยอมไมสามารถติดตอขอความชวยเหลือจากภายนอก
ไดทันทวงที
การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย
รอยละของประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป
22.7
16.8
11.8
9.5
7.4
5.54.94.6
0
5
10
15
20
25
2503 2513 2523 2533 2543 2553 2563 2573
ภาระโรคสิบอันดับแรกที่วัดโดย DALYs ที่ทําใหผูมีอายุ
70 ปขึ้นไปในประเทศไทย เสียชีวิตกอนวัยอันควร หรือมีชีวิตอยูอยาง
บกพรองทางสุขภาพ พ.ศ. 2547
2.845,000ไต2.738,000สมองเสื่อม10
3.861,000หูหนวก3.347,000ตอกระจก9
4.064,000ปอดอุดกั้นเรื้อรัง3.448,000หูหนวก8
4.166,000มะเร็งตับ4.564,000มะเร็งปอด7
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 15
5.384,000ตอกระจก4.969,000เบาหวาน5
6.197,000ขอเสื่อม6.896,000หัวใจขาดเลือด4
6.299,000หัวใจขาดเลือด8.1114,000มะเร็งตับ3
8.9141,000เบาหวาน9.0127,000ปอดอุดกั้นเรื้อรัง2
12.7203,000อัมพาต12.1170,000อัมพาต1.
%ปที่สูญเสีย
(ราย)
เพศหญิง%อันดับ เพศชาย ปที่สูญเสีย
(ราย)
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 16
การที่จะใหผูสูงอายุมีชีวิตยืนยาวอยางมีคุณภาพ ทุกภาคสวน ทั้งรัฐ ทองถิ่น ชุมชน และ
อาสาสมัครตองรวมมือสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในกลุมผูสูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีใหมีสุขภาพแข็งแรง
เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บปวยเรื้อรังออกไป และใหผูสูงอายุที่เจ็บปวยหายหรือทุเลาจากการปวย ลด
ความพิการหรือทุพพลภาพ และยืดเวลาของการเขาสูภาวะทุพพลภาพออกไป
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
- ตัวชี้วัด : ตําบลที่มีชมรมผูสูงอายุจัดกิจกรรม
สุขภาพรวมกันอยางนอยเดือนละครั้ง
รอยละ 90 99 90 99.03 -
*- ตัวชี้วัด : จํานวนตําบลตนแบบที่ผานเกณฑ
ดานการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ระยะยาว (LTC)
ตําบล - - - - 10
*- ตัวชี้วัด : ชมรมผูสูงอายุมีกิจกรรมสงเสริม
สุขภาพชองปาก
ชมรม - - - - 75
*- ตัวชี้วัด : ผูสูงอายุไดรับการดูแลเพื่อแกปญหา
การสูญเสียฟน
คน - - - - 30,000
* เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553
โครงการสําคัญ
โครงการฟนเทียมพระราชทาน
จากกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อเดือนเมษายน 2547 ความวา
“เวลาไมมีฟน กินอะไรก็ไมอรอย ทําใหไมมีความสุข จิตใจก็ไมสบาย รางกายก็ไมแข็งแรง ” ประกอบกับ
การสํารวจสภาวะทันตสุขภาพของผูสูงอายุโดยกรมอนามัย พบวา การสูญเสียฟนเปน ปญหาหลักของ
ผูสูงอายุ โดยเฉพาะการสูญเสียฟนทั้งปาก มีถึง 300,000 คน จึงเปนที่มาของโครงการฟนเทียมพระราชทาน
ดวยการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และกองทุนโครงการฟนเทียม
พระราชทาน สามารถใหบริการใสฟนเทียมแกผูสูงอายุรวม 116,986 รายนับตั้งแตป 2548 จนถึงปจจุบัน
การดําเนินงานป 2553
1. สนับสนุนการจัดบริการใสฟนเทียมที่มีคุณภาพแกผูสูงอายุ 30,000 ราย ในหนวยบริการทั่ว
ประเทศ
2. อบรมทันตแพทยที่จบใหมในป 2552 และ 2553 เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ
3. การรณรงค เผยแพรประชาสัมพันธเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
โครงการสงเสริมสุขภาพ ปองกัน และเฝาระวังโรคกลุมผูสูงอายุ
การสงเสริมและดูแลสุขภาพผูสูงอายุตามความเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของผูสูงอายุที่แบงได
เปน 3 กลุมหลัก คือ กลุมที่สุขภาพดี ดูแลตนเองและผูอื่นได กลุมที่สุขภาพออนแอตองอาศัยความ
ชวยเหลือจากผูอื่นเปนครั้งคราว และกลุมที่ชวยเหลือตนเองไมได การดูแลผูสูงอายุเปนการดูแลระยะยาว
(Long Term Care) และบริการดูแลสุขภาพผูสูงอายุที่บาน (Home Health Care) ทั้งยามปกติและยาม
เจ็บปวย เปนการสงเสริมศักยภาพของสถาบันครอบครัว ชุมชนและอาสาสมัครขณะที่รัฐยังไมมีสถาน
บริการดูแลสุขภาพในภาวะเรื้อรัง การสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในกลุมประชากรสูงอายุจําเปนตอง
พัฒนากลไกและชองทางที่เขาถึงกลุมผูสูงอายุที่มีปญหาสุขภาพเหลานี้ครอบครัว ชุมชน อาสาสมัครจะ
ไดรับการสงเสริมศักยภาพในการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ พรอมไปกับที่ประชากรสูงอายุไดรับความรูและ
รวมมือรวมใจดูแลสุขภาพตนเองดวยเชนกัน
- Long Term Care23. ตองพึ่งคนอื่น
- ตองการการดูแลใกลชิด
- ตองการบริการทางการแพทย
- Home Health Care
- Day care
- วัดสงเสริมสุขภาพ
202. ดูแลตนเองไดบาง
- สงเสริมสุขภาพ
- พัฒนาเปนอาสาสมัคร
781. ดูแลตนเองได
ชวยเหลือผูอื่นได
กิจกรรมรอยละกลุมผูสูงอายุไทย
การดําเนินงาน ป 2553
สนับสนุนการดําเนินงานในเรื่อง การดูแลผูสูงอายุระยะยาว โดย มีตัวชี้วัดความสําเร็จ คือ
จํานวนตําบลตนแบบที่ผานเกณฑดานการดูแลสุขภาพผูสูงอายุระยะยาว การดําเนินงานมีการพัฒนา
หลักเกณฑ มาตรฐาน ดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ ขยายผลการดําเนินงานดูแลสุขภาพผูสูงอายุระยะ
ยาวสูชุมชน พัฒนาศักยภาพพันธมิตรภาคีเครือขายดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ มีการผลิตและ
เผยแพรองคความรูดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ รวมทั้ง รณรงคสรางกระแสผานสื่อตาง ๆ เพื่อให
ประชาชนตระหนักรูในเรื่องผูสูงอายุ
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 17
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 18
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอม
เปาประสงค : ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมาตรฐานงาน
อนามัยสิ่งแวดลอมของกรมอนามัย
สิ่งแวดลอมเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งตอการมีสุขภาพดีของประชาชน กรมอนามัยจึงให
ความสําคัญกับการจัดการสภาพแวดลอมใหสะอาด ปลอดภัย เริ่มจากหนวยเล็กที่สุดคือบานและขยายเปน
ชุมชนและสังคมโดยรวม เพื่อใหเมืองไทยเปนเมืองนาอยู คนไทยสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ โดยใช
ยุทธการ “ทองถิ่นทําได(เอง)” สรางพลังความรวมมือจากภาคีเครือขายระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น
และกระตุนใหเกิดการแขงขันโดยการจัดระดับทองถิ่นทําได พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุขและ
เจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นใชการเฝาระวังอนามัยสิ่งแวดลอมเปนเครื่องมือ ”ชี้เปา” ใหทองถิ่น
ดําเนินการ สรางความเขมแข็งของชุมชนสรางเครือขายประชาชนใหเกิดจิตสํานึกสาธารณะรวมรับผิดชอบ
ในการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นของตน และใชกฎหมายสาธารณสุขเพื่อปกปองคุมครองสิทธิของ
ประชาชนพรอมกับสรางความเปนระเบียบในสังคม
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด
หนวย
นับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
- ตัวชี้วัด : เทศบาล/อบต. ผานเกณฑดาน
กระบวนการเมืองนาอยูดานสุขภาพ
รอยละ 76/5 73.3/8 78/10 82.19/
30.21
78/10
- ตัวชี้วัด : เทศบาล/อบต. ที่มีสัมฤทธิผลดาน
อนามัยสิ่งแวดลอม
รอยละ 30/2 34.5/1.4 40/5 57.92/1
2.08
40/5
โครงการสําคัญ
โครงการพัฒนาการจัดการของเสียชุมชน
มีงานสําคัญ คือ การพัฒนาสวมสาธารณะไทยใหไดมาตรฐาน HAS (Healthy Accessibility Safety)
เนนสถานที่ที่มีผูใชบริการจํานวนมาก ไดแก โรงเรียนในสังกัดสํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน วัดโรงพยาบาล
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง นอกจากนี้ มีโครงการพัฒนาการจัดการ
สิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และการจัดการมูลฝอยทั่วไป
การดําเนินงานป 2553
1. การจัดทํายุทธศาสตรการจัดการสิ่งปฏิกูลแหงชาติ
2. จัดรณรงคลางสวมพรอมกันรับวันสงกรานต
3. ดําเนินการพัฒนาสวมในสถานีอนามัยในโครงการ “สวมดี...ทุกสถานีอนามัย”
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 19
4. รวมดําเนินการพัฒนาสวมโรงเรียนในโครงการ “สวมสุขสันตในโรงเรียน”
5. ตรวจประเมิน ยกระดับ และมอบปาย/ประกาศนียบัตร สวมสะอาดไดมาตรฐาน HAS
6. รวมการพัฒนาสวมรถไฟ
7. นํารองดําเนินการพัฒนาสวมในวัด
8. ประกวดสุดยอดสวมแหงป 2553
โครงการพัฒนาการจัดการเหตุรําคาญและกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ
มีเปาหมายจัดตั้งหนวยจัดการเหตุรําคาญในสวนกลางและศูนยอนามัยและจะขยายไปยังเทศบาล
ที่มีความพรอมในการดําเนินงานตามพรบ.การสาธารณสุข รวมถึงสงเสริมสนับสนุนใหองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นสามารถดําเนินการจัดการเหตุรําคาญและกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เชน การออกขอบัญญัติ
ทองถิ่น การตรวจแนะนําสถานประกอบการ เปนตน
การดําเนินงานป 2553
1. การจัดทํามาตรฐานการตรวจวินิจฉัยเหตุรําคาญ (Standard of procedure) สําหรับใชเปน
แนวทางการจัดการเหตุรําคาญในทุกพื้นที่ และจัดทําคูมือวิชาการ
2. การกําหนดนโยบายจัดตั้งหนวยตรวจวินิจฉัยเหตุรําคาญ ในแตละหนวยงานราชการสวน
ทองถิ่น
3. การประสานงาน และดําเนินการจัดการกับปญหาเหตุรําคาญที่มีการรองเรียนจากประชาชน
โครงการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม
กําหนดแนวทางสําคัญใน 2 ประเด็น คือ การศึกษาปญหาการใชสารเคมีในครัวเรือน และการ
เตรียมการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในบทบาทของกรมอนามัย ไดแก การลดกาซเรือน
กระจกจากภาคของเสีย การสรางองคความรูดานสุขภาพทุกกลุมวัย การปองกันและบรรเทาความเสียหาย
ของผลกระทบกรณีสาธารณภัย การพัฒนาเกณฑมาตรฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศที่จะสงผลกระทบตอสุขภาพ
การดําเนินงานป 2553
รวมรวมและจัดทําฐานขอมูลสถานการณดานอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม
ของประเทศไทย ไดแก ประเด็น Nano Safety สถานการณและการจัดการสารเคมีอันตรายในครัวเรือนของ
ประเทศไทย ขอเสนอแนวทางการจัดทํามาตรฐานคุณภาพอากาศในอาคารประเทศไทย เปนตน และ
การศึกษารูปแบบงานดานอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม จํานวน 1 แหง
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 20
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 ความปลอดภัยดานอาหารและน้ํา
เปาประสงค : ประชาชนบริโภคอาหารและน้ําที่ปลอดภัย
สถานการณโรคติดตอ
โรคติดตอระบบทางเดินอาหารและน้ํา เกิดจากเชื้อโรคหลายชนิด พยาธิและสารเคมี ที่ปนเปอนมา
กับอาหารและน้ําดื่มที่ใชรับประทาน หรือแมกระทั่งพืชพิษ ก็จะสงผลทําใหผูบริโภคอาหารนั้นมีโอกาสรับ
เชื้อหรือสารพิษเขาไปในรางกาย และแสดงอาการของโรคนั้นได เชน อหิวาตกโรค อุจจาระรวงเฉียบพลัน
อาหารเปนพิษ บิด ไขเอนเทอริค ตับอักเสบ พยาธิใบไมตับ ฝในตับ มือ เทาและปาก
จากปญหาสุขภาพที่สําคัญ (หนังสือการสาธารณสุขไทย 2548-2550) พบวาโรคอุจจาระรวง
เฉียบพลันยังคงเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญ โดยมีอุบัติการณที่ไมเปลี่ยนแปลงมากนักทั้งในเด็กและ
ผูใหญ โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ํากวา 5 ป ที่พบอุบัติการณสูงกวาในผูใหญ ซึ่งจากการสํารวจภาวะสุขภาพ
อนามัยระดับจังหวัด พบวา แนวโนมการปวยดวยโรคอุจจาระรวงในเด็กลดลงในระยะ 5 ป จากอัตรา
การปวย 6.0 ครั้ง/คน/ป ในพ.ศ.2538 ลดลงเปน 3.6 ครั้ง/คน/ป ในพ.ศ.2544 แตก็ยังสูงกวา
เปาหมายที่กําหนดไวใหเหลือไมเกิน 1 ครั้ง/คน/ป
สถานการณการปนเปอนของอาหาร
การปนเปอนของอาหารและภาชนะอุปกรณเกิดจากสาเหตุตาง ๆ สาเหตุหลักเกิดจากพฤติกรรมที่
ไมถูกตองของมนุษย ไมวาจะเปนการปรุง ประกอบ การจําหนายและการบริโภคอาหาร ใน ป 2537
สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ไดทําการศึกษาปริมาณตะกั่วและแคดเมี่ยม ที่ปนเปอนใน
อาหารที่จําหนาย โดยหาบเร แผงลอย พบวา รอยละ 51 ของคนในกรุงเทพมหานครบริโภคอาหารมื้อ
กลางวันจากหาบเร แผงลอย และจากการสุมตัวอยางอาหารจากหาบเร แผงลอย และรานอาหารในบริเวณ
ที่มีการจราจรคับคั่งของกรุงเทพมหานคร พบวา มีระดับการปนเปอนของแคดเมียมสูงกวาตะกั่ว แมวาโดย
สวนใหญจะต่ํากวาเกณฑมาตรฐานความปลอดภัยก็ตาม แตมีบางแหงที่มีปริมาณแคดเมียม สูงเกินคา
มาตรฐาน ซึ่งแหลงสําคัญของการปนเปอนแคดเมียมมาจากอาหารทะเล
จากการสอบสวนโรคอาหารเปนพิษ โดยกองระบาดวิทยา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ป
พ.ศ. 2543 ไดรับรายงานจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด จํานวน 13 รายงาน มีผูปวย 1,531 ราย
เสียชีวิต 2 ราย เปนกลุมนักเรียน 8 รายงาน ประชาชนทั่วไป 2 รายงาน และทหาร พยาบาล นักโทษใน
เรือนจํา กลุมละ 1 รายงาน อาหารกอโรคในกลุมนักเรียนสวนมากเปนอาหารกลางวันที่ทางโรงเรียนจัดทํา
ไวมีลักษณะปรุงสุกแตการจัดเตรียมใชมือจับตองภายหลัง หรือทิ้งชวงไวนานกวาจะรับประทาน ไดแก
ขาวมันไก ตมยําไก ผัดซีอี้ว ไอศกรีม ขนมลูกชุบ อาหารบางอยางผานความรอนชวงสั้นๆ ไดแก เลือดไก
และไขในกวยจั๊บ นมสดพลาสเจอไรทบรรจุถุง จากพืช ไดแก ตนฝนดิบ และเมล็ดสบูดํา ในกลุมประชาชน
ทั่วไปอาหารกอโรค คือ อาหารประเภทเนื้อดิบ ๆ สุก ๆ เชน ลาบเนื้อ ควายดิบ ลาบเนื้อหมูชาวเขาดิบ ผัก
ลักษณะคลายผักหวานในทหารและนักโทษในเรือนจําเกิดจากน้ํา กระทิสดในขนมบัวลอย และขาวเหนียว
ทุเรียน และพยาบาลในโรงพยาบาลเกิดจากขาวผัดปู
สถานการณคุณภาพน้ําบริโภค
ความครอบคลุมน้ําสะอาดของครัวเรือนในชนบทมีน้ําบริโภคครอบคลุม รอยละ 97.2 (สํานักงาน
สถิติแหงชาติ พ.ศ. 2548) การประเมินสถานการณคุณภาพน้ําบริโภค ระหวางป 2547 – 2548 พบวา
กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 21
ป 2551 ป 2552 ป 2553
ตัวชี้วัด
หนวย
นับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย
*- ตัวชี้วัด : องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีระบบ
การจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ําอยางนอย
แหง - - - - 16
- ตัวชี้วัด : รานอาหาร และแผงลอยจําหนาย
อาหารไดมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอรอย
(Clean Food Good Taste
รอยละ 70 81.75 75 82.33 80
- ตัวชี้วัด : ตลาดประเภทที่ 1 ไดมาตรฐาน
ตลาดสด นาซื้อ
รอยละ 70 77.91 75 80.31 80
- ตัวชี้วัด : ระบบประปามีคุณภาพตามเกณฑ
มาตรฐานน้ําประปาดื่มได
- ระบบประปาเทศบาล
- ระบบประปาหมูบาน
แหง
แหง
-
-
-
-
10
1,000
1
22
10
1,000
* เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553
โครงการสําคัญ
โครงการอาหารปลอดภัย
วัตถุประสงค
เพื่อใหประชาชนไดบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
กลุมเปาหมาย
1. รานอาหาร และแผงลอยจําหนายอาหาร
2. ตลาดประเภทที่ 1 (มีโครงสรางอาคาร)
แนวทางการดําเนินงาน ป 2553
1. ศึกษาวิจัย พัฒนาองคความรูดานสุขาภิบาลอาหาร จํานวน 7 โครงการ
2. พัฒนาระบบเฝาระวังดานสุขาภิบาลอาหารและน้ํา จํานวน 19 จังหวัด
3. พัฒนาศักยภาพและความเขมแข็งของภาคีเครือขาย จํานวน 21 โครงการ
4. สงเสริม สนับสนุน ใหรานอาหาร และแผงลอยจําหนายอาหารทั่วประเทศ พัฒนาใหได
มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอรอย (Clean Food Good Taste) รอยละ 80.00
สุขาภิบาล
สุขาภิบาล
สุขาภิบาล

More Related Content

Similar to สุขาภิบาล

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้Alisa Samansri
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
freelance
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมphochai
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 

Similar to สุขาภิบาล (20)

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
 
คุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการคุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการ
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 

สุขาภิบาล

  • 1. “กรมอนามัย สงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี” วิสัยทัศน เปนองคกรหลักของประเทศในการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม เพื่อสงเสริมให ประชาชนมีสุขภาพดี เปาหมาย ประชาชนมีพฤติกรรมเหมาะสมตามกลุมวัยและอยูในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาพดี พันธกิจ 1. พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนใหเกิดนโยบาย และกฎหมายที่จําเปนในดานการสงเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมของประเทศ 2. ผลิต พัฒนาองคความรู และนวัตกรรม เพื่อการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมที่มี คุณภาพและสอดคลองกับวิถีชีวิตของคนไทย 3. ถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมใหกับเครือขาย รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนใหเครือขายดําเนินงานเปนไปตามมาตรฐานและกฎหมาย เพื่อใหประชาชนไดรับการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมที่ดีและมีคุณภาพ 4. พัฒนาระบบการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมใหเขมแข็ง รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวของ โดยการกํากับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อนํามาสูการพัฒนานโยบาย กฎหมาย และระบบ อยางตอเนื่องและมีคุณภาพ กลยุทธการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัยไดนําแนวคิดและหลักการของกฎบัตรออตตาวาและกฎบัตรกรุงเทพมาประยุกตใชใน การพัฒนางานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม เปนการสงเสริมสุขภาพแนวใหมในยุคโลกาภิวัตนที่ สังคมมีความสลับซับซอนและมีปฏิสัมพันธกันมากขึ้น กลยุทธการทํางานสงเสริมสุขภาพแนวใหมจึงเปน กลยุทธที่เนนการมองปญหาแบบองครวม ไมเฉพาะแตดานพยาธิวิทยา ชีววิทยา แตมองปจจัยอื่นๆที่ เกี่ยวของในลักษณะ PEST Analysis นอกจากนี้ยังเนนการมีสวนรวมของประชาชน กระจายอํานาจสู ชุมชน ลดการพึ่งพิง ขณะเดียวกันบทบาทของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับ แนวทางใหม จากเดิมที่เปนผูกําหนดวาประชาชนสมควรไดรับบริการอะไร และสมควรไดรับอยางไร กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 1
  • 2. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 2 1. พัฒนาความเขมแข็งและสรางการมีสวนรวมกับภาคีเครือขายภาครัฐ เอกชน และประชา สังคมเพื่อสรางกิจกรรมสงเสริมสุขภาพที่ยั่งยืน (Partner and build alliance) โดยมี แนวทางสรางเสริมบทบาทและศักยภาพภาคีเครือขายในการแกไขปญหาเชิงบูรณาการ อยางมีสวนรวมอยางจริงจัง มุงพัฒนาฐานขอมูลเครือขายในประเทศและตางประเทศ ใหสามารถใชประโยชนกันระหวางภาคีไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ลงทุนเพื่อการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบงานใหไดมาตรฐานเพื่อจัดการกับปจจัย กําหนดดานสุขภาพ (Invest) โดยมีแนวทางในการแสวงหาแหลงทุนและบริหารจัดการ ทุนอยางมีคุณภาพ พัฒนาองคกรเปนศูนยกลางทางวิชาการดานการสงเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดลอม และพัฒนาระบบ กลไกการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการใหมี ศักยภาพสูง 3. พัฒนากระบวนการกําหนดและบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมายดานสุขภาพจาก ฐานความรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาและวิถีชีวิตคนไทยเพื่อใหประชาชนไดรับการ คุมครองและสงเสริมโอกาสที่เทาเทียมกันทางสุขภาพ (Regulate and Legislate) โดยมี แนวทางสรางนโยบายสาธารณะและพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตของประชาชน โดยรับฟงความคิดเห็นของผูเกี่ยวของ สงเสริมการ บังคับใชกฎหมาย อยางถูกตองและเปนธรรม จัดทํามาตรฐานการปฏิบัติ (SOP) ในการ สรางนโยบายสาธารณะและการพัฒนากฎหมาย 4. ชี้แนะและสรางความตระหนักรูเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Advocate) โดยมี แนวทางในการสงเสริมบทบาทของสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะในการสรางคานิยม “สราง นําซอม” 5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหเปนมืออาชีพและทันตอการเปลี่ยนแปลง (Build capacity) เพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานขององคกรใหเทียบเทาเกณฑ สากล โดยเนนการสนับสนุนการสรางทุนเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย ในทุกระดับ และสายอาชีพ บทบาทกรมอนามัย บทบาทสําคัญแหงการเปนกรมวิชาการ บทบาทสําคัญของกรมวิชาการ คือ การพัฒนา “พลังความรู” พลังความรู คือ องคความรู รูปแบบ วิธีการ เทคโนโลยี ที่จะนําไปเสนอตอหนวยงานปฏิบัติ(หรือภาคีเครือขาย) เพื่อนําไปใชบริการแกประชาชน ในพื้นที่ตามภารกิจหนาที่ของหนวยงานปฏิบัตินั้นๆ ดังนั้น กรมอนามัยอยูในฐานะองคการหลักที่เปนที่พึ่ง
  • 3. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 3 1. การเฝาระวัง (Surveillance) เปนการติดตามสถานการณสงเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดลอม รวมถึงองคประกอบที่มีผลตอภาวะสุขภาพ และการปฏิบัติงานใน สถานการณดังกลาว เพื่อตรวจพบความผิดปกติหรือปญหาอุปสรรค และสามารถปองกัน หรือควบคุมไดตั้งแตในระยะเริ่มแรก นอกจากนี้ขอมูลที่ไดจากการเฝาระวังจะเปน ประโยชนในการจัดลําดับความสําคัญของปญหา การเลือกกลุมเปาหมายที่จะลงมือ ปฏิบัติงาน และการประเมินผลงาน 2. การวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) เพื่อตอบคําถามที่เกิดจาก การเฝาระวัง การติดตาม การประเมินผลและพบวารูปแบบ วิธีการที่ใชอยูไมตอบรับกับ สภาพความเปนจริงที่ซับซอนมากขึ้น หรือเกิดปญหาใหมที่ตองการองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบใหมที่เหมาะสมกวาเดิม ชองวางนี้นําไปสูการวิจัยในสิ่งใหมที่ตองรู ตองใช 3. การติดตามประเมินผล (Monitoring and Evaluation : M&D) ระดับนโยบาย แผนงาน โครงการซึ่งสามารถทําไดในดานปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิต/ผลลัพธ ใหไดมา ซึ่งขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพที่ประจักษชัดนํามาใชประโยชนในการปรับปรุงแกไข นโยบาย แผนงาน/โครงการใหเหมาะสม เกิดประโยชนและคุมคายิ่งขึ้น 4. การสนับสนุนหนวยใหบริการ (Provider Support) มีขีดความสามารถ ดวยการถายทอด สงตอองคความรู เทคโนโลยี มาตรฐาน ขอกฎหมาย และรูปแบบตางๆ ใหแกหนวยปฏิบัติ หรือหนวยใหบริการ ซึ่งไมใชเฉพาะแตหนวยงานสาธารณสุขเทานั้น แตรวมถึงภาคีภาครัฐ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาสังคม 5. การเปนพันธมิตรกับแหลงทุน (Funder Alliance) ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึง การแสดงศักยภาพในการบริหารจัดการทุนอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. การคุมครองประชาชนผูรับบริการ (Consumer Protection) ผานการใหบริการที่มีคุณภาพ และการใหขอมูลขาวสารเพื่อเปนภูมิคุมกันใหประชาชนและชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถจัดการกับปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพและดูแลสุขภาพไดดวยตนเอง
  • 4. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 4 วัฒนธรรมองคกร การที่บุคลากรกรมอนามัยจะมีขีดสมรรถนะและขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธการสงเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม และปฏิบัติตามภารกิจหลัก 6 ประการนั้น การเสริมสรางบุคลากรใหมี พฤติกรรมที่ดีที่พึงประสงค จนกลายเปน “วัฒนธรรมองคกร” ซึ่งถือวาเปนรากฐานสําคัญดวยเหตุผลตอไปนี้ วัฒนธรรม กรมอนามัย พฤติกรรม ที่พึงประสงค เหตุผล/ความสําคัญ H = Health Model - การเปนตนแบบ การดูแลสุขภาพ ตนเอง - การที่เราจะเปนผูนําในการสงเสริมสุขภาพที่ดี เราควรตองปฏิบัติใหเปน ตัวอยางและเพื่อการเรียนรูรูปแบบวิธีการปฏิบัติดวยตนเอง เพื่อประโยชนใน การพัฒนาปรับปรุงรูปแบบดวย E = Ethics - การปฏิบัติงาน อยางมีจริยธรรม - การปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม ซึ่งหมายถึง ความซื่อสัตย โปรงใส ไมเลือกปฏิบัติ และไมแสวงหาประโยชนในการปฏิบัติงาน จะเปนเกราะคุม กันใหเราสามารถแสดงบทบาทของการตรวจพิสูจนทราบและใหความเปน ธรรมแกประชาชนและผูประกอบการที่เกี่ยวของ กรณีมีปญหาการกอ มลภาวะที่มีผลกระทบตอสุขภาพ หรือ กรณีผลกระทบจากการรับบริการ สงเสริมสุขภาพจากผูใหบริการของเรา A = Achievement - การปฏิบัติงานที่ มุงผลสัมฤทธิ์ - หมายถึงการมุงมั่น รับผิดชอบในการปฏิบัติงานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย เกิด ผลสัมฤทธิ์ และตอบสนองตอความตองการของลูกคาและผูที่เกี่ยวของ ซึ่ง เปนคุณลักษณะที่สําคัญของบุคลากรที่จะนําพาใหองคกรพัฒนาไปสูความ เปนเลิศและมีความสําเร็จสูง L = Learning - การเรียนรู รวมกัน - ในการที่จะพัฒนาบุคลากรใหเปน “ผูเชี่ยวชาญ” (Expert) ไดนั้น จําเปน จะตองใชกระบวนการจัดการความรู(Knowledge Management) ที่มีการ รวบรวมคนควาองคความรู จัดทําคลังความรู และสรางกลไกการแลกเปลี่ยน เรียนรูรวมกันดวยรูปแบบตางๆอยางตอเนื่อง รวมทั้งเนนการสกัดความรูใน ตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ใหเปน Explicit Knowledge ที่องคการสามารถ นําไปพัฒนางาน และขยายสูบุคลากรรุนหลังไดอยางตอเนื่อง ซึ่งจะนําไปสู การพัฒนาเปนองคการแหงเรียนรู (Learning Organization) ไดในอนาคต T = Trust - การเคารพ เชื่อมั่น กันและ กัน - ซึ่งหมายถึง การมีความเคารพในสิทธิ หนาที่ ของตนเองและผูอื่น รวมทั้งมี ความเชื่อมั่นและไววางใจตอเพื่อนรวมงาน ซึ่งเปนคุณสมบัติที่จะทําให บุคลากรมีความรับผิดชอบตอหนาที่ของตน เขาใจและมีการประสานงาน ระหวางกันไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งจะเปดโอกาสใหบุคลากรไดแสดงศักยภาพของ ตนเองไดมากขึ้นดวย H = Harmony - ความเปน อันหนึ่งอัน เดียวกัน - ซึ่งหมายถึง การมุงเนนการทํางานเปนทีม และยอมรับผลสําเร็จของทีมงาน รวมกันไมวาจะสําเร็จหรือลมเหลว ถือเปนวัฒนธรรมของการทํางานเปนทีม ที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งเรื่องนี้จะตองอาศัยความเปนผูนําขององคการ ทุกระดับในการบริหารจัดการและการสื่อสารกับบุคลากรภายในองคการ
  • 5. โครงสรางองคกร กรมอนามัย สํานักที่ปรึกษากลุมตรวจสอบภายใน กลุมภารกิจบริหารกลยุทธ สํานักสงเสริมสุขภาพ สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม ศูนยอนามัยที่ 1-12 ศูนยบริหารกฎหมายสาธารณสุข ศูนยหองปฏิบัติการกรมอนามัย กลุมภารกิจพัฒนาองคความรู และเทคโนโลยี กองทันตสาธารณสุข กองโภชนาการ กองอนามัยการเจริญพันธุ กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ กองสุขาภิบาลอาหารและน้ํา กองสุขาภิบาลชุมชนและประเมิน ผลกระทบตอสุขภาพ กลุมพัฒนาระบบบริหาร กองแผนงาน กองการเจาหนาที่ กองคลัง กลุมภารกิจอํานวยการ สํานักงานเลขานุการกรม อัตรากําลัง กรมอนามัยมีบุคลากรรวม 3,738 คน เปนขาราชการ 2,176 คน พนักงานราชการ 108 คน และลูกจางประจํา 1,454 คน สวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรีและดํารงตําแหนงระดับ 5 – 7 (ขอมูลนําเสนอ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2553 ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2552) งบประมาณ ตามรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ.2553 กรมอนามัยจะไดรับ งบประมาณ 1,524,539,400 บาท ลดลงจากป 2552 รอยละ 14.20 โดยงบบุคลากรลดลงรอยละ 2.56 งบดําเนินงานลดลงรอยละ 15.43 งบลงทุนลดลงรอยละ 100 งบรายจายอื่นลดลงรอยละ 100 และงบ เงินอุดหนุนลดลงรอยละ 17.52 กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 5
  • 6. แสดงงบประมาณป 2549-2553 1,369.73 1,524.54 1,776.86 0 1000 2000 2549 2550 2551 2552 ลานบาท 2553 1,566.34 1,652.72 3000 งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549-2553 ปงบประมาณ กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 6 2549 2550 2551 2552 2553รายจาย ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาทรอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ เงินงบประมาณ 1,369.73 100 1,566.34 100 1,652.72 100 1,776.86 100 1,524.54 100 งบบุคลากร 827.09 60.52 915.88 58.46 951.96 57.50 1,000.07 56.28 974.45 63.92 งบดําเนินงาน 475.70 34.81 526.37 33.61 556.85 33.77 598.19 33.67 505.84 33.18 งบลงทุน 15.72 1.15 85.76 5.48 88.31 5.38 91.25 5.14 - - งบเงินอุดหนุน 50.86 3.72 38.33 2.45 55.59 3.36 53.64 3.02 44.25 2.90 งบรายจายอื่น - - - - - - *33.68 1.90 - - ** 190.75 - 190.75 - 203.83 - 205.87 - 207.93 -เงินนอก งบประมาณ 1,560.12 - 1,757.09 - 1,856.55 - 1,982.73 - 1,732.47 -รวมทั้งสิ้น สํานักงบประมาณปรับเปลี่ยนงบประมาณสําหรับการศึกษาวิจัยจากงบดําเนินงานเปนงบรายจายอื่น* เงินนอกงบประมาณ คือ เงินรายไดของศูนยอนามัย** ที่มา : เอกสารงบประมาณฉบับที่ 3 งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553 เลมที่ 9
  • 7. ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาอนามัยแมและเด็ก เปาประสงค : แมและเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น แมและเด็กอายุต่ํากวา 5 ปเปนกลุมประชากรที่มีความเสี่ยงสูงตอการเจ็บปวยและตาย อัตราสวน การตายมารดาและอัตราตายทารกจึงเปนตัวบงชี้ระบบบริการสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก สําหรับ ประเทศไทยปญหาสุขภาพของประชากรกลุมแมและเด็กยังคงปรากฏอยู เชน ภาวะโลหิตจางจากการขาด ธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภสงผลใหทารกแรกคลอดมีน้ําหนักนอย การขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภมี ผลทําใหทารกพิการและปญญาเสื่อมและเปนที่นาวิตกวาภาวะขาดสารไอโอดีนไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด การติดเชื้อเอชไอวีจากแมสูลูก อัตราการยอมรับและเลี้ยงลูกดวย นมแมอยางเดียว 6 เดือนที่ต่ํากวารอยละ 30 ความชุกของโรคฟนผุในฟนน้ํานม และรอยละของเด็กอายุต่ํา กวา 5 ปที่มีพัฒนาการสมวัยทั้งพัฒนาการกลามเนื้อมัดใหญ กลามเนื้อมัดเล็ก พัฒนาทางสังคมและภาษา ในภาพรวมลดลง อัตราสวนการตายมารดาและอัตราทารกตาย 26.9 17.7 20 20 17.3 16.7 15.2 23.8 20.6 21.7 17.4 22.1 17.922 19 16.7 0 5 10 15 20 25 30 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 อัตราสวนการตายมารดา (รายตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน) อัตราทารกตาย (ราย ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน) ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย - ตัวชี้ : โรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว ผานเกณฑระดับทอง แหง 150 154 150 189 100 - ตัวชี้วัด : อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี จากแมสู ลูกไมเกิน รอยละ 5 5.4 5 4.2 3.7 กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 7
  • 8. โครงการสําคัญ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว โครงการพระราชดําริในพระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามกุฎราชกุมาร ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว ฝากครรภคุณภาพ - ฝากครรภกอน 12 เดือน - คัดกรอง Thal / HIV โรงเรียนพอแม อาหาร และโภชนาการ ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแหง ครอบครัว ระยะตั้งครรภ รพ.ลูกเกิดรอดแมปลอดภัย รพ.สายสัมพันธแม-ลูก โรงเรียนพอแม คลินิกนมแม คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว ระยะคลอด/หลังคลอด WCC คุณภาพ โรงเรียนพอแม ตรวจพัฒนาการเด็ก โภชนาการ นิทาน ของเลน ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว คลินิกสุขภาพเด็กดี ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกดวยนมแม / ชมรมแมอาสา/ ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ตอพันการเกิดมีชีพ ทารกแรกเกิดน้ําหนักนอยกวา 2,500 กรัม รอยละ 7 หรือลดลงจากฐานขอมูลเดิม รอยละ 0.5 ตอป เลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว 6 เดือน รอยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานขอมูลเดิม รอยละ 2.5 ตอป เด็กแรกเกิดถึง 5 ป มีพัฒนาการสมวัย รอยละ 90 กรมอนามัย ไดจัดทําโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัว เพื่อสนองโครงการสายใยรัก แหงครอบครัวในพระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร จุดมุงหมายเพื่อบูรณา การและเสริมสรางความเขมแข็งระบบคุณภาพบริการอนามัยแมและเด็กในสถานบริการสาธารณสุขใหได มาตรฐานตอเนื่อง ปจจุบันมีโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนเขารวมโครงการรอยละ 93.4 (892 แหง จาก 1,051 แหง) และมีโรงพยาบาลผานเกณฑประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวผานเกณฑระดับ ทอง 212 แหง การดําเนินงานป 2553 1. พัฒนาระบบบริการแมและเด็กตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวใน โรงพยาบาล จํานวน 902 แหง 2. พัฒนาระบบบริการแมและเด็กตามมาตรฐานสถานีอนามัยสายใยรักแหงครอบครัว (10%ของสถานีอนามัย) 3. การดูแลผูตั้งครรภแนวใหมตามขอแนะนําองคการอนามัยโลกในสถานบริการสาธารณสุข (30%ของสถานบริการฯ) 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและที่เกี่ยวของ เชน อบรมทีมประเมินโรงพยาบาลสายใยรักฯ มิสนมแม ANC คุณภาพ กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 8
  • 9. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 9 5. เสริมความเขมแขงภาคีเครือขาย/ชมรม/แกนนํา/อาสาสมัคร เชน อบรมสมาชิกชมรมสายใยรัก แหงครอบครัว อสม. 6. พัฒนาองคความรู โดยการศึกษาวิจัย เชน รูปแบบสงเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยบุคคลตางวัย คลินิกเด็กดีคุณภาพ LBW 7. สรางความตระหนัก ขับเคลื่อนทางสังคมประชาสัมพันธความสําคัญ “พัฒนาเด็ก” เชน รวมพลคนกินนมแม รณรงควันธาลัสซีเมียโลก ANC คุณภาพ โครงการควบคุมและปองกันโรคขาดสารไอโอดีน โครงการพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแหงชาติโครงการพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีมาตรการหลักคือพัฒนาคุณภาพและสงเสริมการใชเกลือเสริมไอโอดีน ปจจุบันอัตรา คอพอกลดลงมากจนไมสามารถตรวจวัดได ทําใหหลายฝายคิดวาโรคขาดสารไอโอดีนควบคุมไดแลวไม จําเปนตองดําเนินการซึ่งเปนการเขาใจผิด เพราะคอพอกเปนดัชนีชี้วัดที่มีความไวและแมนยํานอยเมื่อเทียบ กับระดับไอโอดีนในปสสาวะ ซึ่งเปนดัชนีวัดที่กรมอนามัยใชอยูในปจจุบัน จากการสํารวจสถานการณโรค ขาดสารไอโอดีนของประเทศ ดวยการตรวจวัดไอโอดีนในปสสาวะของหญิงมีครรภ สุมตรวจทั่วประเทศ ป ละ 15 จังหวัดๆ ละ 300 คน รวม 4,500 คน ตั้งแตป พ.ศ. 2543 เปนตนมา พบวาโรคขาดสารไอโอดีนมี แนวโนมเปนปญหามากขึ้น ดังนั้น เพื่อขยายความครอบคลุมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนและเกลือที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน กรมอนามัยจึงสนับสนุนใหมีการจัดตั้งชมรมผูประกอบการเกลือเสริมไอโอดีนรายภาค เพื่อรวมมือกันในการ ผลิตเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพโดยมีการบริหารจัดการใหครอบคลุม ตอเนื่องและยั่งยืน; ควบคุม ติดตาม คุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนระดับโรงงาน; สนับสนุนน้ําไอโอดีนเขมขนใหแกโรงเรียนตํารวจ ตระเวนชายแดนและศูนยสุขภาพชุมชน และใชเกลือเสริมไอโอดีนในโครงการอาหารกลางวัน; เฝาระวังโรค ขาดสารไอโอดีนโดยการตรวจปริมาณไอโอดีนในปสสาวะหญิงตั้งครรภ; สรางความเขมแข็งใหกับองคกร ปกครองสวนทองถิ่นเพื่อการมีสวนรวม ตลอดจนสงเสริมและพัฒนาบุคลากรใหมีความรูเรื่องโรคขาดสาร ไอโอดีนอยางถูกตอง สถานการณปจจุบัน 1. แหลงผลิตเกลือเสริมไอโอดีน แหลงผลิตทั้งหมด 186 แหง แหลงผลิตที่มีกําลังการผลิต มากกวา 700 ตัน/ป • มีทั้งหมด 47 แหง • ไดรับเครื่องหมายการรับรองอาหารเพิ่มสารอาหาร 32 แหง 2. ความครอบคลุมของครัวเรือนที่มีการใชเกลือเสริมไอโอดีนที่ไดมาตรฐาน รอยละ 85.4
  • 10. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 10 3. ปริมาณไอโอดีนในปสสาวะของหญิงตั้งครรภ Median 125.2 μg/L หญิงตั้งครรภที่มีคาไอโอดีนในปสสาวะ < 100 μg/L รอยละ 39.72 หญิงตั้งครรภที่มีคาไอโอดีนในปสสาวะ < 150 μg/L รอยละ 58.50 การดําเนินงานป 2553 1. สํารวจแหลงผลิตเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู 3. ศึกษาวิจัย วิเคราะหทางหองปฏิบัติการ 4. ควบคุม กํากับ ติดตามเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ จุดผลิต และกระจายสูผูบริโภค 5. ศึกษาดูงาน รณรงค เผยแพร ประชาสัมพันธ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 ลดปจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุน เปาประสงค : เด็กวัยเรียนและวัยรุนไทยสุขภาพดีมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยูใน สิ่งแวดลอมที่เอื้อตอสุขภาพ ปญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียนและวัยรุนมีแนวโนมคอนขางสูง ภาวะทุพโภชนาการยังคงอยูใน อัตราที่สูงและเพิ่มขึ้นตามอายุอยางชัดเจนทั้งในเขตเมืองและชนบท เด็กวัยเรียนและเยาวชนขาด สารอาหารเรื้อรัง (มีภาวะเตี้ย) รอยละ 7.5 และ 12.0 ตามลําดับ ขณะเดียวกัน พบวาเด็กวัยเรียนและ เยาวชนในเขตเมืองมีภาวะโภชนาการเกินรอยละ 9.5 และ 17.7 ตามลําดับ เด็กอายุ 12 ปมีแนวโนมเปน โรคฟนผุเพิ่มมากขึ้นแตการเขาถึงบริการทันตกรรมและการสงเสริมปองกันลดนอยลง และที่นาวิตกคือ ปญหาการตั้งครรภและเยาวชนที่ตั้งครรภอายุต่ํากวา 20 ป เพิ่มขึ้นจากรอยละ 33.7 ในป 2544 เปนรอย ละ 49.3 ในป 2548 (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข) จากการสํารวจของเอแบค โพลพบวา รอยละของแมที่คลอดบุตรเมื่ออายุนอยกวา 20 ป เพิ่มขึ้นจาก 12.1 ในป 2545 เปน 14.7 ในป 2549 และเมื่อดูสถิติการทําแทง พบวารอยละ 28.5 เปนการทําแทงในวัยรุน ซึ่งในกลุมที่ทําแทงรอยละ 0.7 อายุต่ํากวา 15 ป รอยละ 20.3 อายุ 15 – 19 ป และ รอยละ 25.8 อายุ 20 – 24 ป นอกจากนี้ เยาวชนไทยมีแนวโนมพฤติกรรมเสี่ยงในการเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคเอดสเพิ่มมากขึ้น ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย *- ตัวชี้วัด :โรงเรียนทุกสังกัดผานเกณฑมาตรฐาน โรงเรียนสงเสริมสุขภาพไมนอยกวา รอยละ 80 93.6 90 94.8 - **- ตัวชี้วัด: โรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร แหง - - - - 30 ***- ตัวชี้วัด: หนวยงานภาครัฐสนับสนุนการ จัดบริการที่เปนมิตรสําหรับวัยรุน แหง - - - - 10 * ตัวชี้วัดที่ปรับเปนตัวชี้วัด ** *** เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553
  • 11. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 11 ทั้งนี้กรมอนามัยจัดทําโครงการเพื่อรองรับแนวทางการดําเนินงาน 2 โครงการสําคัญ คือ โครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ โรงเรียนสงเสริมสุขภาพคือโรงเรียนที่บุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ผูปกครองและชุมชนรวมมือ รวมใจพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดลอมใหเอื้อตอสุขภาพอยางสม่ําเสมอเพื่อสุขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน จึงเปนกลยุทธการบูรณาการงานโภชนาการ การออกกําลังกาย ทันตสุขภาพ อนามัยการเจริญพันธุ สุขภาพจิต การควบคุมปองกันโรค และสงเสริมอนามัยสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนาสุขภาพแบบองครวม อีกทั้ง เปนกระบวนการพัฒนาการเรียนรู สรางคานิยมเสริมทักษะของนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัย และใชแบบบันทึกตรวจสุขภาพดวยตนเอง และสงเสริมใหนักเรียนสามารถจัดทําโครงการแกไขปญหา สุขภาพที่ผานกระบวนการสืบคนและวิเคราะหอยางเปนระบบ สถานการณปจจุบัน ( ณ มีนาคม 2552) โรงเรียนทุกสังกัดผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ รอยละ 96.2 (เปาหมาย รอยละ 90) โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร 13 แหง (เปาหมาย 36 แหง ) การดําเนินงานป 2553 1. สนับสนุนใหโรงเรียนพัฒนาเขาสูการเปนโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร 2. จัดตั้งและพัฒนาเครือขายชมรมเด็กไทยทําไดระดับจังหวัด เพื่อเปนแกนหลักและประสานการ ดําเนินงานกับชมรมเด็กไทยทําไดในโรงเรียนของจังหวัดนั้นๆ 3. ประเมินรับรองและประกวดโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรระดับประเทศ 4. ประชุมสัมมนาวิชาการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ 3 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู สนับสนุนการจัดการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร โครงการลดปจจัยเสี่ยงดานอนามัยการเจริญพันธุในเด็กวัยเรียนและวัยรุน เปาหมายการดําเนินงาน คือ ลดการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควรและลดการมีเพศสัมพันธที่ไม ปลอดภัย การดําเนินงานป 2553 1. จัดอบรมผูรายงานขอมูลการตั้งครรภของวัยรุนและเยาวชนอายุต่ํากวา 20 ป 2. ประชุมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชน ประชุมเครือขายสภาเด็ก 3. จัดทําหลักสูตรวิชาอนามัยการเจริญพันธุในระดับอุดมศึกษา
  • 12. 4. อบรมผูใหบริการที่เปนมิตรกับวัยรุน(Adolescent Friendly Health Providers) 5. จัดอบรมแพทย/ พยาบาลเรื่องการปองกันการแทงที่ไมปลอดภัยและการใช MVA ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 แกไขปญหาโรคอวนคนไทย เปาประสงค : ประชาชนอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลัง กายที่เหมาะสมตามกลุมวัย และอยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการลดโรควิถีชีวิต อิทธิพลสิ่งแวดลอม/สังคม - การตลาดดานอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกําลังกาย กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 12 ปจจัยดานพฤติกรรม กินปริมาณมาก ปจจัยดานชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ อวนลงพุง ระบบบริการสาธารณสุข -การใหคําปรึกษา -การรณรงค PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝาระวังภาวะเสี่ยง ขาดการออกกําลังกาย Energy in (+) การบริโภคอาหารไมเหมาะสม Energy out (-) สรางนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดลอมที่ลด ปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบ ตอโรคไมติดตอเรื้อรัง 22 1 กินหวาน/มันมาก -พัฒนาองคความรู -สรางพันธมิตร ภาคีเครือขาย ขับเคลื่อนในระดับชาติ 133 ประเทศไทยจัดอยูอันดับที่ 5 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกที่พบความชุกของภาวะน้ําหนักเกินและโรค อวนถึงรอยละ 50 ตั้งแตป 2529 – 2547 มีคนอวนเพิ่มมากขึ้นถึง 7.5 เทา ประมาณการวามีผูที่มีรูปราง ทวมจนถึงระดับอวน 10 ลานคน ในคนไทยถือวาเพศชายเสนรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร และเพศหญิงเกิน 80 เซนติเมตรเปนโรคอวน สาเหตุโรคอวนเกิดจากการใชวิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหมที่มีพฤติกรรม บริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้น สวนใหญเปนอาหารจําพวกขนมขบเคี้ยว น้ําหวาน อาหารสําเร็จรูป อาหารบริการดวน และมีพฤติกรรมกินผักผลไมนอย ขาดการออกกําลังกาย เสนรอบเอวเปนดัชนีที่ดีใน การประเมินภาวะไขมันสะสมในชองทอง โดยเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 เซนติเมตร จะเพิ่มโอกาสเกิด โรคเบาหวาน 3 - 5 เทา คนที่อวนลงพุงคือมีไขมันสะสมที่สวนกลางลําตัว จะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรค อวนและโรคเรื้อรังที่สัมพันธกับโรคอวนซึ่งเปนสาเหตุการตายอันดับตน คือ โรคเบาหวาน โรคหัวใจและ
  • 13. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 13 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย *- ตัวชี้วัด : หนวยงานภาครัฐ/เอกชนผาน เกณฑการประเมินเปนองคกรตนแบบไรพุง แหง - - - - 130 *- ตัวชี้วัด : ศูนยอนามัยดําเนินงานตาม แนวทางคลินิก DPAC รอยละ - - - - 80 **- ตัวชี้วัด : ประชาชนชายอายุ 15 ปขึ้น ไป มีรอบเอวไมเกิน 90 ซม. (36 นิ้ว) รอยละ 76 40.08 78.5 81.94 79 **- ตัวชี้วัด : ประชาชนหญิงอายุ 15 ปขึ้น ไป มีรอบเอวไมเกิน 80 ซม. (32 นิ้ว) รอยละ 39.5 68.22 42 75.25 42.5 **- ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป มี การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกําลังกาย เพียงพอตอสุขภาพ รอยละ 65.4 - 68 74.9 85 * ตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553 ** ตัวชี้วัดกระทรวง โครงการคนไทยไรพุง ปจจุบันทั่วโลกกําลังเรงรณรงคตอสูกับปญหาภาวะอวน (Obesity) และโรคอวนลงพุง (Metabolic Syndrome ) เพื่อลดภาวะความรุนแรงของโรควิถีชีวิต อันไดแก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เปนตน “โรคอวน” ถือเปนภัยคุกคามที่กําลัง ระบาดในกลุมคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในป 2552 โครงการคน ไทยไรพุงมีแนวคิดการขับเคลื่อนงานตอเนื่องตามประเด็นยุทธศาสตรการแกไขปญหาโรคอวนลงพุงของ กรมอนามัย คือ ประชาชนไดรับการสงเสริมปองกันและแกไขปญหาโรคอวนลงพุง เปาประสงคของโครงการ คนไทยไรพุง คือ ประชาชนอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลังกายที่ เหมาะสมตามกลุมวัย และอยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการสรางสุขภาพ การดําเนินงานป 2553 ในป 2553 การดําเนินงานจะเนนในชุมชน เพื่อใหเกิด ชุมชนไรพุงมุงสูสุขภาพดี ภายใตกรอบ แนวคิดการขับเคลื่อน “แผนงานสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย รวมใจตานภัยโรคไมติดตอเรื้อรัง” เพื่อลดโรคไม ติดตอเรื้อรังที่ปญหาระดับประเทศ ซึ่งประกอบดวย
  • 14. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 14 1. ระบบการเฝาระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และโรคอวนลุงพุง 2 ระดับ (ระดับชุมชนและ ระดับสถานบริการ) 2. การสรางความตระหนักการใหความรูในวงกวาง และการรณรงคสรางกระแสเนนเรื่องวิถีชีวิต กินถูกสวน ไดออกแรงเคลื่อนไหว และผอนคลายอารมณ 3. การเสริมสรางสิ่งแวดลอมและลดเสี่ยงเบาหวานและอวนลงพุงในชุมชน 4. การใหคําปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุมเสี่ยงและกลุมปวยในชุมชนและสถานบริการ 5. การลดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานโดยใชมาตรการการดูแลผูปวย โครงการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ จากการสํารวจของกองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพในป 2547 - 2549 พบวา คนไทยวัยทํางานออก กําลังกายอยางจริงจังคือ ประมาณสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที มีเพียงรอยละ 22-24 เมื่อพิจารณาถึง คุณภาพพบวา คนไทยวัยทํางานทั้งหมดมีการออกกําลังกายอยางจริงจังและมีคุณภาพพอเพียงตอสุขภาพ เพียงรอยละ 10 เทานั้น กรมอนามัยจึงรณรงคสงเสริมการเคลื่อนไหว ออกแรง/ออกกําลังดวยการเดินเพื่อ สุขภาพ ขึ้นบันไดไมใชลิฟต ซึ่งเปนวิธีที่งายที่สุดวิธีหนึ่งไมเสียคาใชจายมากและมีประโยชนตอสุขภาพ หากกาวเดินมากกวา 9,999 กาวทุกวัน เชน ลดความเสี่ยงจากการตายดวยโรคหัวใจขาดเลือด , ลดความ เสี่ยงตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาต อัมพฤกษ , ลดความเสี่ยงตอการเกิด โรคมะเร็งลําไสใหญ พัฒนาและเผยแพรรูปแบบการออกแรง/ออกกําลังที่เหมาะสมกับสภาพรางกายและ วิถีชีวิต เสริมศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุขและอาสาสมัครใหสามารถบริหารจัดการความรูเรื่องการออก กําลังกายที่เหมาะสมกับสภาพรางกายและอายุ การดําเนินงานป 2553 1. ผลักดันการดําเนินงานสงเสริมและฟนฟูสุขภาพผูสูงวัยดวยการออกกําลังกายโดยผานการ พัฒนาศักยภาพแกนนําสุขภาพประชาชน (อสม.) พื้นที่ศูนย 12 แหง รวม 2,400 คน การ ขับเคลื่อนใหเกิดการเดินเพิ่มสูงขึ้นโดยการรณรงคสรางกระแส ในหนวยงานสาธารณสุขที่ บุคลากรไดผานการอบรมการดําเนินงานสงเสริมเดินและการจัดการน้ําหนัก 2. การดําเนินงานคลินิก DPAC ของศูนยอนามัยที่ 1-12 3. การสื่อสารสาธารณะ โดยการจัด “ตลาดนัดความรูออกกําลังกาย” เพื่อจัดแสดงนิทรรศการ ความรูดานการออกกําลังกาย พรอมใหบริการตางๆ ดานการออกกําลังกาย ณ ศูนยแสดง สินคา IMPACT เมืองทองธานี 4. จัดทําเนื้อหาความรูดานการออกกําลังกายสําหรับกลุมวัยตางๆ เปน Scoop ความยาว 1 นาที เผยแพรทางสื่อโทรทัศน พรอมจัดทําเนื้อหาเปนซีดีเสียงเพื่อเผยแพรทางสื่อวิทยุ วิทยุชุมชน และหอกระจายขาวในชุมชนอีกดวย
  • 15. ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 สงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ เปาประสงค : ผูสูงอายุมีสุขภาพดี อยูในสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการสงเสริมสุขภาพ ปจจุบันโครงสรางประชากรของประเทศไทยพบวาสัดสวนผูสูงอายุ (อายุ 60 ปขึ้นไป) เพิ่มขึ้นใน อัตราที่รวดเร็ว จากรอยละ 9.5 ในป 2543 และคาดการณวาเปนรอยละ 16.8 ในป 2563 และ รอยละ 22.7 ในป 2573 สงผลใหประเทศไทยเขาสูภาวะสังคมผูสูงอายุ หรือภาวะประชากรผูสูงอายุ (Population Ageing) อันจะกอใหเกิดปญหาสุขภาพเจ็บปวยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ปญหาสําคัญอยางหนึ่งของผูสูงอายุ คือ ปญหาการสูญเสียฟนและสุขภาพชองปาก ปญหาการขาดแคลนผูดูแลผูสูงอายุยามเจ็บปวย ซึ่งจะมี ผลกระทบตอสุขภาพผูสูงอายุและคาใชจายที่สูงขึ้นในการดูแลตนเอง ปจจุบันรอยละ 70 ของประชากรอายุ 60 – 69 ป เจ็บปวยดวยโรคเรื้อรัง รอยละ 31.60 ไมมีผูชวยดูแลยามเจ็บปวย และรอยละ 81.40 อยูในบาน ที่ไมมีโทรศัพทซึ่งหมายถึงวาหากเจ็บปวยกระทันหัน ยอมไมสามารถติดตอขอความชวยเหลือจากภายนอก ไดทันทวงที การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย รอยละของประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป 22.7 16.8 11.8 9.5 7.4 5.54.94.6 0 5 10 15 20 25 2503 2513 2523 2533 2543 2553 2563 2573 ภาระโรคสิบอันดับแรกที่วัดโดย DALYs ที่ทําใหผูมีอายุ 70 ปขึ้นไปในประเทศไทย เสียชีวิตกอนวัยอันควร หรือมีชีวิตอยูอยาง บกพรองทางสุขภาพ พ.ศ. 2547 2.845,000ไต2.738,000สมองเสื่อม10 3.861,000หูหนวก3.347,000ตอกระจก9 4.064,000ปอดอุดกั้นเรื้อรัง3.448,000หูหนวก8 4.166,000มะเร็งตับ4.564,000มะเร็งปอด7 กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 15 5.384,000ตอกระจก4.969,000เบาหวาน5 6.197,000ขอเสื่อม6.896,000หัวใจขาดเลือด4 6.299,000หัวใจขาดเลือด8.1114,000มะเร็งตับ3 8.9141,000เบาหวาน9.0127,000ปอดอุดกั้นเรื้อรัง2 12.7203,000อัมพาต12.1170,000อัมพาต1. %ปที่สูญเสีย (ราย) เพศหญิง%อันดับ เพศชาย ปที่สูญเสีย (ราย)
  • 16. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 16 การที่จะใหผูสูงอายุมีชีวิตยืนยาวอยางมีคุณภาพ ทุกภาคสวน ทั้งรัฐ ทองถิ่น ชุมชน และ อาสาสมัครตองรวมมือสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในกลุมผูสูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีใหมีสุขภาพแข็งแรง เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บปวยเรื้อรังออกไป และใหผูสูงอายุที่เจ็บปวยหายหรือทุเลาจากการปวย ลด ความพิการหรือทุพพลภาพ และยืดเวลาของการเขาสูภาวะทุพพลภาพออกไป ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย - ตัวชี้วัด : ตําบลที่มีชมรมผูสูงอายุจัดกิจกรรม สุขภาพรวมกันอยางนอยเดือนละครั้ง รอยละ 90 99 90 99.03 - *- ตัวชี้วัด : จํานวนตําบลตนแบบที่ผานเกณฑ ดานการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ระยะยาว (LTC) ตําบล - - - - 10 *- ตัวชี้วัด : ชมรมผูสูงอายุมีกิจกรรมสงเสริม สุขภาพชองปาก ชมรม - - - - 75 *- ตัวชี้วัด : ผูสูงอายุไดรับการดูแลเพื่อแกปญหา การสูญเสียฟน คน - - - - 30,000 * เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553 โครงการสําคัญ โครงการฟนเทียมพระราชทาน จากกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อเดือนเมษายน 2547 ความวา “เวลาไมมีฟน กินอะไรก็ไมอรอย ทําใหไมมีความสุข จิตใจก็ไมสบาย รางกายก็ไมแข็งแรง ” ประกอบกับ การสํารวจสภาวะทันตสุขภาพของผูสูงอายุโดยกรมอนามัย พบวา การสูญเสียฟนเปน ปญหาหลักของ ผูสูงอายุ โดยเฉพาะการสูญเสียฟนทั้งปาก มีถึง 300,000 คน จึงเปนที่มาของโครงการฟนเทียมพระราชทาน ดวยการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และกองทุนโครงการฟนเทียม พระราชทาน สามารถใหบริการใสฟนเทียมแกผูสูงอายุรวม 116,986 รายนับตั้งแตป 2548 จนถึงปจจุบัน การดําเนินงานป 2553 1. สนับสนุนการจัดบริการใสฟนเทียมที่มีคุณภาพแกผูสูงอายุ 30,000 ราย ในหนวยบริการทั่ว ประเทศ 2. อบรมทันตแพทยที่จบใหมในป 2552 และ 2553 เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ 3. การรณรงค เผยแพรประชาสัมพันธเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
  • 17. โครงการสงเสริมสุขภาพ ปองกัน และเฝาระวังโรคกลุมผูสูงอายุ การสงเสริมและดูแลสุขภาพผูสูงอายุตามความเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของผูสูงอายุที่แบงได เปน 3 กลุมหลัก คือ กลุมที่สุขภาพดี ดูแลตนเองและผูอื่นได กลุมที่สุขภาพออนแอตองอาศัยความ ชวยเหลือจากผูอื่นเปนครั้งคราว และกลุมที่ชวยเหลือตนเองไมได การดูแลผูสูงอายุเปนการดูแลระยะยาว (Long Term Care) และบริการดูแลสุขภาพผูสูงอายุที่บาน (Home Health Care) ทั้งยามปกติและยาม เจ็บปวย เปนการสงเสริมศักยภาพของสถาบันครอบครัว ชุมชนและอาสาสมัครขณะที่รัฐยังไมมีสถาน บริการดูแลสุขภาพในภาวะเรื้อรัง การสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในกลุมประชากรสูงอายุจําเปนตอง พัฒนากลไกและชองทางที่เขาถึงกลุมผูสูงอายุที่มีปญหาสุขภาพเหลานี้ครอบครัว ชุมชน อาสาสมัครจะ ไดรับการสงเสริมศักยภาพในการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ พรอมไปกับที่ประชากรสูงอายุไดรับความรูและ รวมมือรวมใจดูแลสุขภาพตนเองดวยเชนกัน - Long Term Care23. ตองพึ่งคนอื่น - ตองการการดูแลใกลชิด - ตองการบริการทางการแพทย - Home Health Care - Day care - วัดสงเสริมสุขภาพ 202. ดูแลตนเองไดบาง - สงเสริมสุขภาพ - พัฒนาเปนอาสาสมัคร 781. ดูแลตนเองได ชวยเหลือผูอื่นได กิจกรรมรอยละกลุมผูสูงอายุไทย การดําเนินงาน ป 2553 สนับสนุนการดําเนินงานในเรื่อง การดูแลผูสูงอายุระยะยาว โดย มีตัวชี้วัดความสําเร็จ คือ จํานวนตําบลตนแบบที่ผานเกณฑดานการดูแลสุขภาพผูสูงอายุระยะยาว การดําเนินงานมีการพัฒนา หลักเกณฑ มาตรฐาน ดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ ขยายผลการดําเนินงานดูแลสุขภาพผูสูงอายุระยะ ยาวสูชุมชน พัฒนาศักยภาพพันธมิตรภาคีเครือขายดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ มีการผลิตและ เผยแพรองคความรูดานการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ รวมทั้ง รณรงคสรางกระแสผานสื่อตาง ๆ เพื่อให ประชาชนตระหนักรูในเรื่องผูสูงอายุ กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 17
  • 18. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 18 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอม เปาประสงค : ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมาตรฐานงาน อนามัยสิ่งแวดลอมของกรมอนามัย สิ่งแวดลอมเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งตอการมีสุขภาพดีของประชาชน กรมอนามัยจึงให ความสําคัญกับการจัดการสภาพแวดลอมใหสะอาด ปลอดภัย เริ่มจากหนวยเล็กที่สุดคือบานและขยายเปน ชุมชนและสังคมโดยรวม เพื่อใหเมืองไทยเปนเมืองนาอยู คนไทยสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ โดยใช ยุทธการ “ทองถิ่นทําได(เอง)” สรางพลังความรวมมือจากภาคีเครือขายระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกระตุนใหเกิดการแขงขันโดยการจัดระดับทองถิ่นทําได พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุขและ เจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นใชการเฝาระวังอนามัยสิ่งแวดลอมเปนเครื่องมือ ”ชี้เปา” ใหทองถิ่น ดําเนินการ สรางความเขมแข็งของชุมชนสรางเครือขายประชาชนใหเกิดจิตสํานึกสาธารณะรวมรับผิดชอบ ในการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นของตน และใชกฎหมายสาธารณสุขเพื่อปกปองคุมครองสิทธิของ ประชาชนพรอมกับสรางความเปนระเบียบในสังคม ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวย นับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย - ตัวชี้วัด : เทศบาล/อบต. ผานเกณฑดาน กระบวนการเมืองนาอยูดานสุขภาพ รอยละ 76/5 73.3/8 78/10 82.19/ 30.21 78/10 - ตัวชี้วัด : เทศบาล/อบต. ที่มีสัมฤทธิผลดาน อนามัยสิ่งแวดลอม รอยละ 30/2 34.5/1.4 40/5 57.92/1 2.08 40/5 โครงการสําคัญ โครงการพัฒนาการจัดการของเสียชุมชน มีงานสําคัญ คือ การพัฒนาสวมสาธารณะไทยใหไดมาตรฐาน HAS (Healthy Accessibility Safety) เนนสถานที่ที่มีผูใชบริการจํานวนมาก ไดแก โรงเรียนในสังกัดสํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน วัดโรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง นอกจากนี้ มีโครงการพัฒนาการจัดการ สิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และการจัดการมูลฝอยทั่วไป การดําเนินงานป 2553 1. การจัดทํายุทธศาสตรการจัดการสิ่งปฏิกูลแหงชาติ 2. จัดรณรงคลางสวมพรอมกันรับวันสงกรานต 3. ดําเนินการพัฒนาสวมในสถานีอนามัยในโครงการ “สวมดี...ทุกสถานีอนามัย”
  • 19. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 19 4. รวมดําเนินการพัฒนาสวมโรงเรียนในโครงการ “สวมสุขสันตในโรงเรียน” 5. ตรวจประเมิน ยกระดับ และมอบปาย/ประกาศนียบัตร สวมสะอาดไดมาตรฐาน HAS 6. รวมการพัฒนาสวมรถไฟ 7. นํารองดําเนินการพัฒนาสวมในวัด 8. ประกวดสุดยอดสวมแหงป 2553 โครงการพัฒนาการจัดการเหตุรําคาญและกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ มีเปาหมายจัดตั้งหนวยจัดการเหตุรําคาญในสวนกลางและศูนยอนามัยและจะขยายไปยังเทศบาล ที่มีความพรอมในการดําเนินงานตามพรบ.การสาธารณสุข รวมถึงสงเสริมสนับสนุนใหองคกรปกครองสวน ทองถิ่นสามารถดําเนินการจัดการเหตุรําคาญและกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เชน การออกขอบัญญัติ ทองถิ่น การตรวจแนะนําสถานประกอบการ เปนตน การดําเนินงานป 2553 1. การจัดทํามาตรฐานการตรวจวินิจฉัยเหตุรําคาญ (Standard of procedure) สําหรับใชเปน แนวทางการจัดการเหตุรําคาญในทุกพื้นที่ และจัดทําคูมือวิชาการ 2. การกําหนดนโยบายจัดตั้งหนวยตรวจวินิจฉัยเหตุรําคาญ ในแตละหนวยงานราชการสวน ทองถิ่น 3. การประสานงาน และดําเนินการจัดการกับปญหาเหตุรําคาญที่มีการรองเรียนจากประชาชน โครงการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม กําหนดแนวทางสําคัญใน 2 ประเด็น คือ การศึกษาปญหาการใชสารเคมีในครัวเรือน และการ เตรียมการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในบทบาทของกรมอนามัย ไดแก การลดกาซเรือน กระจกจากภาคของเสีย การสรางองคความรูดานสุขภาพทุกกลุมวัย การปองกันและบรรเทาความเสียหาย ของผลกระทบกรณีสาธารณภัย การพัฒนาเกณฑมาตรฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศที่จะสงผลกระทบตอสุขภาพ การดําเนินงานป 2553 รวมรวมและจัดทําฐานขอมูลสถานการณดานอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม ของประเทศไทย ไดแก ประเด็น Nano Safety สถานการณและการจัดการสารเคมีอันตรายในครัวเรือนของ ประเทศไทย ขอเสนอแนวทางการจัดทํามาตรฐานคุณภาพอากาศในอาคารประเทศไทย เปนตน และ การศึกษารูปแบบงานดานอนามัยสิ่งแวดลอมจากมลพิษและปญหาอุบัติใหม จํานวน 1 แหง
  • 20. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 20 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 ความปลอดภัยดานอาหารและน้ํา เปาประสงค : ประชาชนบริโภคอาหารและน้ําที่ปลอดภัย สถานการณโรคติดตอ โรคติดตอระบบทางเดินอาหารและน้ํา เกิดจากเชื้อโรคหลายชนิด พยาธิและสารเคมี ที่ปนเปอนมา กับอาหารและน้ําดื่มที่ใชรับประทาน หรือแมกระทั่งพืชพิษ ก็จะสงผลทําใหผูบริโภคอาหารนั้นมีโอกาสรับ เชื้อหรือสารพิษเขาไปในรางกาย และแสดงอาการของโรคนั้นได เชน อหิวาตกโรค อุจจาระรวงเฉียบพลัน อาหารเปนพิษ บิด ไขเอนเทอริค ตับอักเสบ พยาธิใบไมตับ ฝในตับ มือ เทาและปาก จากปญหาสุขภาพที่สําคัญ (หนังสือการสาธารณสุขไทย 2548-2550) พบวาโรคอุจจาระรวง เฉียบพลันยังคงเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญ โดยมีอุบัติการณที่ไมเปลี่ยนแปลงมากนักทั้งในเด็กและ ผูใหญ โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ํากวา 5 ป ที่พบอุบัติการณสูงกวาในผูใหญ ซึ่งจากการสํารวจภาวะสุขภาพ อนามัยระดับจังหวัด พบวา แนวโนมการปวยดวยโรคอุจจาระรวงในเด็กลดลงในระยะ 5 ป จากอัตรา การปวย 6.0 ครั้ง/คน/ป ในพ.ศ.2538 ลดลงเปน 3.6 ครั้ง/คน/ป ในพ.ศ.2544 แตก็ยังสูงกวา เปาหมายที่กําหนดไวใหเหลือไมเกิน 1 ครั้ง/คน/ป สถานการณการปนเปอนของอาหาร การปนเปอนของอาหารและภาชนะอุปกรณเกิดจากสาเหตุตาง ๆ สาเหตุหลักเกิดจากพฤติกรรมที่ ไมถูกตองของมนุษย ไมวาจะเปนการปรุง ประกอบ การจําหนายและการบริโภคอาหาร ใน ป 2537 สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ไดทําการศึกษาปริมาณตะกั่วและแคดเมี่ยม ที่ปนเปอนใน อาหารที่จําหนาย โดยหาบเร แผงลอย พบวา รอยละ 51 ของคนในกรุงเทพมหานครบริโภคอาหารมื้อ กลางวันจากหาบเร แผงลอย และจากการสุมตัวอยางอาหารจากหาบเร แผงลอย และรานอาหารในบริเวณ ที่มีการจราจรคับคั่งของกรุงเทพมหานคร พบวา มีระดับการปนเปอนของแคดเมียมสูงกวาตะกั่ว แมวาโดย สวนใหญจะต่ํากวาเกณฑมาตรฐานความปลอดภัยก็ตาม แตมีบางแหงที่มีปริมาณแคดเมียม สูงเกินคา มาตรฐาน ซึ่งแหลงสําคัญของการปนเปอนแคดเมียมมาจากอาหารทะเล จากการสอบสวนโรคอาหารเปนพิษ โดยกองระบาดวิทยา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ป พ.ศ. 2543 ไดรับรายงานจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด จํานวน 13 รายงาน มีผูปวย 1,531 ราย เสียชีวิต 2 ราย เปนกลุมนักเรียน 8 รายงาน ประชาชนทั่วไป 2 รายงาน และทหาร พยาบาล นักโทษใน เรือนจํา กลุมละ 1 รายงาน อาหารกอโรคในกลุมนักเรียนสวนมากเปนอาหารกลางวันที่ทางโรงเรียนจัดทํา ไวมีลักษณะปรุงสุกแตการจัดเตรียมใชมือจับตองภายหลัง หรือทิ้งชวงไวนานกวาจะรับประทาน ไดแก ขาวมันไก ตมยําไก ผัดซีอี้ว ไอศกรีม ขนมลูกชุบ อาหารบางอยางผานความรอนชวงสั้นๆ ไดแก เลือดไก และไขในกวยจั๊บ นมสดพลาสเจอไรทบรรจุถุง จากพืช ไดแก ตนฝนดิบ และเมล็ดสบูดํา ในกลุมประชาชน ทั่วไปอาหารกอโรค คือ อาหารประเภทเนื้อดิบ ๆ สุก ๆ เชน ลาบเนื้อ ควายดิบ ลาบเนื้อหมูชาวเขาดิบ ผัก ลักษณะคลายผักหวานในทหารและนักโทษในเรือนจําเกิดจากน้ํา กระทิสดในขนมบัวลอย และขาวเหนียว ทุเรียน และพยาบาลในโรงพยาบาลเกิดจากขาวผัดปู สถานการณคุณภาพน้ําบริโภค ความครอบคลุมน้ําสะอาดของครัวเรือนในชนบทมีน้ําบริโภคครอบคลุม รอยละ 97.2 (สํานักงาน สถิติแหงชาติ พ.ศ. 2548) การประเมินสถานการณคุณภาพน้ําบริโภค ระหวางป 2547 – 2548 พบวา
  • 21. กรมอนามัยสงเสริมใหคนไทยสุขภาพดี 21 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ตัวชี้วัด หนวย นับ เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย ผลงาน เปาหมาย *- ตัวชี้วัด : องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีระบบ การจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ําอยางนอย แหง - - - - 16 - ตัวชี้วัด : รานอาหาร และแผงลอยจําหนาย อาหารไดมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอรอย (Clean Food Good Taste รอยละ 70 81.75 75 82.33 80 - ตัวชี้วัด : ตลาดประเภทที่ 1 ไดมาตรฐาน ตลาดสด นาซื้อ รอยละ 70 77.91 75 80.31 80 - ตัวชี้วัด : ระบบประปามีคุณภาพตามเกณฑ มาตรฐานน้ําประปาดื่มได - ระบบประปาเทศบาล - ระบบประปาหมูบาน แหง แหง - - - - 10 1,000 1 22 10 1,000 * เปนตัวชี้วัดที่เริ่มดําเนินการในป 2553 โครงการสําคัญ โครงการอาหารปลอดภัย วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนไดบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย กลุมเปาหมาย 1. รานอาหาร และแผงลอยจําหนายอาหาร 2. ตลาดประเภทที่ 1 (มีโครงสรางอาคาร) แนวทางการดําเนินงาน ป 2553 1. ศึกษาวิจัย พัฒนาองคความรูดานสุขาภิบาลอาหาร จํานวน 7 โครงการ 2. พัฒนาระบบเฝาระวังดานสุขาภิบาลอาหารและน้ํา จํานวน 19 จังหวัด 3. พัฒนาศักยภาพและความเขมแข็งของภาคีเครือขาย จํานวน 21 โครงการ 4. สงเสริม สนับสนุน ใหรานอาหาร และแผงลอยจําหนายอาหารทั่วประเทศ พัฒนาใหได มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอรอย (Clean Food Good Taste) รอยละ 80.00